ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการ ดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์ (24,700 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์
2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566) และในรอบระยะเวลาสิ้นปีแผนฯ (เมษายน - สิงหาคม 2566)
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 64 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/64 = 232.81 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 17 |
|
2 |
กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านการตลาดวัฒนธรรมท้องถิ่น By MGT (ควจ.) (43,000 บาท) |
2566 |
1.เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
3.เพื่อให้นักศึกษาร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
4.เพื่อบูรณาการด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ
โดยฝึกปฏิบัติเป็นผู้ประกอบการท้องถิ่น ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) รวมทั้งบูรณาการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 43,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 43,000 /200 = 215 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 11 |
|
3 |
กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ |
2566 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการคณะเพื่อยกระดับรายได้ของชุมชน
2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม
5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 261,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 261,700 /200 = 1,308.5 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 11 |
|
4 |
กิจกรรมที่ 11 จัดงานสืบสานประเพณีวันสงกรานต์ (คคศ.)(17,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี วันสงกรานต์ของไทย
2.2 เพื่อให้บุคลากรได้เรียนรู้ความสำคัญ ความเป็นมาของประเพณีรวมถึงเรียนรู้ขั้นตอน
กระบวนการเกี่ยวกับพิธีกรรมวันสงกรานต์ของคนไทย
2.3 เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีและมีความสนิทสนมกลมเกลียวกันมากขึ้น อันก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 76 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 17,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 17,000 /76 = 223.68 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 11 |
|
5 |
กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาดนตรีศึกษา(73,600 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางด้านดนตรีศึกษาและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีศึกษากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยเครือข่าย
2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางดนตรีศึกษาที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้จริง
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา รหัส 66 จำนวน 7 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,000/7 = 9,571.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 11 |
|
6 |
โครงการ พัฒนานักศึกษา สโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน |
๕.๑ เชิงปริมาณ : มีนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทุกชั้นปี จำนวน 50 คน ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
๕.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมิน
เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
๕.๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
๕.๔ ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,300บาท
๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,300/50 = 286 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 11 |
|
7 |
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่
|
1. เชิงปริมาณ
นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาลัย และกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า ๗ ฐาน โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,3๐๐/๓00 = 157.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 11 |
|
8 |
โครงการ การสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และการปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 |
2567 |
2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจในการสัมมนาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2
2.2. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์และนำเสนอการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ได้ รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 / 180 = 222.22 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 11 |
|
9 |
โครงการศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาด้านดนตรีศึกษา |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางด้านดนตรีศึกษาและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีศึกษากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยเครือข่าย
2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางดนตรีศึกษาที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้จริง
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา รหัส 66 จำนวน 7 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,000/7 = 9,571.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 11 |
|
10 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้หุ่นยนต์ |
2567 |
1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
ที่ใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อ สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ได้
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และจังหวัดสตูล ที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 15 คน (จาก 15 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 30 คน (จาก 15 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจและมีความคิดสร้างสรรค์อันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณโดยใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) ครูและนักเรียนมีความพึงพอต่อกิจกรรม 3 ด้าน (ความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้)
ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าระดับ 4
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 73,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 73,000/15 = 4,866.66 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 |
|
11 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 17 |
|