ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 3 สร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างชาติ (113,600 บาท) |
2566 |
1. ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิต
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
ทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา
2. ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษา
ในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น
3. เพื่อเสริมสร้างทักษะภาษา
ต่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพ
ทางภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษา |
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
2. มี MOU กับหน่วยงานต่างชาติอย่างน้อย 1 MOU |
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
2 |
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
|
|
3 |
กิจกรรมที่ 2 สำนักงานสีเขียว (Green Office) (15,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรนำความรู้ด้านสำนักงานสีเขียวมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
2. เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในสำนักงาน
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 บุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ได้สำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 1 หน่วยงาน
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000/40 = 375 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
4 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบ มาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงาน แห่งชาติในสาขาผู้ประกอบ อาหารไทย (44,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 43 คน เข้าร่วมร้อยละ 100
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ด้านมาตรฐานวิชาชีพในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 44,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 44,800/43 = 1,041.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
5 |
กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้อง ปฏิบัติการ (46,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการและอาคารเรียนรวม
2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการอาคารเรียนรวม
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 400 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,200/400 = 115.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
6 |
กิจกรรมที่ 8 พัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยตามระบบ ESPReL (15,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ
3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ
4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ มีห้องปฏิบัติการที่รับได้มาตรฐานตามระบบ ESPReL อย่างน้อย 5 ห้อง
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 /10 = 1,500 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
7 |
กิจกรรมที่ 9 พัฒนาห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐาน ISO 17025 (35,300 บาท) 9.1 อบรมเรื่องการพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 9.2 ตรวจประเมินพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 |
2566 |
1. เพื่อดำเนินการการบริหารการจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติ
2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025
3. ปรังปรุงระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน ร้อยละ 100
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,900/10 = 2,090 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
8 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกร่างคำขอทรัพย์สิน ทางปัญญา (ควท.) (16,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการของคณาจารย์ในส่วนของงานวิจัย/อนุสิทธิบัตร
2. ส่งเสริมให้มีผลงานวิจัยนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่จดอนุสิทธิบัตร/สิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น
3. เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยคุณภาพดี และดีมากตามเกณฑ์การของตำแหน่งทางวิชาการ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,900/30 = 563.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
9 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงาน กับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.) (12,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้เกิดการส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยกับชุมชนมากขึ้น
2 ส่งเสริมให้มีเครือข่ายการทำงานวิจัยกับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
3 เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยที่ท้องถิ่นต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,980 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,980/30 = 399.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
10 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาผู้บริหารด้านเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลและประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 5/2566(108,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ และพัฒนาทักษะของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยก้าวสู่สถานศึกษายุคดิจิทัล
2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยภายใต้การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และการบริหารเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับสถานศึกษา
3 เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาครั้งที่ 5/2566
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 51 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000 บาท/43 = 2,511.63 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
11 |
โครงการตรวจสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปี 2566 |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อสืบค้นความบกพร่องและความผิดปกติของโรค
2. เพื่อให้บุคลากรได้รับสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี |
1. เชิงปริมาณ : บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 348,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 348000/400 = 870 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 3 |
|
12 |
กิจกรรมที่ 17 บรรยายพิเศษ เรื่อง อย.น้อย (4,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
|
- เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 66 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
- เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง อย.น้อย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,600 ÷ 66 เท่ากับ 69.69 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
13 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน(5,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทุักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนโรงพยาบาล
2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 57 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยเหลือขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รัรบไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,600 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,600 / 57 = 98.28 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 3 |
|
14 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(25,100 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2.2 เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2.3 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
|
5.1 เชิงปริมาณ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ จำนวน 145 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 100 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51
คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย
3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,100 / 145 = 173.10 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
15 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์
2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ หลังของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (เมษายน - กันยายน 2567)
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 89 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,300/89 = 295.50บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 |
|
16 |
กิจกรรมที่ 2 สร้างเครือข่ายกับโรงเรียนในท้องถิ่นและประชาสัมพันธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงรุก(76,500 บาท) |
2567 |
เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการจัดกิจกรรมของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายทั้งภายในและภายนอกให้กับกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
5.1 เชิงปริมาณ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 10 โรงเรียน สามารถเข้าร่วมได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 76,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 76,500/10 = 7,650 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
17 |
กิจกรรมที่ 3 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการเพื่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยตามระบบ ESPReL(15,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ
4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 12 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ มีห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐานตามระบบ ESPReL จัดการด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
อย่างน้อย 6 ห้อง
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 /12 = 1,250 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
18 |
กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025(15,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อดำเนินการการบริหารการจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ
2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025
3. ปรับปรุงระบบบริหารงานห้องปฏิบัติการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 17025
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1. มีระบบการบริหารการจัดการที่เป็นระบบตามมาตรฐาน ISO 17025 จำนวน 1 ห้อง
2. สามารถให้บริการการตรวจสอบคุณภาพน้ำในภายในและนอกมหาวิทยาลัย อย่างน้อย 5 หน่วยงาน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
19 |
กิจกรรมที่ 5 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(232,200 บาท) |
2567 |
เพื่อให้การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร สะท้อนผลการจัดการศึกษาและสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมในเรื่องของคุณภาพการศึกษาและผู้เรียน
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 213,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 213,200 /180 = 1,184.44 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
20 |
กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(17,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้และมีทักษะสำหรับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ในสาขาผู้ปะกอบอาหารไทย ทำคะแนนสอบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 17,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 17,200/38 = 452.63 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
21 |
กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการ(50,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการและอาคารเรียนรวม
2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการอาคารเรียนรวม
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 350 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1. อัตราคงอยู่ของนักศึกษาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
2. คะแนนการประเมินองค์ประกอบที่ 1.5 ของคณะไม่ต่ำกว่า 4 คะแนน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 50,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 50,000/350 = 142.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
22 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาเครือข่ายความร่วมมือ 7 สถาบัน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(52,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อดำเนินงานและบริหารจัดการเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารและการจัดการเรียนการสอน
2. เพื่อสร้างความร่วมมือและสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถานบันศึกษาภายนอกด้านการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและด้านประกันคุณภาพ
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 42 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 52,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 52,200/42 = 1,242.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
23 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมการพัฒนาห้องปฏิบัติการและการเขียนเอกสารตามมาตรฐาน ISO 17025 ครั้งที่ 2(27,900 บาท) |
2567 |
1. เพื่อดำเนินการบริหารจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติ
2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025
3. ปรังปรุงระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 17025
4. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำจากหน่วยงานภายในและภายนอก
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการการพัฒนาห้องปฏิบัติการและการเขียนเอกสารตามมาตรฐาน ISO 17025 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,900/15 = 1,860 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
24 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน(60,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้หน่วยงานเกิดการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตกในสถานการณ์ฉุกเฉิน
2. เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
3. ดำเนินการตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
|
- เชิงปริมาณ
บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับความรู้ความเข้าใจ เกิดการตระหนักและมีความพร้อมสามารถระงับเหตุ รวมทั้งช่วยเหลือตนเองได้อย่างปลอดภัย เมื่อเกิดอัคคีภัยอย่างมีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 60,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 60,500/60 = 1,008.33 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
25 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนสำหรับอาจารย์ผู้สอน(86,100 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจด้านวิชาการและเทคนิคการสอน ในรูปแบบต่างๆ
2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนให้อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา
3 เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพและทักษะการสอนของอาจารย์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4 เพื่อเพิ่มทักษะระดมความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
|
- เชิงปริมาณ : อาจารย์ จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : อาจารย์สามารถนำความรู้ เทคนิคไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
26 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงานกับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.)(20,000 บาท) |
2567 |
1. ส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยกับชุมชนมากขึ้น
2. ส่งเสริมให้มีเครือข่ายการทำงานวิจัยกับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
3. เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตรงตามกรอบงานวิจัยที่ท้องถิ่นต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/45 = 444.45 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
27 |
กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาดนตรีศึกษา(73,600 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางด้านดนตรีศึกษาและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีศึกษากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยเครือข่าย
2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางดนตรีศึกษาที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้จริง
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา รหัส 66 จำนวน 7 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,000/7 = 9,571.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 11 |
|
28 |
กิจกรรมที่ 8 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1(44,200 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1
2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565
จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 |
|
29 |
อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูประจำปีการศึกษา 2565 |
2567 |
2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท
และคุณลักษณะของครูมืออาชีพ
2.2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการกำหนดเป้าหมาย
2.3. เพื่อร่วมแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และภูมิใจ
2.4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู
2.5. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพและทักษะในศตวรรษที่ 21
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 94,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 94,100 / 180 = 522.77 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 |
|
30 |
โครงการ สัมมนาผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง |
2567 |
เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดกระบวนการทำงานเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างโรงเรียนและมหาวิทยาลัย |
1 เชิงปริมาณ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 320 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 39,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 39,100/320 = 122.1875 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 13 |
|
31 |
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล(49,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ดูแลและผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและจัดการภาวะสมองสื่อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
2. เพื่อประเมินผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
3. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
|
1 เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 1. จำนวนภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย
2. ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3. มีการรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 49,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 49,800/30 = 1,660 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
32 |
โครงการจัดงานสานสัมพันธ์เครือข่ายสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5 ราชภัฏ |
2567 |
๒.๑ เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนานักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕ ราชภัฏกลุ่มภาคใต้
2.๒ เพื่อแลกเปลี่ยนและสร้างความสัมพันธ์อันดีของผู้นำนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕ ราชภัฏ กลุ่มภาคใต้
|
5.1 เชิงปริมาณ - ตัวแทนสโมสรนักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
๕ ราชภัฏ กลุ่มภาคใต้ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการในส่วนของผู้นำนักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความเป็นผู้นำสำหรับผู้นำนักศึกษา
โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๔๑,๐๐๐ บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 820 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
33 |
โครงการทัศนศึกษา "เปิดโลกกว้างสู่การเรียนรู้" ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในการทัศนศึกษาชวนหนูสู่โลกกว้างระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3)
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการทัศนศึกษาไปถ่ายทอดได้
|
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) จำนวน 216 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากการไปทัศนศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,500/216 = 16.20 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 3 |
|
34 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำสเปรย์ไล่ยุงและสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมและสมุนไพรในท้องถิ่น |
2567 |
1. การพัฒนานวัตกรรมและนำมาใช้ให้เกิดการบูรณาการระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้สมัยใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดนวัตกรรมสู่ชุมชน
2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถคำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึงพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
|
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
35 |
โครงจัดงานสานสัมพันธ์พี่น้องครุศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาใหม่ และรุ่นพี่คณะครุศาสตร์ |
5.1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 288 คน
2) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 ได้เข้าร่วมกิจกรรมฐาน จำนวน 10 ฐาน
3) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 ได้เข้าร่วมการละเล่นพื้นบ้านสัมพันธ์จำนวน 4 ชนิด
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,300 /360 = 61.94 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
36 |
โครงการ รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบข้อเขียน
2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบสัมภาษณ์
|
5.1 เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของกลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,850 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,850 /180 = 188.05 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
37 |
อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักปลอดสารพิษบนแคร่ |
2567 |
1 เพื่อให้ชาวบ้านมีพืชผักที่มีคุณภาพไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
2 เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่ความมั่นคง และยั่งยืนผ่านกระบวนการมองภาพอนาคต (FORESIGHT)
3 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน
ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
|
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 12,000 บาทต่อคัวเรือน/ปี
2. ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3. มีการรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
38 |
โครงการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยังยืน |
2567 |
1.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีแผนการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร และส่งเสริมให้หน่วยงานเกิดความตืนตัวและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งตระหนักถุงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและประหยัด โดยบุคลากรมีส่วนร่วใในการจัดการสิ่งแวดล้อมและขยะการลดใช้พลังงาน
2.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย การลดใช้พลัง สู่ความยังยืน และมีระบบการบริหารจัดการขยะ ของเสีย อย่างถูกต้อง ตั้งแต่ระดับต้นทางโดยเน้นการลดปริมาณขยะ (Reduce) นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ระดับกลางทาง เน้นการส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะเพื่อให้สามารถนำขยะกลับมาใช้ซ้ำหรือใช้ใหม่ และระดับปลายทาง นำขยะเข้าสู่กระบวนการกำจัดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถลดภาวะค่าใช้จ่ายด้านการบริหารจัดการขยะของมหาวิทยาลัย เพือเปลี่ยนแปลงขยะ ให้เกิดมูลค่า ได้
3.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีบุคลากรที่มีความรู้ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน แบบครบวงจร ทั้งส่งเสริมการปรัยเปลี่ยนพฤติกรรมในสำนักงาน ลดการใช้พลังงาน และดำเนินกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และกิจกรรม 5 ส. ทั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ให้บริการด้านวิชาการและเป็นต้นแบบที่ดีแก่ชุมชุม และท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
4.เพื่อส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วม สามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อปรับการดำเนินงานได้ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน ตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยสีเขียว |
1.เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
1.1 บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนและการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร ในรูปแบบธนาคารขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยังยืน
1.2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สามารถจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยั่งยืน
2.เป้ามายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
2.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสามารถนำความรู้ความเข้าใจ การจัดทำแผนการบริหารจัดการขยะ และสามารถดำเนินการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะ ของเสีย และพลังงานสู่ความยังยืน เพื่อมาส่งเสริมกระตุ้นการปฏิบัติ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากร นักศึกษา ผู้ประกอบการ ให้เกิดการคัดแยะขยะ ลดปริมาณขยะ ทั้งส่งเสริมให้หน่วยงานเกิดการตื่นตัวและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งตระหนักถุงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและประหยัดรวมถึงเป็นศูนย์เรียนรู้ที่ให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน และเป็นต้นแบบที่ดีแก่ชุมชน และท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้นดำเนินกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสามารถบูรณาการตามนโยบายดำเนินโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว เพื่อเข้าสู่การประเมิณ UI Green Metric World University และการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน SDGs ได้
2.2 หน่วยงานภายใน นักศึกษา ผู้ประกอบการร้านค้า มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานการเลือกใช้พลังงานทางเลือก ทั้งสามารถแยกและมีส่วนร่วมในการจัดการของเสีย ขยะ ที่มีความคุ้มค่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ก่อนนำทิ้งถังขยะรวมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และเป็นต้นแบบแก่ชุมชน และท้องถิ่นได้
2.3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีรายได้เพิ่มจากการจัดและการใช้ประโยชน์จากขยะและลดภาระค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน จากการใช้พลังงานทางเลือกได้ |
เป้าหมายที่ 3 |
|
39 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากแพะ |
2567 |
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบการบรรจุภัณฑ์และนำมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อความต้องการของผู้บริโภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากแพะ
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการพัฒนาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
40 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากส้มแขก |
2567 |
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบการบรรจุภัณฑ์และนำมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อความต้องการของผู้บริโภค |
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการพัฒนาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
41 |
โครงการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นโดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามสมรรถนะ PTRU Model |
2567 |
1.เพื่อพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model
2. เพื่อให้ผู้บริหารและครูพี่เลี้ยงมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูไปทิศทางเดียวกันที่สอดคล้องกับ PTRU Model
3. เพื่อพัฒนาโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามรูปแบบ PTRU ที่มีสมรรถนะในการเป็นพี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาครู
4. เพื่อให้ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับนักศึกษาที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้
5. เพื่อพัฒนาครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้มีคุณลักษณะของ Strong Teacher
|
- เชิงปริมาณ
1) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่เข้าร่วมพัฒนาการเป็นนวัตกรทางการศึกษาตามรูปแบบฐานสมรรถนะ PTRU Model จำนวน 50 โรงเรียน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ในโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 100 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model และมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
2) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีคุณลักษณะของ Strong Teacher ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ได้รับการ re-skill up-skill and new-skill ให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา
ตามรูปแบบ PTRU Model ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 208,960 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 208,960/100 = 2,089.6 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
42 |
สัมมนาการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะและส้มแขก เพื่อเสริมสร้างควา,มั่นคงทางอาหารในจังหวัดชายแดนใต้ : สงขลา |
2567 |
1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อสู่สากล
|
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
43 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่วัยทำงาน(140,100 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่จำเป็นในการทำงาน
2.2 เพื่อยกย่องนักศึกษาและศิษย์เก่าที่มีคุณสมบัติเด่นตามอัตลักษณ์ของคณะเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษารุ่นน้อง
|
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 600 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาเกิดความผูกพันกับคณะ อาจารย์ และรุ่นน้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 140,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 233.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
44 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(16,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
1.เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้และมีทักษะสำหรับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ในสาขาผู้ปะกอบอาหารไทย ทำคะแนนสอบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,800/38 = 442.10 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
45 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 17 |
|
46 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ |
2568 |
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อฟื้นคืนชีพให้กับผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ |
1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อฟื้นคืนชีพให้กับ
ผู้ที่หยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 56,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 56,600 /200 = 283 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
47 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาเครือข่ายองค์กรแห่งความสุข และเสริมสร้างสุขภาวะ องค์กร (Happy Work Happy Life) |
2568 |
1. เพื่อสร้างเครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักสร้างสุขของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในพื้นที่บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้มีองค์ความรู้ แนวคิดการสร้างองค์กรแห่งความสุข Happy Workplace ได้
|
1. เชิงปริมาณ บุคลากรหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีองค์ความรู้ แนวคิดการสร้างองค์กรแห่งความสุข Happy Workplace ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 36,700 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 36,700 /70 = 524.28 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
48 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนรู้เชิงรุก สู่การพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สู่การพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ |
๕.๒ เชิงปริมาณ - นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทุกชั้นปี จำนวน ๒๐๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
๕.๒ เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการทำงานในศตวรรษที่ ๒๑
เหมาะสมกับความต้องการของตลาดแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
๕.๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
๕.๔ เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 18,525 บาท
๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 18,525 = 92.6 บาท/คน
๒๐๐
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
49 |
การแข่งขันกีฬาภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กีฬา HUSO GAME ช่อเสลาเกมส์ |
2568 |
2.1 เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพและการแข่งขัน
2.2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ให้กับนักศึกษาภายในคณะ
|
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 600 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาได้รับการพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- นักศึกษามีความสัมพันธ์ที่ดีภายในคณะ โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 45,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 45,100 /600 = 75.16 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|
50 |
จัดงานประกวด HUSO Talent Contest ประจำปีการศึกษา 2567 |
2568 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถของตนเองอย่างสร้างสรรค์ |
๕.๑ เชิงปริมาณ
๑) นักศึกษาคณะมนุษยศาสต์และสังคมศาสตร์ จำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ80
๒) มีผู้เข้าร่วมประกวด ไม่น้อยกว่า 40 คน
3) จำนวนผลงานการแสดงของนักศึกษาไม่น้อยกว่า 8 ผลงาน
๕.๒ เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
๕.๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 54,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 161.17 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
|