0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
  • 2567
  • 2568
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 5 ทบทวนและจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงาน อธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และแผนกลยุทธ์ทางการเงินประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 (4,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (นอกสถานที่) (18,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานด้านการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยของ สำนักงานอธิการบดี (136,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ
SDGs:
กิจกรรมที่ 7.2.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และสตูล
SDGs:
ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา (อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน (น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง)
SDGs:
บริหารจัดการและติดตามการดำเนินโครงการ กิจกรรมรับการตรวจเยี่ยมเพื่ิติดตามผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
SDGs:
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า(10,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 ประกวดโครงงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(68,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(48,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมทักษะความเป็นเลิศของนักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติกส์ในศตวรรษที่ 21(33,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติและการใช้โปรแกรมสำหรับวิเคราะห์งานนักศึกษาหลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิตในศตวรรษที่ 21(60,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)(30,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 14 (คทอ.)(38,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับบุคลากร และนักศึกษาตามประเพณีในสังคมพหุวัฒนธรรม (คทอ.)(20,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 32 จิตอาสาบูรณาการงานทำนุศิลปะวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาครั้งที่ 1 (คทอ.)(53,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการทรัพย์สินทางปัญญากับงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เรื่อง "วิจัยอย่างไรให้สามารถจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและขายได้" (สวพ.)(32,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบวัฒนธรรมไทย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
SDGs:
กิจกรรมเทศกาลดนตรีไทยและศิลปะการแสดงส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา
SDGs:
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ "ภาพพิมพ์จากกระบวนการภาพถ่าย (Cyanotype)"
SDGs:
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสรรคฺ์การแสดงประกอบเพลงประจำชุมชนตะโหมด
SDGs:
โครงการศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาด้านดนตรีศึกษา
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) ครั้งที่ 2" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002
SDGs:
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก
SDGs:
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบ้ติการ "การสร้างสรรค์การแสดงมนต์เสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลาให่กับนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ"
SDGs:
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วงดุริยางค์เครื่องลมเยาวชนสงขลา
SDGs:
กิจกรรมสำรวจความต้องการของครัวเรือนยากจน
SDGs:
โครงการ รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู
SDGs:
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน
SDGs:
โครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 7.1: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 7.1.3: อบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประหยัดพลังงาน/พลังงานหมุนเวียน กลไกภาษีคาร์บอนและคาร์บอนเครดิต
SDGs:
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแสดงโนราชุด "จากถิ่นซิงกอร่าสู่สงขลาเมืองมรดกโลก" แก่นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
SDGs:
กิจกรรมลงพื้นที่ส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน
SDGs:
กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมครัวเรือนยากจน
SDGs:
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3)
SDGs:
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.3 ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท)
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) รุ่นที่ 3
SDGs:
ศึกษาดูงานการพัฒนานักศึกษาและศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) 2566 1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
2 กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ -เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล -เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน -เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด -เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท -ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
3 กิจกรรมที่ 5 ทบทวนและจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงาน อธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และแผนกลยุทธ์ทางการเงินประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 (4,200 บาท) 2566 1. เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ สำนักงานอธิการบดีให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อให้หน่วยงานภายใน สำนักงานอธิการบดีนำแผน ยุทธศาสตร์ไปเป็นกรอบในการ ดำเนินงานและทำให้บรรลุวิสัยทัศน์ ของสำนักงานอธิการบดีที่กำหนดไว้ 1. มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ 2. มีแผนยุทธศาสตร์กลยุทธ์ทาง การเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 จำนวน 1 ฉบับ 3. บุคลากรสำนักงานอธิการบดี จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความ พึงพอใจในการร่วมทบทวนและ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
4 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (นอกสถานที่) (18,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะที่จำเป็นในการทำงานด้านอุตสาหกรรมบริการ 2. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์การให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน 3. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสลงมือปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
5 กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 272 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,900/272 = 128.31 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
6 กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานด้านการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยของ สำนักงานอธิการบดี (136,800 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุนของสำนักงานอธิการบดีได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาดูงานสถาบันอุดมศึกษาในด้านบริหารจัดการมหาวิทยาลัยและนำความรู้มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานของหน่วยงานเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป 2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มประสบการณ์ให้กับบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 24 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 126,900 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 126,900/24 = 5,287.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
7 กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท) 2566 1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ 2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น 3. เพื่อทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 1.เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80  2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3 .เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 78,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 78,600/200 = 393 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
8 กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา 3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
9 กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้ 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้ 3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
10 กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2566 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดียนให้กับนักเรียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2.2 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาสำหรับแสดงประกอบวงเมโลเดียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ 1 นวัตกรรม 5.1.2 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 1 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 สามารถนำการแสดงใช้เป็นกิจกรรมส่งเสริมเมืองสงขลาสู่เมืองมรดกโลกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 5.2.3 สามารถนำการแสดงที่สร้างสรรค์ไปใช้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลาสร้างรายได้สู่ชุมชน เพื่อขึ้นร้อยละ 5 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,200 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,200/30 = 540 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
11 กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ 2566 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน 2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการคณะเพื่อยกระดับรายได้ของชุมชน 2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 261,700 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 261,700 /200 = 1,308.5 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 11
12 กิจกรรมที่ 7.2.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และสตูล 2566 เพื่อพัฒนาศักยภาพการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน 1. เชิงปริมาณ 1.1.ได้ขยายกลุ่มภาคีเครือข่ายโดยครอบคลุมทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่นภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน จำนวนอย่างน้อยภาคละ 1 เครือข่ายต่อ 1 ชุมชนต้นแบบ 1.2 เกิดองค์ความรู้นวัตกรรมด้านการยกระดับการใช้ทรัพยากรของชุมชน SDG อย่างยั่งยืน จังหวัด ๑ องค์ความรู้ 1.3 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมพัฒนาต่อจังหวัด จังหวัดละ 10 คน รวม 30 คน 2.เชิงคุณภาพ 2.1ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
13 ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา (อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน (น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง) 2566 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุล และได้เรียนรู้วิธีการ หลักการ และขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง และโครงการนี้เป็นการต่อยอดการผลิตให้มีจำนวนมากขึ้น และปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่เพื่อให้ดีกว่าเดิม - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - เชิงเวลา ดำเนินกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 41,350 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 41,350/30 = 1,378.33 บาท/ครัวเรือน เป้าหมายที่ 1
14 บริหารจัดการและติดตามการดำเนินโครงการ กิจกรรมรับการตรวจเยี่ยมเพื่ิติดตามผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2566 2.1 เพื่อรับการตรวจเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ของ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี 2.2 เพื่อรับฟังการบรรยายสรุป โครงการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา 2.3 เพื่อจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา - เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร นักศึกษา บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 270 คน - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการทราบผลการติดตามผลการดำเนินงานโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 366,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 366,000 / 270 = 1,355.55 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
15 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก 2566 2.1 เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุล และเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบและส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน 2.4 เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้วิสาหกิจข้าวพื้นถิ่นระหว่างชุมชนต้นแบบ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนไม่น้อยกว่า 48 คน (ร้อยละ 80) 5.1.2 มีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 3 ชุมชน 5.1.3 มีช่องทางการตลาด อย่างน้อย 1 ช่องทาง 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ชุมชนต้นแบบได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ชุมชน 5.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเกณฑ์ความยากจน ร้อยละ 60 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 170,400 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 170,400/60 = 2,840 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
16 อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล 2566 1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ดูแลและผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน 2. เพื่อประเมินผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืนและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับการยอมรับในด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับชาติ - เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ดูแลภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,000/30 = 1,433.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
17 กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท) 2567 2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ 2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ หลังของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (เมษายน - กันยายน 2567) 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 89 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,300 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,300/89 = 295.50บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
18 กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจากมุมมองต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานทั้งในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 208 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ๒. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน  2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,050 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17
19 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า(10,000 บาท) 2567 1. ให้ความรู้และพัฒนาทักษะเพื่อนำไปใช้สำหรับการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า 2. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายศิษย์เก่า 1. เชิงปริมาณ ศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,500 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,500/15 = 366.67 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
20 กิจกรรมที่ 4 ประกวดโครงงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(68,000 บาท) 2567 1. เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน 2. เพื่อบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และพัฒนาต่อยอดสู่การแก้ปัญหาให้ชุมชน หรือท้องถิ่นได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน 1. เชิงปริมาณ 1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 3-4 ภาคปกติ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. โครงงานที่ส่งประกวด อย่างน้อย 9 ชิ้นงาน 2. เชิงคุณภาพ 2.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สามารถสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 68,000 บาท 5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,0๐๐/20 = 3,400 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
21 กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(48,800 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานที่ที่ศึกษาดูงาน 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรต่าง ๆ กับมหาวิทยาลัย 3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาประสบการณ์ในเรื่องระบบการทำงานขององค์กรต่าง ๆ ด้านอุตสาหกรรม และเทคโนโลยี 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 139 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้ความรู้และประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนจากการศึกษาดูงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2.2 นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน 3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 48,800 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 48,800/139 = 351.08 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
22 กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมทักษะความเป็นเลิศของนักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติกส์ในศตวรรษที่ 21(33,000 บาท) 2567 1. เพื่อให้ความรู้และพัฒนาทักษะทางวิชาชีพที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพ 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์และการทำงานเป็นทีม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม-โลจิสติกส์ จำนวน 140 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 นักศึกษาได้รับความรู้จากศิษย์เก่าหรือสถานประกอบการ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการทำงานในอนาคต อย่างน้อยร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ๓2,89๐ บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ๓2,89๐/๑๔๐ = 234.93 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
23 กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติและการใช้โปรแกรมสำหรับวิเคราะห์งานนักศึกษาหลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิตในศตวรรษที่ 21(60,000 บาท) 2567 1. เพื่อเสริมทักษะวิชาชีพเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2. เพื่อพัฒนาวิชาชีพการผลิตบัณฑิตตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 หลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิต จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมต่าง ๆ เพื่อการปฏิบัติและทำงานในด้านเทคโนโลยีการผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 51,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 51,900/25 = 2,076 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
24 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)(30,100 บาท) 2567 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการวิจัย โครงการบริการวิชาการ และโครงการอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ - เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 151,500 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 151,500/120 = 1,262.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
25 กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 14 (คทอ.)(38,600 บาท) 2567 1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ 2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น 3. เพื่อทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ อาจารย์และบุคลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 นักศึกษาบูรณาการรายวิชากับการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม อย่างน้อย 2 รายวิชา 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,600/120 = 321.67 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
26 กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับบุคลากร และนักศึกษาตามประเพณีในสังคมพหุวัฒนธรรม (คทอ.)(20,000 บาท) 2567 1. เพื่อสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป 2. เพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาและปลูกฝังค่านิยมที่ดีด้านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย 1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/100 = 200 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
27 กิจกรรมที่ 32 จิตอาสาบูรณาการงานทำนุศิลปะวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาครั้งที่ 1 (คทอ.)(53,100 บาท) 2567 1. เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่นักศึกษาและนักเรียนของโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร 2. เพื่อเพิ่มทักษะในการออกแบบและผลิตชิ้นงานที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับวัดและโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร 2. เพื่อบูรณาการงานทำนุศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 1. เชิงปริมาณ 1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,100 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,100/50 = 1,062 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
28 กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการทรัพย์สินทางปัญญากับงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เรื่อง "วิจัยอย่างไรให้สามารถจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและขายได้" (สวพ.)(32,100 บาท) 2567 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์มาสู่การจดทะเบียนคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาได้เพิ่มขึ้น - เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน จำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สิน ทางปัญญา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 32,100 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 32,100/45 = 713.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
29 กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบวัฒนธรรมไทย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2567 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์ 2. เพื่อคัดเลือกนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 1. เชิงปริมาณ 1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 1.2 จำนวนนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 6 คน 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,590 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,590/๓๐๐ = 155.30 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
30 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002 2567 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการวิจัย โครงการบริการวิชาการ และโครงการอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ - เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 151,500 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 151,500/120 = 1,262.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
31 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย 2567 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่ 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 2. เชิงคุณภาพ 2.1 นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาลัย และกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า ๗ ฐาน โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑ 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑ 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,300 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,3๐๐/๓00 = 157.67 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 11
32 กิจกรรมเทศกาลดนตรีไทยและศิลปะการแสดงส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน 2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีเทศกาลดนตรีไทยและศิลปะการแสดงส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา จำนวน 1 เทศกาล 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ร้อยละความสุขมวลรวม (GVH) ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 41 5.2.2 มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน 5.2.3 ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดเทศกาลดนตรีและศิลปะ 12,000 บาท/ครัวเรือน/ปี 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1๔๐,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1๔๐,000/100 = 1,400 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 12
33 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ "ภาพพิมพ์จากกระบวนการภาพถ่าย (Cyanotype)" 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ความรู้และทักษะการสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรมสู่เยาวชน/ประชาชน และผู้ประกอบการใน จังหวัดสงขลา 2.2 เพื่อต่อยอดคุณค่าสุนทรียศาสตร์ในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลา 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 ประชาชน/ผู้ประกอบการในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลา ได้ผลิตภัณฑ์ที่ระลึกจากผลงานภาพพิมพ์ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึก จำนวน 5 รูปแบบ 5.1.2 ชุมชน/ผู้ประกอบการนำทักษะที่ได้รับจากโครงการไปสร้างรายได้เพิ่มขึ้น 12,000 บาท/ครัวเรือน/ปี 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ร้อยละความสุขมวลรวม (GVH) ของ ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 41 5.2.2 มีรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,650 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 39,650/30 = 1,321.66 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
34 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสรรคฺ์การแสดงประกอบเพลงประจำชุมชนตะโหมด 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงที่ใช้ประกอบเพลงประจำชุมชนตะโหมด 2.2 เพื่อสร้างนักแสดงสำหรับใช้ส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของชุมชนตะโหมด 2.3 เพื่อสร้างนวัตกรรมการแสดงที่ช่วงส่งเสริมสุขภาวะให้กับชาวบ้านชุมชนตะโหมด 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 ชาวบ้านตำบลตะโหมด จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 มีชุมชนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 2 หมู่บ้าน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการสร้างสรรค์การแสดงประกอบเพลงประจำชุมชนตะโหมด โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 5.2.2 ร้อยละความสุขมวลรวม (GVH) ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 41 5.2.3 มีรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 29,040 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 29,040 /40 = 726 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
35 โครงการศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาด้านดนตรีศึกษา 2567 2.1 เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางด้านดนตรีศึกษาและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีศึกษากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยเครือข่าย 2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางดนตรีศึกษาที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้จริง 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา รหัส 66 จำนวน 7 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,000/7 = 9,571.42 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 11
36 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) ครั้งที่ 2" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002 2567 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ 1.เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 59,100 บาท 5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 59,100/100 = 591 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
37 พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก 2567 1. เพื่อสำรวจความต้องการครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง 2. เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไปวิเคราะห์ความต้องการ/ปัญหา เชิงปริมาณ : 1. ครัวเรือนยากจน จำนวน 41 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาทต่อครัวเรือน/ปี เชิงคุณภาพ : 1. ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการ มีแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพ ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 2. มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 21,700 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 16
38 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบ้ติการ "การสร้างสรรค์การแสดงมนต์เสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลาให่กับนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ" 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงชุดมนต์เสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลา รูปแบบนาฏศิลป์ร่วมสมัย ไทย-จีน ให้แก่นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้มีศักยภาพด้านนาฏศิลป์ไทยและนาฏศิลป์จีน 2.3 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงชลาจากนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิให้มีทักษะด้านการแสดงรอบด้าน 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 ชุมชนได้รับการพัฒนา Soft Power จำนวน 1 ชุมชน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 21,600 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 21,600/24 = 900 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 9
39 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วงดุริยางค์เครื่องลมเยาวชนสงขลา 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพชุมชนซอฟต์พาวเวอร์ด้วยองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมดนตรีร่วมสมัย 2.2 เพื่อยกระดับกิจกรรมวงดุริยางค์เครื่องลมที่มีในชุมชนเป็นการแสดงที่มีศักยภาพและมีมูลค่าสูง 2.3 เพื่อสร้างคุณค่า ผลักดัน ซอฟต์พาวเวอร์ด้วยการแสดงดนตรีร่วมสมัยให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 จำนวนชุมชนทีได้รับการพัฒนาซอฟต์พาวเวอร์อย่างน้อย 5 ชุมชน 5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 จำนวนชุมชนที่มีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นร้อยละ 41 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 41 5.2.3 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะดีขึ้นร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 406,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 406,100 /80 = 5,076 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 9
40 กิจกรรมสำรวจความต้องการของครัวเรือนยากจน 2567 2. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อสำรวจความต้องการครัวเรือนยากจน พื้นที่ตำบลบ่อยาง ตำบลพะวง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา และตำบลแม่ขรี ตำบลตะโหมด จังหวัดพัทลุง ๒.๒ เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไปวิเคราะห์ความต้องการ/ปัญหา 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 ครัวเรือนยากจน จำนวน 20 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาท ต่อครัวเรือน/ปี 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.2 ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการ มีแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพ ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 5.2.3 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน 5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 9,800 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 9800/20 = 480บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 9
41 โครงการ รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู 2567 2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบข้อเขียน 2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบสัมภาษณ์ 5.1 เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,850 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,850 /180 = 188.05 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
42 พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน 2567 1. เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง 2. เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน 3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา จำนวน 25 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการครบทุกครัวเรือน เชิงคุณภาพ : - รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 หลังจากที่ได้วัสดุอุปกรณ์และได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ (รอผลการติดตาม) - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากเดิม - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 99 และขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยที่มีโครงการนี้ขึ้นมา - ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 60 ชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 255,450 บาท ใช้จริง 244,594 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
43 โครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 7.1: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 7.1.3: อบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประหยัดพลังงาน/พลังงานหมุนเวียน กลไกภาษีคาร์บอนและคาร์บอนเครดิต 2567 2.1 เพื่อให้ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ คาร์บอนเครดิตเพื่อสร้างความตระหนักรู้ในระดับชุมชน/ท้องถิ่นแก่ชุมชนเป้าหมายจังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล 2.2 เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้ชุมชนเกิดทักษะการทำงานร่วมกันโดยเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน (SDGs) 2.3 เพื่อนำแผนการจัดการทรัพยากรชุมชนจากปีที่ 1 แปลงสู่การปฏิบัติการเชิงพื้นที่ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) จังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล - เชิงปริมาณ - ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20 - จำนวนชุมชนต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อม 1 แห่ง - เชิงคุณภาพ - ชุมชนนำองค์ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนกับการพัฒนาชุมชนและความรู้เรื่องเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร การประหยัดพลังงาน เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ กลไกภาษี และคาร์บอนเครดิต ไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม ไม่น้อยกว่า 1 ชุมชน - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 220,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 220,200/200 = 1,101 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 17
44 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแสดงโนราชุด "จากถิ่นซิงกอร่าสู่สงขลาเมืองมรดกโลก" แก่นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงโนราชุด "จากถิ่นซิงกอร่า สู่สงขลาเมืองมรดกโลก" 2.2 เพื่อสร้างนักแสดง และชุดการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของย่านเมืองเก่าสงขลา 2.3 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่นักเรียน และสามารถต่อยอดกิจกรรมสู่การสร้างรายได้จากการแสดงชุมชน 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 ชุมชนที่ได้รับการพัฒนา Soft Power จำนวน 1 ชุมชน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000/20 = 900 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 9
45 กิจกรรมลงพื้นที่ส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง, ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา และตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 2.2 เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน 2.3 เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง, ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา และตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จำนวน 20 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.4 ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20 5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 229,400 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 229,400 /20 = 11,470 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
46 กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมครัวเรือนยากจน 2567 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อติดตามผล ให้คำปรึกษาแนะนำการส่งเสริมอาชีพ 2.2 เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน 2.3 เพื่อสามารถนำผลจากการติดตามความก้าวหน้ามาปรับปรุงและพัฒนาต่อไป 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีโอกาลลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้า อย่างน้อย 1 ครั้ง 5.1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้า อย่างน้อย 1 ครั้ง 5.1.3 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาท ต่อครัวเรือน/ปี 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.2 ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการมีอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 5.2.3 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน 5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,000 / 20 = 200 บาท/ครัวเรือน เป้าหมายที่ 1
47 ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) 2567 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน 2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย เชิงปริมาณ 1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง เชิงคุณภาพ 1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน 3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน 5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 12
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
48 พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.3 ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน 2567 ติดตามผล และให้คำปรึกษาแนะนำการส่งเสริมอาชีพ เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีโอกาสลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าครัวเรือนยากจน จำนวน 26 ครัวเรือน อย่างน้อย 1 ครั้ง เชิงคุณภาพ : ครัวเรือนจำนวน 26 ครัวเรือน สามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนในอนาคต เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 12,000 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
49 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท) 2568 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 47,080 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 47,080/120 = 392.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
50 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 2568 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 11
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 17
51 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) รุ่นที่ 3 2568 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ 1. เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
52 ศึกษาดูงานการพัฒนานักศึกษาและศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์ 2568 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 1 เชิงปริมาณ : 1) นักศึกษา จำนวน 30 คน และบุคลากร จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนานักศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง 2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 333,300 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 333,300/40 = 8,332.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17