0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
  • 2567
  • 2568
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
SDGs:
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา
SDGs:
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Coundelor ในศตวรรษที่ 21(42,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์กรสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว(33,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ด้านหลักสูตร OBE (AUN-GA)(25,500 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับบุคลากร และนักศึกษาตามประเพณีในสังคมพหุวัฒนธรรม (คทอ.)(20,000 บาท)
SDGs:
โครงการ การสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และการปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2
SDGs:
โครงการ จัดงานครูจิตอาสาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ
SDGs:
โครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 7.1: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 7.1.3: อบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประหยัดพลังงาน/พลังงานหมุนเวียน กลไกภาษีคาร์บอนและคาร์บอนเครดิต
SDGs:
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3)
SDGs:
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.3 ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ -เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล -เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน -เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด -เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท -ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
2 กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2566 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดียนให้กับนักเรียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2.2 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาสำหรับแสดงประกอบวงเมโลเดียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ 1 นวัตกรรม 5.1.2 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 1 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 สามารถนำการแสดงใช้เป็นกิจกรรมส่งเสริมเมืองสงขลาสู่เมืองมรดกโลกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 5.2.3 สามารถนำการแสดงที่สร้างสรรค์ไปใช้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลาสร้างรายได้สู่ชุมชน เพื่อขึ้นร้อยละ 5 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,200 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,200/30 = 540 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
3 โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา 2566 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน 2) เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน 3) เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน - เชิงปริมาณ 1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม 2) มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการ อ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ 3) จำนวนโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาเข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา อย่างน้อย 10 แห่ง - เชิงคุณภาพ 1) ครูผู้สอนภาษาไทยได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) ความพึงพอใจของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการด้านความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้ ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 - เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
4 กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Coundelor ในศตวรรษที่ 21(42,100 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีความรู้ความเข้าใจในการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Counselor 2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีทักษะในการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Counselor ในศตวรรษที่ 21 อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบริการวิชาการโดยการถ่ายทอดการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา 5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว ชั้นปีที่ 2, 3 จำนวน 56 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ: 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมีคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 42,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 42,100/56 = 751.78 บาท เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 17
5 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์กรสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว(33,800 บาท) 2567 1. เพื่อให้ความรู้ด้านเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวเพื่อเข้าสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว 2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นำความรู้และเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวไปใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน 5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 อาจารย์และบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน สีเขียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,800 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,800 = 422.50 บาท/คน 80 เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 12
เป้าหมายที่ 13
เป้าหมายที่ 15
6 กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ด้านหลักสูตร OBE (AUN-GA)(25,500 บาท) 2567 เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในการทำหลักสูตร ตามหลักของ OBE - เชิงปริมาณ : อาจารย์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : อาจารย์ที่เข้าร่วมอบรมสามารถทำหลักสูตรโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ในรูปแบบ OBE ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 25,500 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 25,500/60 คน = 425 บาท/คน เป้าหมายที่ 7
7 กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจากมุมมองต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานทั้งในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 208 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ๒. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน  2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,050 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17
8 กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับบุคลากร และนักศึกษาตามประเพณีในสังคมพหุวัฒนธรรม (คทอ.)(20,000 บาท) 2567 1. เพื่อสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป 2. เพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาและปลูกฝังค่านิยมที่ดีด้านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย 1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/100 = 200 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
9 โครงการ การสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และการปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 2567 2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจในการสัมมนาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 2.2. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์และนำเสนอการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ได้ รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 / 180 = 222.22 บาท/คน เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 11
10 โครงการ จัดงานครูจิตอาสาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ 2567 2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท และคุณลักษณะของวิชาชีพครู 2.2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องจิตอาสาการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาชุมชนและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริง - เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 156,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 156,600 / 180 = 870 บาท/คน เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 6
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
11 โครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 7.1: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 7.1.3: อบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประหยัดพลังงาน/พลังงานหมุนเวียน กลไกภาษีคาร์บอนและคาร์บอนเครดิต 2567 2.1 เพื่อให้ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ คาร์บอนเครดิตเพื่อสร้างความตระหนักรู้ในระดับชุมชน/ท้องถิ่นแก่ชุมชนเป้าหมายจังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล 2.2 เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้ชุมชนเกิดทักษะการทำงานร่วมกันโดยเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน (SDGs) 2.3 เพื่อนำแผนการจัดการทรัพยากรชุมชนจากปีที่ 1 แปลงสู่การปฏิบัติการเชิงพื้นที่ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) จังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล - เชิงปริมาณ - ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20 - จำนวนชุมชนต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อม 1 แห่ง - เชิงคุณภาพ - ชุมชนนำองค์ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนกับการพัฒนาชุมชนและความรู้เรื่องเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร การประหยัดพลังงาน เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ กลไกภาษี และคาร์บอนเครดิต ไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม ไม่น้อยกว่า 1 ชุมชน - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 220,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 220,200/200 = 1,101 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 17
12 ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) 2567 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน 2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย เชิงปริมาณ 1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง เชิงคุณภาพ 1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน 3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน 5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 12
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
13 พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.3 ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน 2567 ติดตามผล และให้คำปรึกษาแนะนำการส่งเสริมอาชีพ เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีโอกาสลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าครัวเรือนยากจน จำนวน 26 ครัวเรือน อย่างน้อย 1 ครั้ง เชิงคุณภาพ : ครัวเรือนจำนวน 26 ครัวเรือน สามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนในอนาคต เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 12,000 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8