ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 272 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,900/272 = 128.31 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
2 |
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ
2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น
3. เพื่อทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้
|
1.เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3 .เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 78,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 78,600/200 = 393 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 |
|
3 |
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม
|
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา
3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
4 |
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
|
3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้
3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
5 |
ค่ายพัฒนาศักยภาพหลักสูตรและครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาในระบบการศึกษาด้วยแนวทางเชิงสมรรถนะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 |
2566 |
2.1 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของครู/อาจารย์ในโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามในการให้ความร่วมมือกับภาครัฐภายใต้มิติด้านการพัฒนาการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
2.2 เพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการจัดการศึกษาผ่านค่ายพัฒนาศักยภาพหลักสูตรและครูผู้สอนสอนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาในระบบการศึกษา ด้วยแนวทางจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เสริมสมรรถนะ
ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามฐานสมรรถนะ
2.3 เพื่อติดตามและให้คำปรึกษาการสอนจริงในชั้นเรียนผ่านการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสอน
ในชั้นเรียน |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการสอนด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 537,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 537,500 /70 = 7,678.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
6 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน การเขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่าน ออก เขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 204,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 204,700/300 = 682.34 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
7 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1.3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน เขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) นักเรียนมีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 129,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 129,300/180 = 718.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
8 |
ยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 11 ประชุมเพื่อทบทวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน(43,800 บาท) |
2566 |
1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูความสามารถทางการเรียนรู้ (learning recovery)
2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สูงขึ้น
|
- เชิงปริมาณ
1) คณะครุศาสตร์มีนวัตกรรมในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน 3 นวัตกรรม
2) ครูที่เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
- เชิงคุณภาพ
1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษามีพัฒนาการที่สูงขึ้นร้อยละ 3
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,800/78 = 561.53 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
9 |
กิจกรรมที่ 29 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในสถานศึกษา(52,900 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF)
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามมาตรฐานสากล
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และวิชาคณิตศาสตร์ที่เป็นภาษาอังกฤษได้
4. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการเรียนรู้ และทักษะอาชีพ
เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ในอนาคต
5. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามมาตรฐานสากล
6. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถด้านวิชาชีพครูให้กับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์
7. เพื่อเพิ่มความมั่นใจและประสบการณ์ให้กับนักศึกษาคณะครุศาสตร์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
8. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการสื่อสารสารสนเทศ รู้เท่าทันสื่อ บูรณาการ STEM
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 62 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 52 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 24,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 24,400 / 62 = 393.54 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
10 |
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา Growth Mindset สำหรับนักศึกษาครูคณิตศาสตร์(25,700 บาท) |
2567 |
1.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF)
2. เพื่อพัฒนาทัศนคติและแนวคิดแบบยืดหยุ่นเพื่อเติบโตในวิชาชีพครูและเชื่อในศักยภาพของตน
3.พื่อเพิ่มความมั่นใจและประสบการณ์ให้กับนักศึกษาคณะครุศาสตร์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
|
1. เชิงปริมาณ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 58 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 47 คน
2. เชิงคุณภาพ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3.เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,700 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,700 / 58 = 443.103 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
11 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์
2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ หลังของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (เมษายน - กันยายน 2567)
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 89 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,300/89 = 295.50บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 |
|
12 |
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการเรียนรู้สำหรับครูฟิสิกส์(4,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน |
5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้องกว่าร้อยละ 30
5.2 เชิงคูณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เวร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุรต่อหน่วยกิจกรรม 4000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,000/30-133.33 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
13 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า(10,000 บาท) |
2567 |
1. ให้ความรู้และพัฒนาทักษะเพื่อนำไปใช้สำหรับการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า
2. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายศิษย์เก่า
|
1. เชิงปริมาณ ศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,500/15 = 366.67 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
14 |
กิจกรรมที่ 4 ประกวดโครงงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(68,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน
2. เพื่อบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และพัฒนาต่อยอดสู่การแก้ปัญหาให้ชุมชน หรือท้องถิ่นได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน
|
1. เชิงปริมาณ
1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 3-4 ภาคปกติ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. โครงงานที่ส่งประกวด อย่างน้อย 9 ชิ้นงาน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สามารถสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 68,000 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,0๐๐/20 = 3,400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
15 |
กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(48,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานที่ที่ศึกษาดูงาน
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรต่าง ๆ กับมหาวิทยาลัย
3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาประสบการณ์ในเรื่องระบบการทำงานขององค์กรต่าง ๆ ด้านอุตสาหกรรม และเทคโนโลยี
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 139 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้ความรู้และประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนจากการศึกษาดูงาน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2.2 นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 48,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 48,800/139 = 351.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
16 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติและการใช้โปรแกรมสำหรับวิเคราะห์งานนักศึกษาหลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิตในศตวรรษที่ 21(60,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมทักษะวิชาชีพเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
2. เพื่อพัฒนาวิชาชีพการผลิตบัณฑิตตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 หลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิต จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมต่าง ๆ เพื่อการปฏิบัติและทำงานในด้านเทคโนโลยีการผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 51,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 51,900/25 = 2,076 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
17 |
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 14 (คทอ.)(38,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ
2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น
3. เพื่อทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ อาจารย์และบุคลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 นักศึกษาบูรณาการรายวิชากับการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม อย่างน้อย 2 รายวิชา
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,600/120 = 321.67 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
18 |
กิจกรรมที่ 32 จิตอาสาบูรณาการงานทำนุศิลปะวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาครั้งที่ 1 (คทอ.)(53,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่นักศึกษาและนักเรียนของโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร
2. เพื่อเพิ่มทักษะในการออกแบบและผลิตชิ้นงานที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับวัดและโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร
2. เพื่อบูรณาการงานทำนุศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,100/50 = 1,062 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
19 |
กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบวัฒนธรรมไทย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์
2. เพื่อคัดเลือกนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
1.2 จำนวนนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 6 คน
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,590 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,590/๓๐๐ = 155.30 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
20 |
โครงการพัฒนาสรรถนะครูสู่มืออาชีพ กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาและปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู ให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ |
2567 |
พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้กล่าวไว้ ในหมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษาที่เน้นความสำคัญทั้งความรู้และคุณธรรม การจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องบูรณาการ ความรู้ต่าง ๆ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมอันดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ไว้ 4 ประการ เช่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ประการ คือ ความสามารถ ในการสื่อสาร ความสามารถด้านการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ และ สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน ที่กล่าวมา
มีความสำคัญในการดำเนินการพัฒนาผู้เรียนของครูผู้สอน โดยสามารถนําไปปรับใช้ ในการสร้างรูปแบบกระบวนการและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ของตนเองได้ เพื่อปลูกฝังและพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นผู้ที่มีความรู้
คู่คุณธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีสมรรถนะสำคัญ สำหรับการดำรงชีวิตในสังคม และนโยบาย สพฐ. ปี 66 ข้อ 3 ด้านคุณภาพการศึกษา ข้อ 3.5 ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านวิชาการด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ผ่านแพลตฟอร์ม ออนไลน์ต่าง ๆ พัฒนาผู้บริหารให้มี “ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง” ปรับบริบทของครูจาก “ผู้สอน” เป็น "โค้ช" ที่อํานวยการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มุ่งสู่การยกระดับครูสู่วิชาชีพชั้นสูง มีจรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งมีจิตวิญญาณความเป็นครูสมรรถนะหลักของครูในด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู และสมรรถนะ
ตามสายปฏิบัติงานในด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนและการบริหารจัดการ ชั้นเรียนถือเป็นสมรรถนะที่สำคัญในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาสมรรถนะครูดังกล่าวเป็นสิ่งสำคัญ ที่ทำให้เกิดการสร้างผลผลิตหรือผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ภายใต้หลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการเรียนรู้ เข้าใจ หลักการ วิธีการและองค์ความรู้ใหม่ที่มีความหลากหลายในสังคมทำให้สามารถพัฒนา ปรับปรุง และสามารถสร้างผลผลิตทางนวัตกรรมรูปแบบใหม่เพื่อให้เกิดการยกระดับการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน ด้วยการปลูกฝัง
จิตวิญญาณความเป็นครู มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการกำกับ ติดตาม ให้คําชี้แนะในการจัดการเรียนรู้
ในห้องเรียนเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกภูมิภาคได้รับการพัฒนาได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้คำปรึกษา
ในการพัฒนาตนเองเพื่อเป็นครูมืออาชีพ และจากการดำเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning แบบ Fundamental AL Training ที่ผ่านมาทำให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาด้านกระบวนการการจัดการเรียนรู้ Active Learning แบบ Fundamental AL Training และได้นําไปจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ตามบริบทของตนเอง นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาครูด้าน Active Learning โดยสำนักต่าง ๆ ได้แก่ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักบริหารงานความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์ รวมถึงหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ
จากเหตุผลและความสำคัญดังกล่าวข้างต้น มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จึงได้ดำเนินโครงการพัฒนาสมรรถนะครูสู่มืออาชีพ เพื่อพัฒนาสมรรถนะครูด้านคุณธรรม จริยธรรม การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และมีการพัฒนา ตนเองเพื่อให้เป็นไปตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) สอดคล้องกับสมรรถนะ วิชาชีพทั้งยังจัดให้มีพี่เลี้ยงสามารถให้คำปรึกษาแนะนํา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ให้คำปรึกษาถึงห้องเรียน กระจายทุกภูมิภาค ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ทำให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีนวัตกรรมการจัดการ เรียนรู้เชิงรุกที่ประสบความสำเร็จ หรือ ผลงานที่เป็นแบบอย่างได้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามที่หลักสูตรกำหนด
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่อยู่ในเครือข่าย เข้าร่วมการพัฒนาไม่น้อยกว่า 550 คน
- เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู คุณลักษณะของครูที่ดี และสามารถนำไปปรับใช้กับผู้เรียนได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2) ผู้เข้ารับการพัฒนาผ่านการอบรมและปลูกจิตวิญญาณความเป็นครูให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ โดยผ่านเกณฑ์การประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
21 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์บูรณาการกับ 6 กิจกรรมหลัก เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัยในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 |
เชิงปริมาณ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียน ตชด. สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 จำนวน 32 คน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนกิจกรรม ที่นำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาบูรณาการกับ 6 กิจกรรมหลักเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 20 กิจกรรม |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
22 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อให้ครูปฐมวัยสามารถทำโครงงานวิทยาศาสตร์ : โครงการตามแนวทางของโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย |
เชิงปริมาณ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่43 จำนวน 32 คน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนโครงงานวิทยาศาสตร์ที่นำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์บูรณาการกับ 4 กิจกรรมหลักเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 โครงการ ต่อ 1 ห้องเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
23 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาและปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (มรภ.สข 1103-67-0039) |
2567 |
1.เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถอธิบายความสำคัญ บทบาทหน้าที่ ภาระงาน และคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู คุณลักษณะของครูที่ดี
2. เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถวิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพครูที่นำไปสู่แนวทางการปฏิบัติในการเป็นครูที่ดี
3. เพื่อให้ครูผู้สอนมีอุดมการณ์ จิตวิญญาณความเป็นครู รักและศรัทธาในวิชาชีพ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
4. เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถออกแบบแนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดค่านิยม คุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู ในการประพฤติปฏิบัติตนในวิชาชีพครู ได้อย่างเหมาะสม
|
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 30 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก (active learning) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ร้อยละ 10
2) ครูที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
3) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 100,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 100,000/150 = 666.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
24 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวีธีการส่งเสริมการสอนภาษาไทยสำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 |
- เชิงปริมาณ
คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
- เชิงคุณภาพ
ครูผู้สอนภาษาไทยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 169,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 169,300/30 = 5,643.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
25 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของครูปฐมวัย
2. เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจวิธีการและประเมินแบบทดสอบวัดความฉลาดทางอารมณ์
3. เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ) สำหรับเด็กปฐมวัย
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 60 คน เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของ
ครูปฐมวัยและแบบทดสอบวัดความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ)สำหรับเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้มีแนวทางเพิ่มในการจัดกิจกรรมเสริมสมรรถนะเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 144,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 144,800/60 = 2,413.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
26 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 (กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 โรงเรียน) มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ที่สูงขึ้น |
- เชิงปริมาณ
คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
- เชิงคุณภาพ
นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,350 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,350/120 = 1,211.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
27 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 12 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเรียนรู้เกี่ยวกับบอร์ดเกมเพื่อพัฒนาทักษะด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนผ่านบอร์ดเกม Battle of the number |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะด้านคณิตศาสตร์
2 เพื่อให้ครูคณิตศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมที่เหมาะสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย
3 เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านการคำนวณของนักเรียน และสามารถไปแข่งขันในระดับประเทศและระดับนานาชาติ
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนและนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 140 คน เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การเรียนรู้เทคนิคการวางแผนเชิงกลยุทธ์ผ่านการเล่นบอร์ดเกม Battle Of the Number เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การแข่งขันการวางแผนกลยุทธ์ผ่านบอร์ดเกม Battle Of the Number เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 80,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 80,000/140 = 571.14 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
28 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 5 จัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อจัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
1 เชิงปริมาณ
1)คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเ
ด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
2) โครงงานวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศจำนวน 32 โครงการ
2 เชิงคุณภาพ
ครูผู้สอนปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนได้แนวทางการเพิ่มทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 64,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 64,600/32 = 2,018.75 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
29 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมจากระบบสมองกลฝังตัว |
2567 |
1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณที่ใช้ระบบสมองกลฝังตัวเป็นสื่อ สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมระบบสมองกลฝังตัว และสามารถพัฒนานวัตกรรมแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันจากระบบสมองกลฝังตัว
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุน การศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 10 คน (จาก 10 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 20 คน (จาก 10 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาความเป็นนวัตกรของนักเรียนโดยใช้ระบบสมองกลฝังตัวเป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจและมีความเป็นนวัตกร อันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณโดยใช้ระบบสมองกลฝังตัวเป็นสื่อ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 127,560 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 127,560 /10 = 12,756 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
30 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การนิเทศในชั้นเรียนและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
1 เพื่อให้ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ ความเข้าใจด้านกระบวนการนิเทศ
2 เพื่อให้ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สามารถนิเทศและให้คำแนะนำครูผู้สอนได้ตามกระบวนการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3 เพื่อให้ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัด
4 เพื่อให้ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัดได้อย่างถูกต้อง
|
1 เชิงปริมาณผู้เข้าร่วมจำนวน 127 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเพิ่มทักษะการนิเทศและให้คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัด สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 282,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 282,000/127 = 2,220.47 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
31 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน |
2567 |
1. เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
2. เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน
3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา
|
เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองสงขลา
จ.สงขลา จำนวน 25 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการครบทุกครัวเรือน
เชิงคุณภาพ :
- รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 หลังจากที่ได้วัสดุอุปกรณ์และได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ (รอผลการติดตาม)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากเดิม
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 99 และขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยที่มีโครงการนี้ขึ้นมา
- ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
ชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 255,450 บาท ใช้จริง 244,594 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
32 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้หุ่นยนต์ |
2567 |
1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
ที่ใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อ สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ได้
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และจังหวัดสตูล ที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 15 คน (จาก 15 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 30 คน (จาก 15 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจและมีความคิดสร้างสรรค์อันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณโดยใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) ครูและนักเรียนมีความพึงพอต่อกิจกรรม 3 ด้าน (ความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้)
ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าระดับ 4
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 73,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 73,000/15 = 4,866.66 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 |
|
33 |
โครงการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นโดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามสมรรถนะ PTRU Model |
2567 |
1.เพื่อพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model
2. เพื่อให้ผู้บริหารและครูพี่เลี้ยงมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูไปทิศทางเดียวกันที่สอดคล้องกับ PTRU Model
3. เพื่อพัฒนาโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามรูปแบบ PTRU ที่มีสมรรถนะในการเป็นพี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาครู
4. เพื่อให้ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับนักศึกษาที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้
5. เพื่อพัฒนาครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้มีคุณลักษณะของ Strong Teacher
|
- เชิงปริมาณ
1) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่เข้าร่วมพัฒนาการเป็นนวัตกรทางการศึกษาตามรูปแบบฐานสมรรถนะ PTRU Model จำนวน 50 โรงเรียน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ในโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 100 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model และมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
2) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีคุณลักษณะของ Strong Teacher ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ได้รับการ re-skill up-skill and new-skill ให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา
ตามรูปแบบ PTRU Model ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 208,960 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 208,960/100 = 2,089.6 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
34 |
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน
2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย
|
เชิงปริมาณ
1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง
เชิงคุณภาพ
1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน
3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน
5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
|
35 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมสัมมนาสะท้อนผลนำเสนอ เรื่อง การจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) สำหรับเด็กปฐมวัย |
2567 |
เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้แลกเปลี่ยนรู้ร่วมกัน และนำเสนอสะท้อนผลจากการจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) สำหรับเด็กปฐมวัย |
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพื้นที่เข้าร่วมยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2) จำนวนครูผู้สอนระดับปฐมวัยนำเสนอสะท้อนผลจากกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ) สำหรับเด็กปฐมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (กลุ่มเป้าหมาย 60 คน)
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก (active Learning)
ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะร้อยละ 10
2) ชุมชนหรือประชาชน(โรงเรียน/นักเรียนที่อยู่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3) ครูที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,720 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,720 /60= 1,128.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
|
36 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ประเด็นเด่นในการทำผลงานวิชาการของครูวิทยาศาสตร์ |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางการศึกษา และศาสตร์การสอนให้กับครูประจำการทั่วไป และศิษย์เก่า
2. เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นเด่นในการทำผลงานวิชาการของครูวิทยาศาสตร์
3. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัด สพฐ.และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 15 โรงเรียน
2) จำนวนครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 30คน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
2) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก (active learning) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ร้อยละ 10
(กลุ่มเป้าหมายนักเรียนจำนวน 30 คน)
3) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าสามารถนำ
ความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 79,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 79,100 /30 = 2,636.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
37 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย |
2567 |
1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านการเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัด สพฐ.และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการที่เข้าร่วม
การยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 12 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 218,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 218,400/12 = 18,200 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
38 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 47,080 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 47,080/120 = 392.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
39 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 17 |
|
40 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก (กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21) |
2568 |
1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะผู้เรียนให้กับครูและนักเรียนในโรงเรียนตามกลุ่มเป้าหมาย
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัด สพฐ. และ โรงเรียนกองทุนการศึกษาในเขตพื้นที่บริการที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการที่เข้าร่วม
การยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 30 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูและนักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 852,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 852,000/30 = 28,400 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
41 |
ศึกษาดูงานการพัฒนานักศึกษาและศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์ |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา |
1 เชิงปริมาณ :
1) นักศึกษา จำนวน 30 คน และบุคลากร จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนานักศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 333,300 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 333,300/40 = 8,332.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|