0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
  • 2567
  • 2568
กิจกรรมที่ 3 สร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างชาติ (113,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 สำนักงานสีเขียว (Green Office) (15,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบ มาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงาน แห่งชาติในสาขาผู้ประกอบ อาหารไทย (44,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้อง ปฏิบัติการ (46,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 พัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยตามระบบ ESPReL (15,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 9 พัฒนาห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐาน ISO 17025 (35,300 บาท) 9.1 อบรมเรื่องการพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 9.2 ตรวจประเมินพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025
SDGs:
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกร่างคำขอทรัพย์สิน ทางปัญญา (ควท.) (16,900 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงาน กับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.) (12,000 บาท)
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาผู้บริหารด้านเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลและประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 5/2566(108,000 บาท)
SDGs:
โครงการตรวจสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปี 2566
SDGs:
กิจกรรมที่ 17 บรรยายพิเศษ เรื่อง อย.น้อย (4,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน(5,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(25,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 สร้างเครือข่ายกับโรงเรียนในท้องถิ่นและประชาสัมพันธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงรุก(76,500 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการเพื่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยตามระบบ ESPReL(15,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025(15,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 5 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(232,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(17,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการ(50,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาเครือข่ายความร่วมมือ 7 สถาบัน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(52,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 5 อบรมการพัฒนาห้องปฏิบัติการและการเขียนเอกสารตามมาตรฐาน ISO 17025 ครั้งที่ 2(27,900 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน(60,500 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนสำหรับอาจารย์ผู้สอน(86,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงานกับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.)(20,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาดนตรีศึกษา(73,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1(44,200 บาท)
SDGs:
อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูประจำปีการศึกษา 2565
SDGs:
โครงการ สัมมนาผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล(49,800 บาท)
SDGs:
โครงการจัดงานสานสัมพันธ์เครือข่ายสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5 ราชภัฏ
SDGs:
โครงการทัศนศึกษา "เปิดโลกกว้างสู่การเรียนรู้" ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3)
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำสเปรย์ไล่ยุงและสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมและสมุนไพรในท้องถิ่น
SDGs:
โครงจัดงานสานสัมพันธ์พี่น้องครุศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2567
SDGs:
โครงการ รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักปลอดสารพิษบนแคร่
SDGs:
โครงการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยังยืน
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากแพะ
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากส้มแขก
SDGs:
โครงการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นโดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามสมรรถนะ PTRU Model
SDGs:
สัมมนาการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะและส้มแขก เพื่อเสริมสร้างควา,มั่นคงทางอาหารในจังหวัดชายแดนใต้ : สงขลา
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่วัยทำงาน(140,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(16,800 บาท)
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR
SDGs:
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ
SDGs:
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาเครือข่ายองค์กรแห่งความสุข และเสริมสร้างสุขภาวะ องค์กร (Happy Work Happy Life)
SDGs:
โครงการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 50 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
SDGs:
โครงการพัฒนาศักยภาพนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนรู้เชิงรุก สู่การพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑
SDGs:
การแข่งขันกีฬาภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กีฬา HUSO GAME ช่อเสลาเกมส์
SDGs:
จัดงานประกวด HUSO Talent Contest ประจำปีการศึกษา 2567
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากเห็ด
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 3 สร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างชาติ (113,600 บาท) 2566 1. ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิต ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา 2. ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษา ในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น 3. เพื่อเสริมสร้างทักษะภาษา ต่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพ ทางภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษา 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. มี MOU กับหน่วยงานต่างชาติอย่างน้อย 1 MOU เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
2 กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) 2566 1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
3 กิจกรรมที่ 2 สำนักงานสีเขียว (Green Office) (15,000 บาท) 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรนำความรู้ด้านสำนักงานสีเขียวมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในสำนักงาน 1. เชิงปริมาณ 1.1 บุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 ได้สำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 1 หน่วยงาน 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000/40 = 375 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
4 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบ มาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงาน แห่งชาติในสาขาผู้ประกอบ อาหารไทย (44,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต 2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 43 คน เข้าร่วมร้อยละ 100 - เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ด้านมาตรฐานวิชาชีพในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย ร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 44,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 44,800/43 = 1,041.86 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
5 กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้อง ปฏิบัติการ (46,200 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการและอาคารเรียนรวม 2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการอาคารเรียนรวม 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 400 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,200/400 = 115.5 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
6 กิจกรรมที่ 8 พัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยตามระบบ ESPReL (15,000 บาท) 2566 1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ 3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ 4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ มีห้องปฏิบัติการที่รับได้มาตรฐานตามระบบ ESPReL อย่างน้อย 5 ห้อง - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 /10 = 1,500 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
7 กิจกรรมที่ 9 พัฒนาห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐาน ISO 17025 (35,300 บาท) 9.1 อบรมเรื่องการพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 9.2 ตรวจประเมินพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 2566 1. เพื่อดำเนินการการบริหารการจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติ 2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025 3. ปรังปรุงระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน ร้อยละ 100 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,900 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,900/10 = 2,090 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
8 กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกร่างคำขอทรัพย์สิน ทางปัญญา (ควท.) (16,900 บาท) 2566 1. เพื่อสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการของคณาจารย์ในส่วนของงานวิจัย/อนุสิทธิบัตร 2. ส่งเสริมให้มีผลงานวิจัยนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่จดอนุสิทธิบัตร/สิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น 3. เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยคุณภาพดี และดีมากตามเกณฑ์การของตำแหน่งทางวิชาการ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,900 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,900/30 = 563.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
9 กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงาน กับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.) (12,000 บาท) 2566 1 เพื่อให้เกิดการส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยกับชุมชนมากขึ้น 2 ส่งเสริมให้มีเครือข่ายการทำงานวิจัยกับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 3 เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยที่ท้องถิ่นต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,980 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,980/30 = 399.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
10 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาผู้บริหารด้านเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลและประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 5/2566(108,000 บาท) 2566 1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ และพัฒนาทักษะของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยก้าวสู่สถานศึกษายุคดิจิทัล 2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยภายใต้การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และการบริหารเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับสถานศึกษา 3 เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาครั้งที่ 5/2566 - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 51 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000 บาท/43 = 2,511.63 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
11 โครงการตรวจสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปี 2566 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อสืบค้นความบกพร่องและความผิดปกติของโรค 2. เพื่อให้บุคลากรได้รับสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี 1. เชิงปริมาณ : บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 348,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 348000/400 = 870 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
12 กิจกรรมที่ 17 บรรยายพิเศษ เรื่อง อย.น้อย (4,600 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน 2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน - เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 66 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 - เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง อย.น้อย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,600 ÷ 66 เท่ากับ 69.69 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
13 กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน(5,600 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทุักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนโรงพยาบาล 2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 57 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยเหลือขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รัรบไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,600 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,600 / 57 = 98.28 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
14 กิจกรรมที่ 3 สัมมนาผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(25,100 บาท) 2567 2.1 เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2.2 เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2.3 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 5.1 เชิงปริมาณ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ จำนวน 145 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 100 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,100 / 145 = 173.10 บาท / คน เป้าหมายที่ 3
15 กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท) 2567 2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ 2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ หลังของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (เมษายน - กันยายน 2567) 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 89 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,300 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,300/89 = 295.50บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
16 กิจกรรมที่ 2 สร้างเครือข่ายกับโรงเรียนในท้องถิ่นและประชาสัมพันธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงรุก(76,500 บาท) 2567 เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการจัดกิจกรรมของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายทั้งภายในและภายนอกให้กับกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 5.1 เชิงปริมาณ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 10 โรงเรียน สามารถเข้าร่วมได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 76,500 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 76,500/10 = 7,650 บาท/โรงเรียน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
17 กิจกรรมที่ 3 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการเพื่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยตามระบบ ESPReL(15,000 บาท) 2567 1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ 4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 12 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ มีห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐานตามระบบ ESPReL จัดการด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 6 ห้อง 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 /12 = 1,250 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
18 กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025(15,000 บาท) 2567 1. เพื่อดำเนินการการบริหารการจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ 2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025 3. ปรับปรุงระบบบริหารงานห้องปฏิบัติการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 17025 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 1. มีระบบการบริหารการจัดการที่เป็นระบบตามมาตรฐาน ISO 17025 จำนวน 1 ห้อง 2. สามารถให้บริการการตรวจสอบคุณภาพน้ำในภายในและนอกมหาวิทยาลัย อย่างน้อย 5 หน่วยงาน 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
19 กิจกรรมที่ 5 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(232,200 บาท) 2567 เพื่อให้การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร สะท้อนผลการจัดการศึกษาและสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมในเรื่องของคุณภาพการศึกษาและผู้เรียน 5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 213,200 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 213,200 /180 = 1,184.44 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
20 กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(17,200 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต 2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้และมีทักษะสำหรับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาผู้ปะกอบอาหารไทย ทำคะแนนสอบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 17,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 17,200/38 = 452.63 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
21 กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการ(50,000 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการและอาคารเรียนรวม 2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการอาคารเรียนรวม 1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 350 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 1. อัตราคงอยู่ของนักศึกษาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 2. คะแนนการประเมินองค์ประกอบที่ 1.5 ของคณะไม่ต่ำกว่า 4 คะแนน 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 50,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 50,000/350 = 142.85 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
22 กิจกรรมที่ 4 สัมมนาเครือข่ายความร่วมมือ 7 สถาบัน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(52,200 บาท) 2567 1. เพื่อดำเนินงานและบริหารจัดการเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารและการจัดการเรียนการสอน 2. เพื่อสร้างความร่วมมือและสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถานบันศึกษาภายนอกด้านการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและด้านประกันคุณภาพ 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 42 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 52,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 52,200/42 = 1,242.85 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
23 กิจกรรมที่ 5 อบรมการพัฒนาห้องปฏิบัติการและการเขียนเอกสารตามมาตรฐาน ISO 17025 ครั้งที่ 2(27,900 บาท) 2567 1. เพื่อดำเนินการบริหารจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติ 2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025 3. ปรังปรุงระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 17025 4. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำจากหน่วยงานภายในและภายนอก 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการการพัฒนาห้องปฏิบัติการและการเขียนเอกสารตามมาตรฐาน ISO 17025 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,900/15 = 1,860 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
24 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน(60,500 บาท) 2567 1. เพื่อให้หน่วยงานเกิดการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตกในสถานการณ์ฉุกเฉิน 2. เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 3. ดำเนินการตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง - เชิงปริมาณ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับความรู้ความเข้าใจ เกิดการตระหนักและมีความพร้อมสามารถระงับเหตุ รวมทั้งช่วยเหลือตนเองได้อย่างปลอดภัย เมื่อเกิดอัคคีภัยอย่างมีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 60,500 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 60,500/60 = 1,008.33 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 3
25 กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนสำหรับอาจารย์ผู้สอน(86,100 บาท) 2567 1 เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจด้านวิชาการและเทคนิคการสอน ในรูปแบบต่างๆ 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนให้อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา 3 เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพและทักษะการสอนของอาจารย์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4 เพื่อเพิ่มทักษะระดมความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น - เชิงปริมาณ : อาจารย์ จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : อาจารย์สามารถนำความรู้ เทคนิคไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
26 กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงานกับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.)(20,000 บาท) 2567 1. ส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยกับชุมชนมากขึ้น 2. ส่งเสริมให้มีเครือข่ายการทำงานวิจัยกับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 3. เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตรงตามกรอบงานวิจัยที่ท้องถิ่นต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/45 = 444.45 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
27 กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาดนตรีศึกษา(73,600 บาท) 2567 2.1 เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางด้านดนตรีศึกษาและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีศึกษากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยเครือข่าย 2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางดนตรีศึกษาที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้จริง 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา รหัส 66 จำนวน 7 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,000/7 = 9,571.42 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 11
28 กิจกรรมที่ 8 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1(44,200 บาท) 2567 1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ - เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
29 อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูประจำปีการศึกษา 2565 2567 2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท และคุณลักษณะของครูมืออาชีพ 2.2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการกำหนดเป้าหมาย 2.3. เพื่อร่วมแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และภูมิใจ 2.4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู 2.5. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพและทักษะในศตวรรษที่ 21 - เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 94,100 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 94,100 / 180 = 522.77 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15
30 โครงการ สัมมนาผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง 2567 เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดกระบวนการทำงานเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างโรงเรียนและมหาวิทยาลัย 1 เชิงปริมาณ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 320 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 3 เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 39,100 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 39,100/320 = 122.1875 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 13
31 อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล(49,800 บาท) 2567 1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ดูแลและผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและจัดการภาวะสมองสื่อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน 2. เพื่อประเมินผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน 3. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 1 เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ 1. จำนวนภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย 2. ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 3. มีการรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 49,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 49,800/30 = 1,660 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
32 โครงการจัดงานสานสัมพันธ์เครือข่ายสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5 ราชภัฏ 2567 ๒.๑ เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนานักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕ ราชภัฏกลุ่มภาคใต้ 2.๒ เพื่อแลกเปลี่ยนและสร้างความสัมพันธ์อันดีของผู้นำนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕ ราชภัฏ กลุ่มภาคใต้ 5.1 เชิงปริมาณ - ตัวแทนสโมสรนักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕ ราชภัฏ กลุ่มภาคใต้ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการในส่วนของผู้นำนักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความเป็นผู้นำสำหรับผู้นำนักศึกษา โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๔๑,๐๐๐ บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 820 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
33 โครงการทัศนศึกษา "เปิดโลกกว้างสู่การเรียนรู้" ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) 2567 1. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในการทัศนศึกษาชวนหนูสู่โลกกว้างระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) 2. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการทัศนศึกษาไปถ่ายทอดได้ เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) จำนวน 216 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากการไปทัศนศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,500 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,500/216 = 16.20 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
34 อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำสเปรย์ไล่ยุงและสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมและสมุนไพรในท้องถิ่น 2567 1. การพัฒนานวัตกรรมและนำมาใช้ให้เกิดการบูรณาการระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้สมัยใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดนวัตกรรมสู่ชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถคำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึงพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
35 โครงจัดงานสานสัมพันธ์พี่น้องครุศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2567 2567 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาใหม่ และรุ่นพี่คณะครุศาสตร์ 5.1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 288 คน 2) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 ได้เข้าร่วมกิจกรรมฐาน จำนวน 10 ฐาน 3) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 ได้เข้าร่วมการละเล่นพื้นบ้านสัมพันธ์จำนวน 4 ชนิด 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,300 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,300 /360 = 61.94 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
36 โครงการ รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู 2567 2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบข้อเขียน 2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบสัมภาษณ์ 5.1 เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,850 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,850 /180 = 188.05 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
37 อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักปลอดสารพิษบนแคร่ 2567 1 เพื่อให้ชาวบ้านมีพืชผักที่มีคุณภาพไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค 2 เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่ความมั่นคง และยั่งยืนผ่านกระบวนการมองภาพอนาคต (FORESIGHT) 3 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 1. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 12,000 บาทต่อคัวเรือน/ปี 2. ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 3. มีการรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
38 โครงการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยังยืน 2567 1.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีแผนการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร และส่งเสริมให้หน่วยงานเกิดความตืนตัวและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งตระหนักถุงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและประหยัด โดยบุคลากรมีส่วนร่วใในการจัดการสิ่งแวดล้อมและขยะการลดใช้พลังงาน 2.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย การลดใช้พลัง สู่ความยังยืน และมีระบบการบริหารจัดการขยะ ของเสีย อย่างถูกต้อง ตั้งแต่ระดับต้นทางโดยเน้นการลดปริมาณขยะ (Reduce) นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ระดับกลางทาง เน้นการส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะเพื่อให้สามารถนำขยะกลับมาใช้ซ้ำหรือใช้ใหม่ และระดับปลายทาง นำขยะเข้าสู่กระบวนการกำจัดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถลดภาวะค่าใช้จ่ายด้านการบริหารจัดการขยะของมหาวิทยาลัย เพือเปลี่ยนแปลงขยะ ให้เกิดมูลค่า ได้ 3.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีบุคลากรที่มีความรู้ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน แบบครบวงจร ทั้งส่งเสริมการปรัยเปลี่ยนพฤติกรรมในสำนักงาน ลดการใช้พลังงาน และดำเนินกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และกิจกรรม 5 ส. ทั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ให้บริการด้านวิชาการและเป็นต้นแบบที่ดีแก่ชุมชุม และท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 4.เพื่อส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วม สามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อปรับการดำเนินงานได้ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน ตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยสีเขียว 1.เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) 1.1 บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนและการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร ในรูปแบบธนาคารขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยังยืน 1.2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สามารถจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยั่งยืน 2.เป้ามายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 2.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสามารถนำความรู้ความเข้าใจ การจัดทำแผนการบริหารจัดการขยะ และสามารถดำเนินการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะ ของเสีย และพลังงานสู่ความยังยืน เพื่อมาส่งเสริมกระตุ้นการปฏิบัติ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากร นักศึกษา ผู้ประกอบการ ให้เกิดการคัดแยะขยะ ลดปริมาณขยะ ทั้งส่งเสริมให้หน่วยงานเกิดการตื่นตัวและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งตระหนักถุงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและประหยัดรวมถึงเป็นศูนย์เรียนรู้ที่ให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน และเป็นต้นแบบที่ดีแก่ชุมชน และท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้นดำเนินกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสามารถบูรณาการตามนโยบายดำเนินโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว เพื่อเข้าสู่การประเมิณ UI Green Metric World University และการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน SDGs ได้ 2.2 หน่วยงานภายใน นักศึกษา ผู้ประกอบการร้านค้า มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานการเลือกใช้พลังงานทางเลือก ทั้งสามารถแยกและมีส่วนร่วมในการจัดการของเสีย ขยะ ที่มีความคุ้มค่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ก่อนนำทิ้งถังขยะรวมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และเป็นต้นแบบแก่ชุมชน และท้องถิ่นได้ 2.3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีรายได้เพิ่มจากการจัดและการใช้ประโยชน์จากขยะและลดภาระค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน จากการใช้พลังงานทางเลือกได้ เป้าหมายที่ 3
39 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากแพะ 2567 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบการบรรจุภัณฑ์และนำมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อความต้องการของผู้บริโภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากแพะ 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการพัฒนาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
40 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากส้มแขก 2567 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบการบรรจุภัณฑ์และนำมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อความต้องการของผู้บริโภค 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการพัฒนาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
41 โครงการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นโดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามสมรรถนะ PTRU Model 2567 1.เพื่อพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model 2. เพื่อให้ผู้บริหารและครูพี่เลี้ยงมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูไปทิศทางเดียวกันที่สอดคล้องกับ PTRU Model 3. เพื่อพัฒนาโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามรูปแบบ PTRU ที่มีสมรรถนะในการเป็นพี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาครู 4. เพื่อให้ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับนักศึกษาที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้ 5. เพื่อพัฒนาครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้มีคุณลักษณะของ Strong Teacher - เชิงปริมาณ 1) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่เข้าร่วมพัฒนาการเป็นนวัตกรทางการศึกษาตามรูปแบบฐานสมรรถนะ PTRU Model จำนวน 50 โรงเรียน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) จำนวนผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ในโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model และมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00 2) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีคุณลักษณะของ Strong Teacher ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ได้รับการ re-skill up-skill and new-skill ให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามรูปแบบ PTRU Model ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 - เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 208,960 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 208,960/100 = 2,089.6 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 10
42 สัมมนาการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะและส้มแขก เพื่อเสริมสร้างควา,มั่นคงทางอาหารในจังหวัดชายแดนใต้ : สงขลา 2567 1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อสู่สากล เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
43 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่วัยทำงาน(140,100 บาท) 2568 2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่จำเป็นในการทำงาน 2.2 เพื่อยกย่องนักศึกษาและศิษย์เก่าที่มีคุณสมบัติเด่นตามอัตลักษณ์ของคณะเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษารุ่นน้อง ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 600 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาเกิดความผูกพันกับคณะ อาจารย์ และรุ่นน้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 140,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 233.5 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
44 กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(16,800 บาท) 2568 1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต 2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต 1.เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้และมีทักษะสำหรับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาผู้ปะกอบอาหารไทย ทำคะแนนสอบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,800 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,800/38 = 442.10 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
45 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 2568 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 11
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 17
46 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ 2568 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อฟื้นคืนชีพให้กับผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ 1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อฟื้นคืนชีพให้กับ ผู้ที่หยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 3.51 2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 56,600 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 56,600 /200 = 283 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
47 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาเครือข่ายองค์กรแห่งความสุข และเสริมสร้างสุขภาวะ องค์กร (Happy Work Happy Life) 2568 1. เพื่อสร้างเครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักสร้างสุขของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในพื้นที่บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้มีองค์ความรู้ แนวคิดการสร้างองค์กรแห่งความสุข Happy Workplace ได้ 1. เชิงปริมาณ บุคลากรหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีองค์ความรู้ แนวคิดการสร้างองค์กรแห่งความสุข Happy Workplace ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 36,700 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 36,700 /70 = 524.28 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
48 โครงการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 50 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 2568 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 50 2. เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬาของนักศึกษา 3. เพื่อสร้างชื่อเสียงด้านกีฬาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 1 เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 2,670,200 บาท 5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 2,670,200 / 100 = 26,702 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
49 โครงการพัฒนาศักยภาพนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ 2568 1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา 2 เพื่อสร้างชื่อเสียงด้านกีฬาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 1. เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะด้านกีฬาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 280,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 280,000/50 = 5,600 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
50 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนรู้เชิงรุก สู่การพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ 2568 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สู่การพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ๕.๒ เชิงปริมาณ - นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทุกชั้นปี จำนวน ๒๐๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๕.๒ เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการทำงานในศตวรรษที่ ๒๑ เหมาะสมกับความต้องการของตลาดแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑ ๕.๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ๕.๔ เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 18,525 บาท ๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 18,525 = 92.6 บาท/คน ๒๐๐ เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
51 การแข่งขันกีฬาภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กีฬา HUSO GAME ช่อเสลาเกมส์ 2568 2.1 เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพและการแข่งขัน 2.2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ให้กับนักศึกษาภายในคณะ 5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 600 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาได้รับการพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป - นักศึกษามีความสัมพันธ์ที่ดีภายในคณะ โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 45,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 45,100 /600 = 75.16 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
52 จัดงานประกวด HUSO Talent Contest ประจำปีการศึกษา 2567 2568 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถของตนเองอย่างสร้างสรรค์ ๕.๑ เชิงปริมาณ ๑) นักศึกษาคณะมนุษยศาสต์และสังคมศาสตร์ จำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ๒) มีผู้เข้าร่วมประกวด ไม่น้อยกว่า 40 คน 3) จำนวนผลงานการแสดงของนักศึกษาไม่น้อยกว่า 8 ผลงาน ๕.๒ เชิงคุณภาพ - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑ ๕.๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 54,800 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 161.17 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
53 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากเห็ด 2568 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพและนำวัตถุดิบท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถคำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 1. เชิงปริมาณ 1.1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.1.2 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นจำนวน 1 เครือข่าย 2. เชิงคุณภาพ 2.2.1 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 12,000 บาทต่อปีต่อครัวเรือน 2.2.2 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4