0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 4 สัมมนาผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา (55,800 บาท) 2566 1. เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู 2. เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติการ สอนในสถานศึกษา 1และ 2 (หลักสูตร 4 ปี) 1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา (นักศึกษารหัส 63) จำนวน 170 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (4.1) 2. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา (นักศึกษารหัส 63) จำนวน 170 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (4.2) 3. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จำนวน 350 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (4.3) 4. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5. มีแนวทางการพัฒนาการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 1 แนวทาง เป้าหมายที่ 4
2 กิจกรรมที่ 7 สัมมนาระหว่าง ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (หลักสูตร 5 ปี) รูปแบบออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชัน ZOOM Cloud Meetings (300 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน 3. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการเขียนบทความวิจัย 4. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เรื่องการขอขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพครูด้วยตนเอง 1. นักศึกษาหลักสูตร 5 ปี รหัส 61E จำนวน 265 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. นักศึกษาทราบถึงขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพครูไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เป้าหมายที่ 4
3 กิจกรรมที่ 8 สัมมนาหลังปฏิบัติ การสอนในสถานศึกษา 2 (หลักสูตร 5 ปี) (39,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน 2. เพื่อให้นักศึกษาประกวดและ นำเสนอผลงานวิจัยในชั้นเรียน 3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น ครูที่ดีในอนาคต 1. นักศึกษาหลักสูตร 5 ปี รหัส 61E จำนวน 265 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เป้าหมายที่ 4
4 กิจกรรมที่ 9 ปฐมนิเทศนักศึกษานักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 (หลักสูตร 4 ปี) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบ กระบวนการปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษา 4 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษา ปฏิบัติการสอน 3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น ครูที่ดีในอนาคต 1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี รหัส 63 จำนวน 285 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ แนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษา ปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
5 กิจกรรมที่ 10 ปฐมนิเทศนักศึกษา ก่อนออกปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา 1 (หลักสูตร 4 ปี) (77,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการ ปฐมนิเทศก่อนออกปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษา 1 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตน ของครูฝึกสอน 3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น ครูที่ดี 1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี รหัส 65 จำนวน 341 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ บุคลิกภาพและการวางตนของ ครูฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
6 กิจกรรมที่ 11 ปฐมนิเทศนักศึกษา ก่อนออกปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา 2 (หลักสูตร 4 ปี) (46,400 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการ ปฐมนิเทศก่อนออกปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษา 2 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตน ของครูฝึกสอน 3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น ครูที่ดี 1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี รหัส 64 จำนวน 319 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ บุคลิกภาพและการวางตนของ ครูฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
7 กิจกรรมที่ 12 สัมมนาระหว่าง ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 (20,500 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน 2. เพื่อให้นักศึกษาได้สัมมนาและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโครงการ และการวิจัยในชั้นเรียน 3. เพื่อให้นักศึกษาได้รับแนวทาง การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติการสอน 4. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น ครูที่ดีในอนาคต 1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี รหัส 63 จำนวน 285 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. นักศึกษาได้รับทราบแนวทาง การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
8 กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ (12,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบาย และประเมินทักษะ ความพร้อม ของตนเองก่อนฝึกงาน 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติ การสร้างภาพลักษณ์ให้เป็น นักศึกษาฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิด ความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ฯ ชั้นปีที่ 4 ภาค กศ.บป. จำนวน 66 คน เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจ ถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำ ความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ และแก้ป้ญหาในการฝึกประสบการณ์ฯ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
9 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาเสริมสร้าง ศักยภาพผู้นำนักศึกษาและ การประกันคุณภาพ (49,900 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก 2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีภาวะผู้นำและรู้จักการปรับตัวในสังคม 3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1 เชิงปริมาณ : - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 80 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาที่เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 49,560 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 49,560/80 = 619.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
10 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและ ประกวดแข่งขันผู้ประกอบการ รุ่นใหม่ (40,000 บาท) 2566 1. เพื่อสร้างและเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางในการ เป็นผู้ประกอบการให้แก่นักศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ และมีทักษะ สามารถประยุกต์ ความรู้ด้านการจัดการทางธุรกิจ ในการเป็นผู้ประกอบการได้ 3. เพื่อเปิดพื้นที่ให้นักศึกษาแสดง ศักยภาพและความสามารถใน การเป็นผู้ประกอบการ สร้างแรง บันดาลใจ เกิดเป้าหมายในการ เรียนรู้เพื่อก้าวสู่การเป็น ผู้ประกอบการ 1. นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ สนใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า จำนวน 120 คน 2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมี ความรู้ความเข้าใจในการเป็นผู้ ประกอบการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. นักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวด อย่างน้อย 15 แผนธุรกิจ 4. นักศึกษาผ่านการคัดเลือกจาก การประกวด จำนวน 8 กลุ่ม 5. นักศึกษาสามารถส่งผลิตภัณฑ์ ต้นแบบเข้าร่วมประกวดในโครงการ อย่างน้อย 8 กลุ่มผลิตภัณฑ์ 6. นักศึกษาสามารถเป็นผู้ประกอบ การได้อย่างน้อย 1 ราย เป้าหมายที่ 4
11 กิจกรรมที่ 3 การแสดงผลงานของนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์สู่ สาธารณชน (68,000 บาท) 3.1 การแสดงผลงานด้านดนตรีไทย 3.2 การแสดงผลงานนาฏยรังสรรค์สู่ชุมชน 3.3 การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้วยการแสดงดนตรีสู่สาธารณชน 2566 1. เพื่อพัฒนาและฝึกทักษะให้กับนักศึกษาในการจัดการแสดงดนตรีและนาฏศิลป์ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำเสนอและเผยแพร่ผลงานด้านดนตรีและนาฏศิลป์สู่สาธารณชน 3. เพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะของนักศึกษา 1. นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ชั้นปีที่ 1-4 สาขาวิชาดนตรีไทย สาขาวิชานาฏศิลป์และการแสดง และสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก 2.ได้เผยแพร่ผลงานออกสู่สาธารณชนอย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง เป้าหมายที่ 4
12 กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานในสถาน ประกอบการด้านการออกแบบ (20,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงด้านการออกแบบจากผู้ประกอบการ 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน 1. นักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบชั้นปีที่ 1 จำนวน 40 คน 2. นักศึกษาได้มีทักษะและประสบการณ์จาการศึกษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป้าหมายที่ 4
13 กิจกรรมที่ 3 สร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างชาติ (113,600 บาท) 2566 1. ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิต ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา 2. ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษา ในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น 3. เพื่อเสริมสร้างทักษะภาษา ต่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพ ทางภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษา 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. มี MOU กับหน่วยงานต่างชาติอย่างน้อย 1 MOU เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
14 กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) 2566 1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
15 กิจกรรมที่ 1 อบรมเตรียม ความพร้อมก่อนออกฝึก ประสบการณ์วิชาชีพฯ (35,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญ ของการฝึกงาน 2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการ ฝึกงาน รวมถึงแนวทางที่จะ เรียนรู้ชีวิตการปฏิบัติงานจริง และเข้าใจถึงสถานการณ์ ที่จะได้รับในระยะเวลา ของการฝึกงาน/สหกิจ 1. อาจารย์และนักศึกษา ชั้นปีที่ 4 จำนวน 240 คน เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย ร้อยละ 80 2. ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตาม มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ คุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 3. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการ ขั้นตอน การ ประเมินผล และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกฝึกประสบ- การณ์วิชาชีพ/สหกิจ อย่างน้อย ร้อยละ 80 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 - 2.2 (ตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตร) เป้าหมายที่ 4
16 กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (2,990,200 บาท) 2566 เพื่อพัฒนาบุคลากรของ มหาวิทยาลัยให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของ ตนเองและพัฒนาให้เกิดความรัก ความสามัคคี มีเป้าหมายร่วมกัน รู้จักพฤติกรรมของตนเองมีทัศนคติ ที่ดีต่องาน ผู้บริหาร หัวหน้างาน และผู้ร่วมงานมีการสื่อสารที่ดี เข้าใจถึงวัฒนธรรมขององค์กร พัฒนาอารมณ์ EQ ยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่นรู้จักการ ทำงานเป็นทีม - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 285 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,765,400 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,765,400 / 285 = 6,194.38 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
17 กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติ การจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการ สำนักส่งเสริม วิชาการและงานทะเบียน (5,900 บาท) 2566 เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์และ แผนปฏิบัติราชการ ของสำนัก- ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 1. บุคลากรสำนักส่งเสริมวิชาการ และงานทะเบียน จำนวน 21 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. มีแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติ ราชการ สำนักส่งเสริมวิชาการและ งานทะเบียน อย่างน้อย 1 แผน เป้าหมายที่ 4
18 กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติ การเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา (SKRU OPEN HOUSE) (280,000 บาท) 2566 1. เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว ได้รับทราบข้อมูลเพื่อนำไปแนะนำให้กับนักเรียนทราบต่อไป 2. เพื่อให้นักเรียน ครู/อาจารย์แนะแนว จากโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดภาคใต้ ได้มีโอกาสพบปะพูดคุยและเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 3. เพื่อให้คณะทั้ง 8 คณะ สามารถเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ ได้กว้างขวางรวดเร็วและบรรลุตามกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น 4. เพื่อประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 5. เพื่อสร้างเครือข่ายครู/อาจารย์แนะแนว ในเขตพื้นที่โรงเรียนจังหวัดภาคใต้ ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ - เชิงปริมาณ : - นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว จำนวน 1,280 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : - นักเรียน นักศึกษา สมัครสอบและเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นไปตามจำนวนแผนรับและคุณสมบัติการรับสมัครนักศึกษาของหลักสูตรและมหาวิทยาลัยกำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ - นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว จากโรงเรียนมัธยมศึกษา หรือวิทยาลัยอาชีวศึกษา ได้รับทราบข้อมูลการประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 280,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 280,000/1,280 = 218.75 บาท/คน เป้าหมาย 1. เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) 1.1 นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว รับทราบการประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการรับสมัครนักศึกษาในปีการศึกษา 2566 1.2 ครูแนะแนวสามารถนำรายละเอียด เอกสารประชาสัมพันธ์หลักสูตร ขั้นตอนวิธีการรับสมัคร แจ้งแก่นักเรียนที่ไม่ได้มาร่วมในโรงเรียนให้รับทราบได้ 2. เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 2.1 นักเรียนสมัครเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาตามแผนรับ 2.2 สร้างเครือข่ายครู/อาจารย์แนะแนว ในเขตพื้นที่โรงเรียนจังหวัดภาคใต้ 2.3 นักเรียน นักศึกษา และครู/อาจารย์แนะแนว ในเขตพื้นที่โรงเรียนจังหวัดภาคใต้ รับทราบผลงาน ชื่อเสียงและให้ความสนใจติดตามข่าวสารการรับสมัครของมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้นในปีถัดไป เป้าหมายที่ 4
19 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ การประยุกต์ใช้ชุด Software สำหรับงานสำนักงาน (4,200 บาท) 2566 เพื่อพัฒนาทักษะ การประยุกต์ใช้ ชุด Software สำหรับงานสำนัก งานให้แก่บุคลากรสายสนับสนุน 1. บุคลากรสายสนับสนุน (หัวหน้าสำนักงาน นักวิชาการคอม เจ้าหน้าที่ธุรการ) จำนวน 30 คน 2. ผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะ การประยุกต์ใช้ชุด Software ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
20 กิจกรรมที่ 1 บรรยายเรื่อง แนะแนวศึกษาต่อในระดับ อุดมศึกษาสำหรับนักเรียนที่มี ความต้องการพิเศษ (25,200 บาท) 2566 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา 2. เพื่อเตรียมความพร้อมใน การสอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดม ศึกษา 3. เพื่อสร้างเครือข่ายการทำงาน ด้านการศึกษาพิเศษ 1. บุคลากรทางการศึกษาและ ผู้ปกครอง 60 คน นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 60 คน รวม 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
21 กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง พระราชบัญญัติส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับ คนพิการ (5,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต สำหรับคนพิการ 2. เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถ นำความรู้เกี่ยวกับกฎหมายของ คนพิการนำไปปรับใช้ในชีวิต ประจำวันได้ 1. นักศึกษาพิการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม้อยกว่า ร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
22 กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเสริมสร้างทักษะในการ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและ รายงานการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (36,900 บาท) 2566 1. บุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน ตามแผนการบริหารความเสี่ยง โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม ร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม ภายในหน่วยงานละ 1 แผน รวม 15 แผน 1. บุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน ตามแผนการบริหารความเสี่ยง โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม ร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม ภายในหน่วยงานละ 1 แผน รวม 15 แผน เป้าหมายที่ 16
23 กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ -เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล -เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน -เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด -เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท -ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
24 กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงาน การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการกลาง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สู่มาตรฐาน ISO (3,400 บาท) 2566 เพื่อเตรียมความพร้อมการ จัดตั้งห้องปฏิบัติการกลาง ที่ได้รับมาตรฐาน ISO 1. คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมโครงการ จำนวน 6 คน 2. คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ มาตรฐาน ISO ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
25 กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาศักยภาพสู่เส้นทางอาชีพ (14,900 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้เข้าถึงช่องทางการสมัครงาน 2. เพื่อให้นักศึกษาทราบและ เข้าใจทิศทางตลาดแรงงาน และการศึกษาต่อในอนาคต 3. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลัก การเขียน Resume เพื่อการ สมัครงานและสามารถนำไปใช้ได้ 1. นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่คาดว่าจะ สำเร็จการศึกษา ศิษย์เก่า และ ผู้สนใจทั่วไป จำนวน 1,000 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจทิศทาง ตลาดแรงงาน และการศึกษาต่อ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51 3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ เขียน Resume เพื่อการสมัครงาน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
26 กิจกรรมที่ 5 ทบทวนและจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงาน อธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และแผนกลยุทธ์ทางการเงินประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 (4,200 บาท) 2566 1. เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ สำนักงานอธิการบดีให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อให้หน่วยงานภายใน สำนักงานอธิการบดีนำแผน ยุทธศาสตร์ไปเป็นกรอบในการ ดำเนินงานและทำให้บรรลุวิสัยทัศน์ ของสำนักงานอธิการบดีที่กำหนดไว้ 1. มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ 2. มีแผนยุทธศาสตร์กลยุทธ์ทาง การเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 จำนวน 1 ฉบับ 3. บุคลากรสำนักงานอธิการบดี จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความ พึงพอใจในการร่วมทบทวนและ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
27 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างทักษะการทำงานและ การเป็นผู้ประกอบการ (ปัจฉิมนิเทศ) (50,000 บาท) 2566 เพื่อเสริมทักษะและจุดประกายให้นักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการทำงานอย่างมืออาชีพ และเข้าสู่การเป็นผู้ประกอบการ เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 630 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการทำงานและการเป็นผู้ประกอบการอยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 49,950 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 49,950/630 = 79.29 บาท เป้าหมายที่ 4
28 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาทักษะของนักวิทยาการ คอมพิวเตอร์ในศตวรรษที่ 21 (36,800 บาท) 2566 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะ ของนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่นักศึกษา ให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด แรงงานและสถานประกอบการ 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการถ่าย ทอดความรู้และประสบการณ์ทั้ง ด้านวิชาการและประสบการณ์ การทำงานจริงจากบุคลากรใน สายงานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ นอกเหนือจากการเรียนการสอนใน ชั้นเรียน 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ 27 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการและทำกิจกรรมตามเป้าหมายได้เสร็จสิ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. สามารถดำเนินงานได้ในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
29 กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานเปิด โลกทัศน์วิทยาการคอมพิวเตอร์ (131,100 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้เปิดโลกทัศน์ ในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์กับ หน่วยงานจริงที่ดำเนินงานเฉพาะ ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อให้นักศึกษาเห็นแนวโน้มของ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีจาก หน่วยงานจริง 3. เพื่อเป็นแนวทางให้นักศึกษาใช้ ในการจัดทำโครงงานทางวิทยาการ คอมพิวเตอร์ 4. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเองนอกห้องเรียน และนำ ความรู้ที่ได้จากห้องเรียนมาประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์และพัฒนา ตนเองให้เข้าสู่ตลาดแรงงานต่อไป 1. นักศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 2-3 จำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. นักศึกษามีความพึงพอใจจากการ ได้รับความรู้ด้านการเปิดโลกทัศน์ แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีจากหน่วยงานจริง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3. คะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2 คะแนน เป้าหมายที่ 4
30 กิจกรรมที่ 2 อบรม เรื่อง การประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (20,500 บาท) 2566 เพื่อให้คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินงาน และ คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตลอดจนได้รับทราบแนวทางการ ประเมินการรวบรวมข้อมูลและ เตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการ ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้อย่างถูกต้อง 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอ ใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00 2. บุคลากรสายวิชาการและ สายสนับสนุน จำนวน 130 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. ผลการตรวจประเมิน ITA ได้รับคะแนนรวมจากการประเมิน ร้อยละ 85 เป้าหมายที่ 16
31 กิจกรรมที่ 13 สัมมนาหลังปฏิบัติ การสอนในสถานศึกษา 1 (หลักสูตร 4 ปี) (24,100 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับรู้เรื่องภารกิจและความมุ่งหมายปฏิบัติการในสถานศึกษา 1 : รอบรู้งานครู 2.2 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน 2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดี 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาปฏิบัติการสอน จำนวน 327 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 280 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาปฏิบัติการสอนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 24,050 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 24,050/327 = 73.55 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
32 กิจกรรมที่ 15 แข่งขันกีฬา “กล้วยไม้เกมส์” (235,800 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.2 เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างนิสิต นักศึกษา คณาจารย์ และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ 2.3 เพื่อเป็นการฝึกให้นักกีฬาและนักศึกษามีการแสดงออกถึงความเป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา เข้าใจเกี่ยวกับกฎกติกาการแข่งขัน 2.4 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ กีฬา และนันทนาการแก่นักศึกษา 2.5 เพื่อให้นักศึกษามีจิตอาสา/มีจิตสาธารณะ/การบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม 2.6 เพื่อให้นักศึกษาครูทำกิจกรรมเสริมความเป็นครูตามที่คุรุสภากำหนด 5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ: 5.2.1 นักศึกษาได้รับการพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.2.2 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาที่จัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.2.3 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 235,800 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 235,800/150 = 1,572 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
33 กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างอัตลักษณ์พัฒนา ทักษะการคิดและเพิ่มศักยภาพ นักศึกษาครูด้านเทคโนโลยีใน ศตวรรษที่ 21 (30,800 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้นักศึกษามีจิตอาสา เสียสละ และบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม 3 เพื่อส่งเสริมทักษะทางปัญญาในการเตรียมความพร้อมด้านภาวะผู้นำทั้งในด้านความรู้ ทัศนคติ และทักษะการทำงาน 4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 5 เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน 1 เชิงปริมาณ: ตัวแทนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 30,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 30,800 /150 = 205.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
34 กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น (81,000 บาท) 2566 การลูกเสือเป็นกิจกรรมสร้างเสริมเยาวชนทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ ศีลธรรม และสังคม ให้มีความพร้อมในการดูแลตนเองและช่วยเหลือสังคม โดยมีกระบวนการของลูกเสืออย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาโดยคณะครุศาสตร์มีความตระหนักถึงภารกิจของครู ซึ่งเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณความคิดของเยาวชน จึงจัดทำโครงการพัฒนานักศึกษาในสาขาการศึกษา โดยมีการบรรจุการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้นให้นักศึกษาได้เรียนและเข้ารับการฝึกอบรมให้สามารถทำหน้าที่ผู้กำกับลูกเสือได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นสาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จึงได้กำหนดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้น เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะต่าง ๆ ของกิจการลูกเสือที่ถูกต้องต่อไป - เชิงปริมาณ: มีนักศึกษาจำนวน 480 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ: นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาองค์ความรู้จากการอบรม โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป : นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป : นักศึกษาคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป - เชิงเวลาสามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 81,000บาท -ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
35 กิจกรรมที่ 22 ส่งเสริมทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สรรค์สร้างครู 2566 2.1 เพี่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 2.2 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ ที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 22,950 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 22,950 /34 = 675 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
36 กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาเด็กปฐมวัยด้วย 6 กิจกรรมหลัก บูรณาการผ่าน ทักษะสมอง EF (39,800 บาท) 2566 1. เสริมสร้างสมรรถนะครูปฐมวัยเพื่อนำไปประกอบวิชาชีพในอนาคต 2. นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับทักษะเสริมสมรรถนะเพื่อนำไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคต 3. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำ 6 กิจกรรมหลักบูรณาการผ่านทักษะสมอง EF สู่ห้องเรียนระดับปฐมวัย 4. นักศึกษาสามารถนำกิจกรรม 6 กิจกรรมหลักบูรณาการผ่านทักษะสมอง EF ไปปฏิบัติจริงได้ -เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 2-4 จำนวน 91 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 87 คน -เชิงคุณภาพ นักศึกษาเข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อกิจกรรมและมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป -เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด -เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,750 บาท -ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 39,750/91 = 436.81บาท / คน เป้าหมายที่ 4
37 กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยใน กิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือ คืนชีพ CPR (25,100 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 2. เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ และทักษะไประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา จำนวน ๖๕ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 3) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,100 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,100 /65 = 386.15 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
38 กิจกรรมที่ 25 ศึกษาดูงาน เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้านการศึกษาพิเศษ สำหรับครูการศึกษา พิเศษ-ภาษาไทย (27,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีการสอนและเทคนิคการสอนบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติการเรียนการสอนสำหรับบุคคลที่มีความต้องการพิเศษได้ 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาการศึกษาพิเศษ - ภาษาไทย จำนวน 26 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 21 คน 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2.2 นักศึกษาปฏิบัติการสอนคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,500บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33500/ 26 = 1288.46 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
39 กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดค่ายและการออกแบบ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ (16,900 บาท) 2566 2.1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์สู่การจัดค่ายหรือกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระยะสั้นให้กับนักเรียนจริง 2.2 เพื่อฝึกฝนและนำผลจากการเรียนรู้ไปประยุกต์สู่การออกแบบวางแผนและปฏิบัติการทางวิชาชีพ 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ จำนวน 30 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 24 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะการสื่อสาร และการวิเคราะห์เพื่อสร้าง ความเข้าใจให้กับผู้เรียน ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการสื่อสารในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการคิด และทักษะเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 เป้าหมายที่ 4
40 กิจกรรมที่ 28 เสริมสร้างสมรรถนะ ครูภาษาอังกฤษในยุค 4.0 2566 1. เสริมสร้างสมรรถนะของนักศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาและความต้องการ ของสังคม 2. นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับทักษะเสริมสมรรถนะการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อนำ ไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคต 3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการบูรณาการใช้สื่อการสอนกับการเรียนการสอนได้ 4. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกประยุกต์ใช้ทักษะการเรียนในยุค 4.0 การออกแบบ และจัดการเรียนรู้ภาษาสู่ชุมชนได้ 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยี บูรณาการกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้ กิจกรรม 28.1 สัมมนาแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการและอบรมเชิงปฏิบัติการ ""การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 48 คน เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 49,200 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 49,200/60 = 820 บาท/คน กิจกรรม 28.2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดค่ายสร้างสรรค์สื่อภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาในชุมชน นักศึกษาปี 1-2 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 48 คน เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 26,300 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,300/60 = 438.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
41 กิจกรรมที่ 29 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ ทางด้านสังคมศึกษานอกห้องเรียน (81,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมกับหน่วยงานภายนอก 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์โดยตรงจากนอกห้องเรียน 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 23 คน 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 90600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 90600/30 = 3020 บาท เป้าหมายที่ 4
42 กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติ การ เรื่อง การใช้โปรแกรม CANVA และการเขียน Coding โดยใช้ภาษา Pythom บูรณาการ กับการจัดการเรียนการสอน ในสถานศึกษา (19,700 บาท) 2566 ๒.๑ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ๒.๒ เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามมาตรฐานสากล ๒.๓ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และวิชาคณิตศาสตร์ที่เป็นภาษาอังกฤษได้ ๒.๔ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการเรียนรู้และทักษะอาชีพ เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ในอนาคต ๒.๕ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการสื่อสารสารสนเทศรู้เท่าทันสื่อบูรณาการ STEM 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน ๖๒ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ ที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๑๙,7๐๐ บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ๑๙,7๐๐ /๖๒ = ๓๑๗.๗๔ บาท/คน เป้าหมายที่ 4
43 กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบูรณาการการวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีกับการ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ใน สถานศึกษา (62,200 บาท) 2566 ๒.๑ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามสมรรถนะรายชั้นปี ๒.๒ เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามบริบทสถานศึกษา ๒.๓ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และทักษะอาชีพเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ในอนาคต 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 54 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ ที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 62,200 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 62,200/54 = 1,151.85 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
44 กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างนวัตกรรมทาง จิตวิทยาการปรึกษาและการ แนะแนวในศตวรรษที่ 21 สู่ชุมชน (33,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีความรู้ความเข้าใจในการสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยา 2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีทักษะในการสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวในศตวรรษที่ 21 อย่างถูกต้องเหมาะสม 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถให้บริการวิชาการโดยการถ่ายทอดนวัตกรรมทางจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวสู่ชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงปริมาณ - นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว จำนวน 60 คน เข้าร่วม โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด โครงการโดยมีคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงเวลา - สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงต้นทุน - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33,000/60 = 550 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
45 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการ ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาคณะครุศาสตร์ (57,800 บาท) 2.3 สัมมนาการจัดการด้านความรู้ด้านการวิจัย (ฝ่ายวิจัย) หัวข้อ 2566 2.1 เพื่อให้บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสบการณ์เกี่ยวกับองค์ความรู้จากการจัดการความรู้ด้านวิจัย 2.2 เพื่อให้บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการได้มีทักษะการนำฐานความรู้จากการจัดการความรู้ด้านวิจัย สู่แนวปฏิบัติและสามารถนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานของตนเอง 2.3 เพื่อให้คณะครุศาสตร์มีระบบจัดการความรู้ด้านวิจัยที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ 5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ เกิดแนวปฏิบัติและสามารถนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานด้านวิจัยของตนเองที่มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 14,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 14,000/60 = 233.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
46 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนการสอน หลักสูตรอิงสมรรถนะ (66,600 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจด้านวิชาการและเทคนิคการสอนแบบสมรรถนะ 2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนให้อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา 2.3 เพื่อเพิ่มทักษะ ระดมความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอบโจทย์หลักสูตรอิงสมรรถนะ 5.1 เชิงปริมาณ อาจารย์ผู้สอน จำนวน 65 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 80% 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดทำ มคอ.2 สู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ระดับหลักสูตร สู่การปฏิบัติจริง ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,900 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,900/65 = 321.5 บาท เป้าหมายที่ 4
47 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน (40,000 บาท) 2566 เพื่อให้อาจารย์คณะครุศาสตร์มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน 1. เชิงปริมาณ อาจารย์ประจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต 9 หลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนคณะครุศาสตร์ จำนวน 53 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 42 คน 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ กับการทำงาน โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน เป้าหมายที่ 4
48 กิจกรรมที่ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการ ดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์ (24,700 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ 2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566) และในรอบระยะเวลาสิ้นปีแผนฯ (เมษายน - สิงหาคม 2566) 1 เชิงปริมาณ 1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 64 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน 2 เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/64 = 232.81 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 11
เป้าหมายที่ 17
49 กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ ศิลปะการจับจีบผ้า และการจัด ดอกไม้ในงานพิธีประเพณีนิยม ต่างๆ (108,800 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในศิลปะการจับจีบผ้าและจัดดอกไม้ในการจัดงานพิธีต่าง ๆ 2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม 3 เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะทางปัญญาในกระบวนการผูกผ้างานพิธีต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต 4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 3-4 จำนวน 330 คน ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.3 นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 108,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 108,800/330 = 329.70 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
50 กิจกรรมที่ 2 น้อมรำลึก พระคุณครูครุศาสตร์ (วันครู) (58,100 บาท) 2566 1 เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติคุณครูและระลึกถึงพระคุณครู 2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม และตระหนักในความสำคัญของวิชาชีพครู 3 เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและประพฤติปฏิบัติตนให้สมกับที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นปูชนียบุคคล 4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF 5 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะทางปัญญาและทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 คณาจารย์ และบุคลากร คณะครุศาสตร์ อาจารย์อาวุโสนอกประจำการ และอาจารย์คณะอื่น ๆ จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 280 คน 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพครูและปฏิบัติตนได้เหมาะสม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 58,100 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 58,100 /360 = 161.39 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
51 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (19,200 บาท) 2566 1 เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ถึงการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านแบบวิถีไทยของนักศึกษา 2 เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ตรงในการนำการละเล่นพื้นบ้านบูรณาการกับการเรียนการสอนถ่ายทอดลงสู่ชุมชน 3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ กีฬา และนันทนาการ นักศึกษามีคุณสมบัติตรงตามลักษณะความเป็นครู 4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตอาสาและการมีจิตสาธารณะ การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม 5 เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบให้แก่นักศึกษา 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 24 คน 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 19,200 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 19,200 /30 = 640 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
52 กิจกรรมที่ 4 เสริมสร้างอัตลักษณ์ ความเป็นครูด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี (50,000 บาท) 4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธ และอิสลาม 4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีวันสงกรานต์ของไทย 2566 4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธ และอิสลาม 1 เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีไทยในโอกาสต่าง ๆ 2 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความสำคัญ ความเป็นมาของประเพณีรวมถึงเรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ที่สำคัญของคนไทย 3 เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีและมีความสนิทสนทกลมเกลียวกันมากขึ้น อันก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 25,000 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 25,000/200 = 125บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
53 กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมสู่วัยทำงาน (96,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่จำเป็นในการทำงาน 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และสามารถเขียนเรซูเม่ได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อยกย่องนักศึกษาที่มีคุณสมบัติเด่นตามอัตลักษณ์ของคณะเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษารุ่นน้อง - เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 450 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1. นักศึกษาได้รับความรู้และทราบถึงคุณสมบัติที่จำเป็นและสามารถเขียนเรซูเม่ได้อย่างถูกต้องในการใช้สมัครงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 96,600 บาท เป้าหมายที่ 4
54 กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานสร้าง เครือข่ายพัฒนาผู้นำนักศึกษา (นอกสถานที่) (123,100 บาท) 2566 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้งานด้านกิจกรรมนักศึกษา และมีเครือข่ายในการประสานงานด้านกิจกรรมนักศึกษา กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เชิงปริมาณ - กรรมการสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรม เพื่อมาวางแผนจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่แตกต่างจากเดิมมากขึ้น โดยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
55 กิจกรรมที่ 5 อบรมฝึกปฏิบัติการ เสริมทักษะอาชีพ (21,000 บาท) - การจัดดอกไม้/การจับจีบผ้า - เทคนิคการขายของออนไลน์ - การทำบัญชีและวางแผนการเงิน - บุคลิกภาพ (การแต่งหน้า/การแต่งกาย) - เทคนิคการทำงานเป็นทีม 2566 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะอาชีพเพิ่มขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมนำไปใช้ในการเรียนและชีวิตประจำวัน 5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการในแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 8๐ 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.๒.๑ นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีการประเมินความสามารถของตน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความสามารถของตน ก่อน-หลัง 5.๒.๒ นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความพึงพอใจ 5.2.3 นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีทักษะอาชีพเพิ่มขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือไปต่อยอดในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 21,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : 21,000 = 105 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
56 กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้ภาษาอังกฤษทางด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อการสื่อสาร (80,700 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 เพื่อส่งเสริมและปรับทัศนคติของนักศึกษาให้มีความพร้อมและสนใจที่จะเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 3 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อความก้าวหน้าของตนเอง 4 เพื่อให้นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดการพัฒนาทางภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่อง 1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ: ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 691 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย โดยการ ประเมินผลจากรายชื่อผู้เข้าใช้ระบบ 2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ: นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน - นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน - นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน เป้าหมายที่ 4
57 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะทางเทคโนโลยี ดิจิทัล (19,200 บาท) 7.1 การทำธุรกิจออนไลน์ ระหว่างเรียน 7.2 การสร้างสื่อเขียน Content เพื่อการประชาสัมพันธ์ 7.3 การสร้างการ์ตูนแอนนิเมชั่น 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัลและเสริมทักษะการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการทำงานในอนาคต 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.1.2 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหา กิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน 5.2.3 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่ กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,600 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,600 = 73 บาท/คน 200 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
58 กิจกรรมที่ 8 ศึกษาดูงานด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ภาคปกติ) (324,700 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจได้เปิดมุมและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้องเรียน 2.2 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พบงานที่ตนเองต้องการทำเมื่อจบการศึกษา 2.3 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ตลาดแรงงาน และเตรียมคุณสมบัติเพื่อให้สอดคล้องกับงาน 5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.1 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านต่าง ๆ ตามศาสตร์ของแต่ละหลักสูตรได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเตรียมความพร้อมก่อนออกสู่ตลาดแรงงานได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 600,905 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 600,905 บาท = 2,503.77 บาท/คน 240 เป้าหมายที่ 4
59 กิจกรรมที่ 9 9.2 สัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ชั้นปีที่ 4) สามารถสรุปผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนและประสบการณ์การฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ชั้นปีที่ 3) สามารถเกิดความเข้าใจถึงผลและประสบการณ์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์จากรุ่นพี่ก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในอนาคต เชิงปริมาณ : เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในบทเรียนและประสบการณ์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 2. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะนำแนวทางที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
60 กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพนักกิจกรรมสัมพันธ์ ในงานสวัสดิการสังคม (40,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและฝึกทักษะการเป็นนักกิจกรรมสัมพันธ์ในงานสวัสดิการสังคม 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้มีความพร้อมในการเป็นนักกิจกรรมสัมพันธ์สำหรับการปฏิบัติ งานสวัสดิการสังคมร่วมกับชุมชน 5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะนักกิจกรรม สัมพันธ์จากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 40,300 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 40,300 = 442.86 บาท/คน 91 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
61 กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาทักษะการเป็น นักสวัสดิการสังคม (30,300 บาท) 2566 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรสวัสดิการสังคมได้ฝึกปฏิบัติการการเป็นนักสวัสดิการสังคมจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานจริง จนเกิดทักษะการเป็นนักสวัสดิการสังคมได้ต่อไป 5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาเข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือ หัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการเรียน และประกอบอาชีพได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 30,300 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 30,300 = 329.35 บาท/คน 92 เป้าหมายที่ 4
62 กิจกรรมที่ 12 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างคุณลักษณะนักศึกษา จิตภัฏพัฒนาชุมชน (222,600 บาท) 2566 2.1 เพื่อปลูกฝังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับการปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนโดยใช้จิตอาสาเป็นฐาน 2.2 เพื่อสร้างลักษณะเด่นเฉพาะหลักสูตรผ่านคำว่า “นักศึกษาจิตภัฏ” 2.3 เพื่อสร้างกลไกในการสำนึกในปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรในฐานะบรมครูพัฒนาชุมชน 5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจิตอาสาจากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 222,600 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 222,600 = 636 บาท/คน 350 เป้าหมายที่ 4
63 กิจกรรมที่ 13 เข้าร่วมประชุม วิชาการเครือข่ายการพัฒนาชุมชน ระดับชาติ (101,000 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการเครือข่ายการพัฒนาชุมชนจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 2.2 เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการในเวทีระดับชาติ 2.3 เพื่อปลูกฝังและพัฒนานักศึกษาให้มีความรัก มีจิตสำนึกและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมของชาติ 5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะนักบริหารและจัดการเครือข่ายจากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 101,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 101,000 = 2,244.44 บาท/คน 45 เป้าหมายที่ 4
64 กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเตรียมความพร้อมผู้เรียนสู่ การเป็นพลเมืองโลก (13,500 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลก 2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ด้านการเรียนรู้การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 2.3 เพื่อให้นักศึกษาต่อยอดความรู้ในการเรียนต่อเพิ่มเติมที่ไม่มีในรายวิชาที่สอนในหลักสูตร 5.๑ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 101 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษมีแผนการเตรียมพร้อมในการเข้าสู่อาชีพเมื่อจบการศึกษา คนละ 1 แผน 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 13,500บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 13,500บาท = 133.66 บาท/คน 101 เป้าหมายที่ 4
65 กิจกรรมที่ 15 จัดงาน International Day เรียนรู้วัฒนธรรม (27,100 บาท) 15.1 ประกวด Singing Contest 15.2 แข่งขันแสดงละครสั้น ภาษาอังกฤษ 15.3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัฒนธรรมนานาชาติ 15.4 สัมมนาหัวข้อพิเศษทาง ภาษาอังกฤษ 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางภาษาอังกฤษ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีแรงจูงใจในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมนานาชาติ 4. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาใช้ทักษะภาษาอังกฤษผ่านบริบทการเรียนรู้วัฒนธรรมนานาชาติ 5. เพื่อฝึกทักษะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 190 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 5.1.2 : มีผู้เข้าร่วมแข่งขันประกวด Singing Contest ไม่น้อยกว่า 5 คน และ เข้าร่วมแข่งขันแสดงละครสั้น ไม่น้อยกว่า 4 ทีม 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 : นักศึกษาสร้างชิ้นงานสะท้อนการเรียนรู้วัฒนธรรมนานาชาติส่งอาจารย์ ที่ปรึกษาอย่างน้อยชั้นปีละ 1 ชิ้น 5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
66 กิจกรรมที่ 16 ฝึกปฏิบัติการแปลง ประวัติศาสตร์สู่โลกแห่งบอร์ดเกมส์: ปฐมบทนักสร้างสรรค์บอร์ดเกมส์ เพื่อการเรียนรู้เมืองเก่าสงขลา บ่อยาง นอกสถานที่ (7,300 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับการผลิตบอร์ดเกมส์ได้ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ จำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ มีความรู้ สามารถผลิตบอร์ดเกมส์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 5,718 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 5,718 บาท = 635.33 บาท/คน ๙ เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
67 กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาต้นทุนจากประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นสำนึกรักบ้านเกิด และทุน ทางวัฒนธรรมนำไปสู่การสร้างสรรค์ ผลงานสื่อสารสังคม ด้วยสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมสมัย และสื่อสังคมออนไลน์ (4,100 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ด้านการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ได้ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ มีความรู้ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ด้านการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ได้จากการเข้าร่วมอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = ๗,๓๐๐ บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = ๗,๓๐๐ บาท = ๘๑๑.11 บาท/คน ๙ เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
68 อบรมเชิงปฏิบัติการสิงห์ สมิหลาบ่มเพาะต้นกล้าต้านทุจริต 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริตภายใต้สโลแกน STRONG 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเสนอแผนปฏิบัติการเพื่อต่อต้านการทุจริต ภายใต้สโลแกน STRONG 3 เพื่อให้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีในการส่งเสริมการต่อต้านการทุจริตทุกองค์กร 1 เชิงปริมาณ : 1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 258 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำแผนโครงการต่อต้านการทุจริต ภายใต้ สโลแกน STRONG ให้กับชุมชน จำนวนไม่น้อยกว่า 10 โครงการ 2 เชิงคุณภาพ : 2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องของการประพฤติมิชอบและการต่อต้านการทุจริต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผลประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม 2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม 3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
69 กิจกรรมที่ 19 สิงห์สมิหลาอบรม เชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการเขียน และการนำเสนอผลงานทาง รัฐประศาสนศาตร์ (42,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีเพิ่มทักษะและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการ 5.๑ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ จำนวน 139 คน และมีผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 21 ผลงาน 5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนผลงานวิชาการ สามารถปฏิบัติการเขียนและการนำเสนอผลงานได้เป็นอย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 42,225 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 42,225 บาท = 303.78 บาท/คน 139 เป้าหมายที่ 4
70 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (นอกสถานที่) (18,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะที่จำเป็นในการทำงานด้านอุตสาหกรรมบริการ 2. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์การให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน 3. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสลงมือปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
71 กิจกรรมที่ 24 แข่งขันทักษะภาษาจีน และจัดนิทรรศการเนื่องในวันตรุษจีน (15,600 บาท) 24.1 จัดนิทรรศการวันตรุษจีนและ นิทรรศการประชาสัมพันธ์หลักสูตร 24.2 จัดการแข่งขันคัดลายมือ ภาษาจีน 24.3 จัดการแข่งขันร้องเพลงจีน 24.4 จัดซุ้มกิจกรรมแสดงผลงาน ของนักศึกษาในหลักสูตรและจัดฐาน ให้ความรู้แก่ผู้มาร่วมงาน 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย-จีน 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางภาษาจีนและวัฒนธรรมจีน 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาตนเองด้านภาษาจีน 4. เพื่อฝึกฝนให้นักศึกษารู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น 5. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในอนาคต 6.เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น 1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน รหัส 63 , 64 และ 65 จำนวน 63 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน สามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย-จีน ให้แก่ผู้มาร่วมงาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 15,600บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 15,600/ 63บาท = 247.61 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
72 กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การดูแลสุขภาวะกายและใจ ในวัยเรียน (1,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิต 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิต และการปฏิบัติงานในสถานศึกษาได้ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน รหัส 63 , 64 และ65 จำนวน 63 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ได้คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
73 กิจกรรมที่ 1 จัดงานปฐมนิเทศ นักศึกษา "ฉันคือมนุษย์มดใน ราชภัฏสงขลา ปีการศึกษา 2566" (75,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับหลักสูตร 2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนนักศึกษา คณาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 3. เพื่อเชิดชูเกียรตินักศึกษาที่มีคุณสมบัติดีเด่นในด้านต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่รุ่นน้อง เชิงปริมาณ - นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 730 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ - นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 730 คน มีแนวทางในการวางแผนการดำเนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน เชิงเวลา - สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
74 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ สำนักงานสีเขียวและป้องกันอัคคีภัย (20,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้คณาจารย์และบุคลากร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีทักษะในการป้องกันอัคคีภัยในสถานที่ทำงาน 2. เพื่อให้นักศึกษา คณาจารย์ร่วมกันรณรงค์การประหยัดพลังงานในองค์กร 3. เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ภายในสำนักงานและเพื่อมีทักษะในการรักษาความปลอดภัยในองค์กร 5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 นักศึกษา อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 285 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน สีเขียวและป้องกันอัคคีภัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
75 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษา (8,400 บาท) 2566 1. เพื่อให้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษา 2. เพื่อให้อาจารย์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางที่ดีในการปฏิบัติงานเพื่อความเป็นเลิศ "เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) 1. อาจารย์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 1. อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน 2. มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 4. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 3 ด้าน อย่างน้อย 1 ระบบ 5. อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน 6. สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
76 กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ (12,600 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบายและประเมินทักษะ ความพร้อมของตนเองก่อนฝึกงาน 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ในการ ฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ 2.3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5.๑ เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.๒ เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล ๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดแนวทางการนำทักษะไปใช้สำหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบอาขีพในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 8,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 8,100 = 122.72 บาท/คน 66 เป้าหมายที่ 4
77 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ ร่วมกันสรรค์สร้างนวัตกรรมชุมชน (44,000 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรการพัฒนาชุมชนเรียนรู้วิถีชุมชนในรูปแบบใหม่และค้นหาทุนชุมชน 2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรการพัฒนาชุมชน มีความรู้ความสามารถในการออกแบบสื่อเทคโนโลยีและ นำทุนชุมชนมาต่อยอด 3 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรการพัฒนาชุมชน มีความสามารถในการผลิตนวัตกรรมชุมชนสู่สาธารณะ 4 เพื่อบูรณาการในเชิงรูปธรรมความร่วมมือในการยกระดับกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชนท้องถิ่น 1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม/หัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม 3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 44,000 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 44,000 = 440 บาท/คน 100 เป้าหมายที่ 4
78 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ นักศึกษาจิตภัฏบูชาครู ภาค กศ.บป. (41,400 บาท) 2566 2.1 เพื่อปลูกฝังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับการปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนโดยใช้จิตอาสาเป็นฐาน 2.2 เพื่อสร้างลักษณะเด่นเฉพาะหลักสูตรผ่านคำว่า “นักศึกษาจิตภัฏ” 2.3 เพื่อสร้างกลไกในการสำนึกในปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรในฐานะบรมครูพัฒนาชุมชน 5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจิตอาสาจากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
79 กิจกรรมที่ 5 สิงห์สมิหลาอบรมเชิง ปฏิบัติการเพิ่มทักษะการเขียนและการ นำเสนอผลงานทางรัฐประศาสนศาสตร์ (31,900 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีเพิ่มทักษะและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการ 5.๑ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. จำนวน 57 คน และมีผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 12 ผลงาน 5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนผลงานวิชาการ สามารถปฏิบัติการเขียนและการนำเสนอผลงานได้เป็น อย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 31,900 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 31,900 บาท = 559.64 บาท/คน 57 เป้าหมายที่ 4
80 กิจกรรมที่ 6 สิงห์สมิหลาศึกษาดูงาน เรียนรู้ศาสตร์พระราชา ภาค กศ.บป. ณ พื้นที่ภาคเหนือ และ ภาคกลาง ของประเทศไทย (158,000 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. ได้เปิดมุมมองและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้องเรียนและเข้าใจการบริหารจัดการโครงการของรัฐ ภายใต้ศาสตร์พระราชา 2.เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทักษะในศาสตร์พระราชาผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ณ แหล่งเรียนรู้จริงที่หลากหลายแก่นักศึกษา ภาค กศ.บป. และอาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต 1. เชิงปริมาณ - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต จำนวน 21 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตได้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์พระราชา ผ่านโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 157,700 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 157,700 / 21 = 7,509.52 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
81 กิจกรรมที่ 6 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ปัจฉิมนิเทศนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ (86,000 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 3 ได้เข้าใจและเรียนรู้กระบวนการทำงานภายในองค์กรแต่ละองค์กรเบื้องต้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเลือกสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในอนาคต - เชิงปริมาณ : - นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 789 คน ได้นำเสนอผลงานที่แสดงถึงการพัฒนาความสามารถที่เกิดขึ้นในช่วงการ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพและถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับรุ่นน้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 789 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 3 ได้รับความรู้และทราบแนวทางการเลือกสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากรุ่นพี่ไม้น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 85,950 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาการตลาด : 4,275/36 = 118.75 บาท/คน หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ : 23,125/175 = 125 บาท/คน หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ : 10,000/80 = 125 บาท/คน หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ : 18,675/249 = 75 บาท/คน หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว : 29,875/239 = 125 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
82 กิจกรรมที่ 7 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ด้านการสื่อสารเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงปีที่ 11 (30,200 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะทางวิชาชีพให้กับนักศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ด้านวิชาชีพนิเทศศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ของท้องถิ่น 3. เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลและสามารถสื่อสาร นำเสนอได้อย่างสร้างสรรค์ เชิงปริมาณ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 220 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปี่ที่ 1 จัดทำผลงานด้านการถ่ายภาพได้อย่างน้อย 15 ชิ้นงาน 3. นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปี่ที่ 2 จัดทำผลงานด้านสกู๊ปข่าวได้อย่างน้อย 10 ชิ้นงาน 4. นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปี่ที่ 3 จัดทำผลงาน Motion Graphic wด้อย่างน้อย 7 ชิ้นงาน เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอยู่ใน ระดับ 3.51 ขึ้นไป - นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สามารถผลิตชิ้นงานที่มีคุณภาพและมีความสร้างสรรค์สะท้องถึงวิถีชุมชน ในมิติต่าง ๆ ตามแนวทางความพอเพียง โดยแต่ละชิ้นงานคะแนนอยู่ในระดับดี 3.51 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 30,000 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 30,000/220 = 136.36 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
83 กิจกรรมที่ 8 ประกวดทักษะทาง วิชาชีพนิเทศศาสตร์ ปีที่ 6 (51,600 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมสร้างและเพิ่มพูนทักษะทางวิชาชีพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้แก่นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต 2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และมีทักษะสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและสื่อสารมวลชนในยุคดิจิทัล 3. เพื่อเปิดพื้นที่ให้นักศึกษาแสดงศักยภาพและความสามารถในเชิงวิชาชีพ สร้างแรงบันดาลใจเกิดเป้าหมายในการเรียนรู้เพื่อก้าวสู่วงการวิชาชีพนิเทศศาสตร์ได้ เชิงปริมาณ : - มีผู้ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ - ผู้เข้าร่วมโครงการส่งผลงานด้านนิเทศศาสตร์ อย่างน้อย 5 ชิ้นงาน ได้แก่ ประกวดภาพถ่าย ประกวดสกู๊ปข่าว ประกวด Motion Graphic และประกวด Project เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป - ผลงานขอนักศึกษามีคุณภาพและสามารถสะท้อนถึงศักยภาพความสามารถและทักษะทางวิชาชีพนิเทศศาสตร์ของนักศึกษาได้เป็นอย่างดี โดยแต่ละชิ้นงานมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 51,600 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 51,600/250 = 206.40 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
84 กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ เพื่อสร้างนักเศรษฐศาสตร์คุณภาพ (38,100 บาท) 2566 1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์ 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษาให้สามารถนำเสนอธุรกิจเพื่อระดมเงินทุนจากแหล่งทุนต่าง ๆ 4.พื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนเริ่มทำธุรกิจจริง เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2-3 จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 38,100 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 21,100/23 = 1,134.78 บาท/คน กิจกรรมที่ 2 : 12,000/23 = 244.90 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
85 กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเรียนรู้แนวทางพัฒนา วิสาหกิจชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่ความยั่งยืน (48,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ นำแนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการเรียนรู้อาชีพจากทักษะของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดพัทลุง 3. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ของนักศึกษาจากแนวทางพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในเชิงบูรณาการของพื้นที่จังหวัดพัทลุง - เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในหัวข้ออบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 13,050/80 = 163.13 บาท/คน กิจกรรมที่ 2 : 20,550/20 = 1,027.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
86 กิจกรรมที่ 11 เปิดโลกทัศนศึกษา ดูงานสืบสานวัฒนธรรมชุมชน ท้องถิ่น (176,700 บาท) 2566 1. เพื่อเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้จริงในหลักการดำเนินงานของกิจการจริงเตรียมความพร้อมสู่ตลากแรงงาน 2. เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และความเข้าใจระบบงานของวิสาหกิจชุมชน เตรียมความพร้อมกลับไปสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนของตนเองในอนาคต 3. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพความเป็นผู้ประกอบการจากธุรกิจจริง 4. ถ่ายทอดความรู้บัญชีครัวเรือนแก่ชุมชน เชิงปริมาณ : นักศึกษาและอาจารย์ประจำหลักสูตรบัญชีบัณฑิต จำนวน 52 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้และประสบการณ์จริง จากเจ้าของสถานประกอบการและวิสาหกิจชุมชน มีความพร้อมที่จะเริ่ม ประกอบธุรกิจทางการบัญชีและพัฒนาต่อยอดธุรกิจในชุมชนท้องถิ่นของตนเองได้อย่างยั่งยืนอยู่ในระดับดี (3.51 ขึ้นไป) เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 176,700 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 176,700/52 = 3,398.07 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
87 กิจกรรมที่ 12 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การนักบัญชี 5 G Upskill and Reskill สู่ทักษะเชิง นวัตกรรม: นักคิดธุรกิจยุคใหม่ อนุรักษ์สินค้าพื้นบ้านไทย (OTOP) (58,300 บาท) 2566 1. เพื่อพัฒนานักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยบูรณาการด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการบริการ วิชาการ การเรียนการสอน โดยการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการดำเนินงานการ จัดตั้งธุรกิจจำลอง ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์ชุมชน 2. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาอาหารพื้นบ้านให้คงอยู่ 3. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้จากท้องถิ่นมาบูรณาการด้านวิชาการ - เชิงปริมาณ : กิจกรรมที่ 1 - นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิตสามารถเขียนแผนธุรกิจจำลองได้ไม่น้อยกว่า4 แผน กิจกรรมที่ 2 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 กิจกรรมที่ 3 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 กิจกรรมที่ 4 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 กิจกรรมที่ 5 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อที่อบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 58,300 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 14,850/90 = 165.00 บาท/คน กิจกรรมที่ 2 : 28,600/36 = 794.44 บาท/คน กิจกรรมที่ 3 : 15,750/90 = 503.64 บาท/คน กิจกรรมที่ 4 : ไม่ใช้งบประมาณ กิจกรรมที่ 5 : ไม่ใช้งบประมาณ เป้าหมายที่ 4
88 กิจกรรมที่ 13 เปิดโลก HR : เปิดมุมมอง ด้านทรัพยากร สู่อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และบริการ (79,300 บาท) 2566 1.เพื่อให้นักศึกษาได้ประสบการณ์การบริหารธุรกิจด้านต่าง ๆ จากสถานประกอบการและนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริง 2.เพื่อบูรณาการศาสนาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย กับการใช้ชีวิตประจำวันของนักศึกษา เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 136 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจด้านบริหารธุรกิจ และสามารถบูรณาการความรู้จากการศึกษาดูงานกับการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทยกับการใช้ชีวิต ประจำวันได้อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย 3.50 เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 471,510 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 471,510/136 = 3,466.98 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
89 กิจกรรมที่ 14 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การและประกวดทักษะเส้นทาง สู่โค้ชมืออาชีพ (HR Coaching by Pro. Coach) (80,500 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นที่ปรึกษาและการเป็นวิทยากร ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และได้มีโอกาส พัฒนาสมรรถนะ ทักษะในการเป็นที่ปรึกษาและวิทยากรด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์จากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมแข่งขันกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ และแสดงออกถึงสมรรถนะทักษะในการเป็นที่ปรึกษาและการเป็นวิทยากร เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ชั้นปีที่ 1 - 3 จำนวน 335 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการให้คำปรึกษา และการเป็นวิทยากร การออกแบบกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และการใช้สื่อเพื่อนำเสนอตามหัวข้อที่ได้จัดสัมมนาอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 - นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในวิชาชีพทางด้านการเป็นที่ปรึกษาวิทยากร จำนวน 1 ทีม เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 80,500 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 = 19,350/210 = 92.14 บาท/คน กิจกรรมที่ 2 = 61,150/194 = 315.21 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
90 กิจกรรมที่ 15 ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่ม ศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการ (108,000 บาท) 2566 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ประกอบอาชีพได้ในอนาคต 2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้วิธีการพัฒนาทักษะทางอาชีพจากสถานประกอบการจริง 2.3 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงการประกอบธุรกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม 2.4 เพื่อให้อาจารย์ในหลักสูตรฯ สาขาวิชาการจัดการ ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์จากสถานประกอบการเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนการสอนได้ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 108,000 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 108,000/60 = 1,800 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
91 กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (78,100 บาท) 2566 1.นักศึกษามีความเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการ 2.นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากผู้ประกอบการเพื่อสร้างแนวคิดในการเป็นผู้ประกอบการ/รุ่นพี่ 3.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ประกอบอาชีพในอนาคต - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ - เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน - เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 83,450 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 83,450 /560 = 149.01 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
92 กิจกรรมที่ 17 สัมมนาเชิงปฎิบัติ การยุวมัคคุเทศก์รุ่นใหม่ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (25,400 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสถานที่สำคัญย่านเมืองเก่าสงขลาและเกาะยอ 2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะในการบรรยายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกเป็นมัคคุเทศก์ 4. เพื่อให้นักศึกษามีเกียรติบัตรรับรองเพื่อนำไปใช้ประกอบอาชีพ เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ ปีที่ 2 จำนวน 56 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เขิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,400 บาท ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 25,400/56 = 453.57 บาท เป้าหมายที่ 4
93 กิจกรรมที่ 18 ศึกษาเรียนรู้ และเก็บเส้นทางท่องเที่ยว (79,200 บาท) 2566 1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับคุณอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) 2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีการฝึกปฏิบัติให้มีความรู้ในแอปพลิเคชันงานด้านการตลาด 3. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านทักษะชีวิตและอาชีพโดยการฝึกทักษะความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอินโฟกราฟิก (infographic) และ Google data studio 4. เพื่อพัฒนานักศึกษาในทักษะด้านภาษาและการสื่อสารสำหรับนักการตลาด เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 1 จำนวน 71 คน, นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 54 คน, นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 46 คน, นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 40 คน ได้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับ คุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) และสอดคล้องกับคุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค์อย่างน้อย 3 ด้าน - นักศึกษาสามารถจัดทำสื่อโดยการใช้แอปพลิเคชันทางการตลาดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 66,000 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 30,375/211 = 145.38 บาท/คน กิจกรรมที่ 2 : 16,200/54 = 300.00 บาท/คน กิจกรรมที่ 3 : 11,100/46 = 241.30 บาท/คน กิจกรรมที่ 4 : 8,025/54 = 148.61 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
94 กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (66,000 บาท) 2566 1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) 2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีการฝึกปฏิบัติให้มีความรู้ในแอปพลิเคชันงานด้านการตลาด 3. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านทักษะชีวิตและอาชีพโดยการฝึกทักษะความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอินโฟกราฟิก (Infographic) และ google data studio 4. เพื่อพัฒนานักศึกษาในทักษะด้านภาษาและการสื่อสารสำหรับนักการตลาด เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 1 จำนวน 71 คน นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 2 จำนวน 54 คน นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 3 จำนวน 46 คน นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 4 จำนวน 40 คน ได้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับ คุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน TQF และสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์อย่างน้อย 3 ด้าน - นักศึกษาสามารถจัดทำสื่อโดยการใช้แอฟพลิเคชันทางการตลาดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 66,000 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 30,675/211 = 145.38 บาท/คน กิจกรรมที่ 2 : 16,200/54 = 300 บาท/คน กิจกรรมที่ 3 : 11,100/46 = 241.30 บาท/คน กิจกรรมที่ 4 : 8,025/54 = 148.61 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
95 กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะ Soft Skills สำหรับนักการตลาด (26,900 บาท) 2566 1.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) 2.เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ Soft Skills ที่จำเป็นกับงานด้านการตลาด และสอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ - เชิงคุณภาพ : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และทักษะการเรียนรู้นวัตกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,850 - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,850 /111 = 242 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
96 กิจกรรมที่ 21 ศึกษาดูงานเปิดโลก ICT เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการ เป็นนักคอมพิวเตอร์ (91,200 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และพัฒนาความรู้ความสามารถจากการศึกษานอกเหนือจากชั้นเรียน 2. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตและทักษะทางสังคมให้กับนักศึกษา 3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และนำกลับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันการทำงานได้ในอนาคต - เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน - เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 91,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 91,000 บาท/36 = 2,527.38 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
97 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาเว็บไซต์ทางธุรกิจสำหรับ ผู้ประกอบการ (22,700 บาท) 2566 1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาเว็บไซต์ทางธุรกิจ 2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ให้เหมาะสมกับธุรกิจผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล 3 เพื่อเพิ่มโอกาสในการนำเสนอผลงานของนักศึกษาด้านการแข่งขันทางวิชาชีพ 4 เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการออกแบบกราฟิก นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนของนักศึกษา เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 และปีที่ 2 จำนวน 167 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 22,675 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 22,675 /167 = 135.78 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
98 กิจกรรมที่ 23 ปฐมนิเทศ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สู่การเป็นบัณฑิตพรีเมี่ยม (152,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสนำความรู้หลักการทฤษฎีที่ได้เรียนรู้ตามหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพเพิ่มเติมจากผู้มีประสบการณ์ตรง ก่อนที่จะสำเร็จการศึกษาและเข้าสูการประกอบวิชาชีพ 3. เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดทักษะในการปฏิบัติงานและเกิดทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ - เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า กลุ่ม664415 A และ กลุ่ม664415 B จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : 1.นักศึกษาที่ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีความรู้ ความสามารถ และได้รับทักษะทางวิชาการจากการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 2.นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพอยู่ในระดับดี มีผลการประเมินไม่ต่ำกว่า 3.50 - เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วย : 152,760 บาท - เชิงต้นทุนหน่วยผลิต : 152,760/60 = 2,546 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
99 กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการ ปรับพื้นฐานการเรียนรู้ สู่การเป็นบัณฑิตพรีเมี่ยม (3,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาปรับตัวสำหรับการเรียนในระดับอุดมศึกษาได้ 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในวิชาพื้นฐานสำหรับการเรียนในมหาวิทยาลัย 3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและปรับตัวให้เข้ากับกับการเรียนแบบ WiL (Work - integrated Learning) - เชิงปริมาณ : นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) อย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้/ด้านทักษะทางปัญญา/ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 3,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 3,600 / 24 = 150 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
100 กิจกรรมที่ 26 เปิดโลกทัศน์การ การจัดการนวัตกรรมเพื่อการ เรียนรู้ (283,500 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาความสามารถจากการเรียนรู้นอกชั้นเรียน 2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงานในอนาคตได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและเกิดความตระหนักหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีต่อวิชาชีพ เชิงปริมาณ : อาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้าเข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เชิงคุณภาพ : นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้ามีความรู้ และประสบการณ์จากการศึกษานอกสถานที่มีความพึงพอใจในระดับดี ร้อยละ 80 เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 283,500 บาท เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ครั้งที่ 1 : 144,000 /44 = 3,272.72 บาท ครั้งที่ 2 : 139,500 /41 = 3,402.43 บาท เป้าหมายที่ 4
101 กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาการจัดการเชิงรุก (160,000 บาท) 2.1 Road Show แนะแนว การศึกษา 2566 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์หลักสูตร และให้ความรู้การจัดการเรียนการสอนและการสร้างภาพลักษณ์ของคณะวิทยาการจัดการ 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสอบคัดเลือก และให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามหลักสูตรที่ตอนเองมีความถนัด 3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนดีในท้องถิ่นได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี 1. ได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้แก่นักเรียน โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 10 โรงเรียน 2. เพิ่มโอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เข้าสอบคัดเลือกตรงโควตาของคณะวิทยาการจัดการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายที่ 4
102 2.2 MGT Orentation คณะวิทยาการจัดการ (ปฐมนิเทศนักศึกษาปี 1) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เตรียมความพร้อมในการปรับตัวเกี่ยวกับการเรียนในรั้วมหาวิทยาลัย 2. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้รู้จักวัฒนธรรมขององค์กร เชิงปริมาณ : นักศึกษาใหม่คณะวิทยาการจัดการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย เชิงคุณภาพ : นักศึกษาใหม่คณะวิทยาการจัดการมีทัศนคติที่ดี และปรับตัวต่อการเรียนในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,000 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,000 บาท /800 คน ๙ = 31.25 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
103 กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อการประเมินผลสัมฤทธิ์การ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพตามกรอบ มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (การทวนสอบ) (25,200 บาท ) 2566 1.เพื่อให้หลักสูตรมีระบบการประเมินผลการเรียนรู้ การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้และกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 2.เพื่อให้วิธีการวัดและประเมินผลมีความตรงประเด็นกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในประมวลการสอน และข้อสอบในแต่ละรายวิชาสามารถวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษาได้สอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อผลการเรียน 3.เพื่อให้การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาแสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร เชิงปริมาณ : -มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ -มีการทวนสอบรายวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนของแต่ละหลักสูตรในภาคการศึกษาที่ทวนสอบ เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการทวนสอบตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,800 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,800/50 = 216 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
104 กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการทำงานและ สร้างความร่วมมือทางวิชาการ กับมหาวิทยาลัยเครือข่าย (212,200 บาท) 2566 1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์ แนวคิดใหม่ ๆ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากรของคณะให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความสามัคคี และเกิดการแลกเปลี่ยนประสบกาารณ์ที่ดีระหว่างบุคลากรของคณะ 3. เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการบริหารการศึกษาอย่างเป็นระบบในการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ - เชิงปริมาณ : 1. บุคลากรคณะวิทยาการจัดการเข้าร่วมโครงการ จำนวน 28 คน 2. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ จำนวน 2 ฉบับ - เชิงคุณภาพ : 1. บุคลากรนำความรู้ แนวคิดใหม่ ๆ ประยุกต์ในการปฏิบัติได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เครือข่ายความร่วมมือตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการมีกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 212,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 212,200/28 = 7,578.57 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
105 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ จัดทำผลงานทางวิชาการอย่าง มืออาชีพ (30,800 บาท) 2566 1 เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานทางวิชาการ 2 เพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรจัดทำผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น 1. เชิงปริมาณ : บุคลากรคณะวิทยาการจัดการได้รับการพัฒนาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ และมีทักษะในการทำงานเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพที่ดีในการทำงานอย่างน้อย 40 คน 2. เชิงคุณภาพ : บุคลากรคณะวิทยาการจัดการมีการทำผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 4 ชิ้นงาน 3. เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 30,800 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 30,800 /40 = 770 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
106 กิจกรรมที่ 2 นิทรรศการแสดงผลงาน ของนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ (50,000 บาท) 2.1 นิทรรศการแสดงผลงาน ออกแบบนิพนธ์ 2.2 นิทรรศการแสดงผลงาน ศิลปนิพนธ์ 2566 1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบและทัศนศิลป์ 2. เพื่อเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาออกสู่สาธารณชน 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการออกแบบ จำนวน19 คน และสาขาวิชาทัศนศิลป์ จำนวน 21 คน ได้เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ออกสู่สาธารณชน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม เท่ากับ 50,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เท่ากับ 50,000/40 = 1,250 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
107 กิจกรรมที่ 6 ศึกษาเรียนรู้นอก ห้องเรียนเพื่อส่งเสริมศักยภาพทาง การเรียนรู้ในศตวรษที่ 21 สู่การ เป็นนักดนตรีมืออาชีพ (78,600 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการศึกษานอกห้องเรียน 2 เพื่อให้นักศึกษามีองค์ความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษานอกห้องเรียน 3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการประกอบอาชีพทางดนตรีให้กับนักศึกษา 1 เชิงปริมาณ 1.1. นักศึกษาและคณาจารย์สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2. นักศึกษาได้ไปศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 77,840 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 77,840/40 = 1,946 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
108 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ นำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม (1,800 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม 2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม 1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ 2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,800/60 = 30 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
109 กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมสู่การทำงาน ด้านศิลปกรรมและปัจฉิมนิเทศ (12,800 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในรูปแบบของอาชีพและลักษณะการทำงานด้านศิลปกรรม 2 เพื่อแนะแนวทางในการเลือกสาขาอาชีพที่เหมาะสมกับสาขาที่สำเร็จการศึกษา 3 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการทำงาน กาประกอบอาชีพอิสระ การเป็นผู้ประกอบการ และการศึกษาต่อ 1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,800/100 = 128 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
110 กิจกรรมที่ 2 สำนักงานสีเขียว (Green Office) (15,000 บาท) 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรนำความรู้ด้านสำนักงานสีเขียวมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในสำนักงาน 1. เชิงปริมาณ 1.1 บุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 ได้สำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 1 หน่วยงาน 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000/40 = 375 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
111 กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะศิลปกรรมศาสตร์ 2566 เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะฯ จำนวน 1 แผน 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,500 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,500/40 = 37.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
112 กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการความรู้ KM (การเรียนการสอนและการวิจัย)” 2566 1. เพื่อให้อาจารย์มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนและการวิจัย 2. เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอนและการวิจัย 3. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนและการวิจัยให้บุคคลทั่วไปทราบ 1. เชิงปริมาณ 1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนและการวิจัย อย่างละ 1 แนวทาง 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,300 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,300/40 = 157.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
113 กิจกรรมที่ 5 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ คลีนิคงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ด้านศิลปกรรม (61,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้อาจารย์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสู่การขอตำแหน่งทางวิชาการ 2. เพื่อให้อาจารย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้คำปรึกษาเพื่อการผลิตผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพเพื่อนำไปสู่การขอตำแหน่งทางวิชาการ 1. เชิงปริมาณ 1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 ได้ตำรา หนังสือ และเอกสารประกอบการสอน อย่างน้อย 5 เล่ม 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่กิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 58,500 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 58,500/40 = 1,462.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
114 กิจกรรมที่ 1 ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ (288,900 บาท) 1.1 สัมมนานักศึกษาก่อนฝึกฯ 1.2 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกฯ 1.4 สัมมนาหน่วยฝึกฯ 1.5 สัมมนาก่อนฝึกปฏิบัติ การสอน 1,2 1.6 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติ การสอน 1,2 1.7 นิเทศปฏิบัติการสอนฯ 2566 2.1 เพื่อสรุปและถอดบทเรียนในการฝึกประสบการณ์ทางสาธารณสุขศาสตร์ ของนักศึกษา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา 4954902 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน และรายวิชา 4954903 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านการจัดบริการสาธารณสุขชุมชน ประจำภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 2.2 เพื่อให้อาจารย์นิเทศก์ได้พบปะและดำเนินการนิเทศกับนักศึกษาฯ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 82 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,920 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,920/82 = 96.58 บาท / คน เป้าหมายที่ 8
115 กิจกรรมที่ 5 ศึกษาดูงานในราย วิชาของหลักสูตรเทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล (134,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับระบบเครือข่ายภายในองค์กร การสร้างสรรค์งานด้านมัลติมีเดีย และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ 2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล 3. บูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชา 4662133 นวัตกรรมกระบวนการและการจัดการการเปลี่ยนแปลง 4662333 การโปรแกรมเชิงวัตถุ 4662334 เทคโนโลยีเว็บและการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 41 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเครือข่ายภายในองค์กร การสร้างสรรค์งานด้านมัลติมีเดีย และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 134,785 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 134,785/41 = 3,287.44 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
116 กิจกรรมที่ 6 พัฒนาศักยภาพเพื่อ เสริมทักษะการเรียนรู้ทาง คณิตศาสตร์ (67,400 บาท) 6.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการออกแบบกิจกรรม เพื่อจัดค่ายคณิตศาสตร์” 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และประสบการณ์สู่การออกแบบกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้ 2. เพื่อให้ได้กิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์สู่การบริการวิชาการแก่หน่วยงานภายนอกได้ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 182 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,400 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,400/182 = 370.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
117 6.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการออกแบบสื่อใน ศตวรรษที่ 21 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และประสบการณ์สู่การออกแบบกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้ 2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเทคนิคการออกแบบสื่อมาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้ 3 เพื่อให้ได้กิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์สู่การบริการวิชาการแก่หน่วยงานภายนอกได้ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 46 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 คน - เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 19,100 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 19,100/46 = 415.22 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
118 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบ มาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงาน แห่งชาติในสาขาผู้ประกอบ อาหารไทย (44,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต 2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 43 คน เข้าร่วมร้อยละ 100 - เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ด้านมาตรฐานวิชาชีพในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย ร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 44,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 44,800/43 = 1,041.86 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
119 กิจกรรมที่ 8 สัมมนาวิชาการ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและ การอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา (11,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและการอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางโดยตรง 2. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน 1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 18 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,000 / 18 = 611.11 บาท / คน เป้าหมายที่ 8
120 กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง บูรณาการศาสตร์ส่งเสริม สุขภาพ (9,800 บาท) 2566 เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการศาสตร์ทางด้านสุขภาพร่วมกับชุมชนและทำงานร่วมกับชุมชนได้ - เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงเวลา ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เข้าร่วมทำกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 9,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 9,800/15= 653.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
121 กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้โปรแกรมการจัดการเอกสาร ขั้นสูง (3,700 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้การใช้โปรแกรมการจัดการเอกสารเพื่อนำความรู้ไปทำโครงการวิจัย - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 31 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1. คะแนนการประเมินคุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิตปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 4.5 คะแนน 2. คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 2.1,2.2,3.2 และ 3.3 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2 คะแนน 3. นักศึกษามีความรู้การใช้โปรแกรมจัดเอกสารไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้สำเร็จเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนดโครงการภายในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
122 กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างทักษะสำหรับนักศึกษา ชีววิทยาและบูรณาการการปฏิบัติ งานภาคสนามกับการทำงาน (46,000 บาท) 2566 1.เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนเริ่มทำดครงการวิจัยและฝึกประสบการณือย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมทักษะด้านการสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้ทางชีววิทยา และสามารถบูรณาการทักษะการปฏิบัติงานภาคสนามกับการทำงานในหน่วยงาานเครือข่ายได้ เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 22 คน เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ทั้งในรายวิชาและเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณืวิชาชีพหรือฝึกสหกิจได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 44360 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 44360=2016.36/ คน เป้าหมายที่ 14
123 กิจกรรมที่ 16 ศึกษาดูงานในราย วิชาสำหรับนักศึกษาสาขาวิชา ชีววิทยา (32,400 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ต่าง ๆ ทางชีววิทยาเพิ่มขึ้นจากการศึกษาดูงาน 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เพิ่มพูนประสบการณ์ สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ทั้งในชีวิตประจำวัน การเรียนในรายวิชาต่าง ๆ และเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกสหกิจศึกษาได้ 3. เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และเป็นแนวทางในการนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 58 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ทั้งในรายวิชาและเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกสหกิจศึกษาได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 32,400 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 32,400 /58 = 558.62 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
124 กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะเชิงปฏิบัติการพัฒนา ทักษะวิชาชีพสำหรับนวัตกรการ เกษตร ชั้นปีที่ 1 และ 2 (26,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และมีทักษะปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง โดยสามารถเชื่อมโยงความรู้จากในห้องเรียนได้ 2. เพื่อเพิ่มการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 17คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - สร้างเครือข่ายความร่วมมือ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษา มหาวิทยาลัย กับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน อย่างน้อย 1 เครือข่าย - ผ่านการรับรองการเป็นผู้ตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (SDGsPGS) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักศึกษาสามารถจัดทำร่างโครงการบริการวิชาการในการยกระดับชุมชนได้ อย่างน้อย 2 โครงการโดยใช้หลักการวิศวกรสังคม 2. เชิงคุณภาพ - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทฤษฎี ไปใช้ในการทำงานในสถานที่จริง จากการประเมินของอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 2
125 กิจกรรมที่ 18 อบรมการสร้างทักษะ ในศตวรรษที่ 21 : การสื่อสารและ การร่วมมือกับคนในสังคมโดย ใช้จิตวิทยาเพื่อการเข้าสังคม (1,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารกับคนในสังคมได้ 2. นักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม องค์กร ชุมชน ที่อยู่ร้วมได้อย่างมีความสุข 3. เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1. คะแนนการประเมินคุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิตปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 4.5 คะแนน 2. คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 3.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน 3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและใช้ความรู้ทั้งทางทฤษฎี และปฏิบัติได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,300 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,300/9 = 144.44 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
126 กิจกรรมที่ 19 ศึกษาดูงาน สำหรับนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี ชั้นปีที่ 1 และ 2 (6,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะพึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต 2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาจำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ จำนวนนักศึกษาสามารถบูรณาการการเรียนกับการนำไปใช้ในการสอนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 .3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4.ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,600 บาท 5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,600/34 = 164.7 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
127 กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเพิ่มสมรรถนะครูเคมี สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 (1,600 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมสร้างทักษะทางด้านเคมีในสาขาต่างๆ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ 2. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของครูผู้สอนแก่นักศึกษา 3. เพื่อส่งเสริมเจตคติที่ดีทางด้านความเป็นครู 4. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 34 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,600 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,600/34 = 47.06 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
128 กิจกรรมที่ 21 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประเมินผลผู้เรียนและ การจัดการชั้นเรียนแบบ PLC (11,300 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสิ้นปีการศึกษาตาม มคอ.2 2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และมีความรู้ในเรื่องการประเมินผลทางการศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 83 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ นักศึกษาบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปีสำหรับชั้นปีที่ 2 ตามที่ระบุไว้ใน มคอ. 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,300 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,300/83 = 136.14 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
129 กิจกรรมที่ 22 สัมมนาเรื่อง สหกิจศึกษากับการพัฒนาอาชีพ (45,800 บาท) 2566 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับสหกิจศึกษา - เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 318 คน เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 95 - เชิงคุณภาพ – นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ 89 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,800 /333 = 137.54 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
130 กิจกรรมที่ 23 สัมมนาครูต้นแบบ สร้างแรงบันดาลใจสู่อาชีพครู (5,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู 2. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและให้มีใจรักในอาชีพครู - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 128 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ นักศึกษาสามารถดำเนินการตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่คุรุสภากำหนดได้อย่างน้อย 1 ด้าน - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,600/128 = 43.75 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
131 กิจกรรมที่ 25 ประกวดผลงาน สร้างสรรค์ (4,500 บาท) 2566 1 ส่งเสริมนักศึกษาในเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก เป็นนักสื่อสารที่ดี สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีม และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 2 เพื่อเพิ่มทักษะทางด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการส่งผลงานไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า 3.51 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,500 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,500/20 = 225 บาท/ผลงาน เป้าหมายที่ 4
132 กิจกรรมที่ 26 มหกรรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี “Science and Tech Festival 2023” (7,300 บาท) 2566 1 ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา และครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาอย่างน้อยสะท้อนผลลัพธ์ผู้เรียน 2 ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษาในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 เพื่อเสริมสร้างทักษะภาษาต่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพทางภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษา 4 ส่งเสริมให้อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมแข่งขันทำอาหารและขนมไทย 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,300 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,300/300 = 24.33 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
133 กิจกรรมที่ 27 สัมมนา เรื่อง การพัฒนาประสบการณ์วิชาการ และวิชาชีพเพื่อก้าวสู่วัยทำงาน แก่นักศึกษา (31,800 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาได้ทราบข้อมูลสำคัญ และเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาชีพ 2 เพื่อให้นักศึกษาได้เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ 3 เพื่อให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเองในการก้าวสู่โลกของการทำงาน 4 เพื่อแนะแนวทางนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการณ์ หรือ ประกอบอาชีพอิสระ 5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 331 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ประสบการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในเรื่องการสมัครงาน การสัมภาษณ์งานและการพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมั่นใจเดินหน้าสู่อาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 31,800 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 31,800/331 = 96.07 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
134 กิจกรรมที่ 28 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมระหว่างสถาบัน (67,400 บาท) 2566 1 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านกิจกรรมนักศึกษาระหว่างสถาบัน 2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาระหว่างสถาบัน 3 เพื่อให้สโมสรนักศึกษาจัดกิจกรรมสอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 18 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,400 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,400/18 = 3,744.44 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
135 กิจกรรมที่ 29 สัมมนาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ศิษย์เก่า (15,800 บาท) 2566 1 เพื่อเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถาบันกับนักศึกษาศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน คณาจารย์ตลอดจนบุคลากร 2 เพื่อประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ด้านวิชาชีพและประสบการณ์ระหว่างศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน 5 เพื่อให้นักศึกษารักและเชิดชูในสถาบัน ยกย่อง และเชิดชูเกียรติศิษย์เก่าที่ทำคุณประโยชน์ให้กับองค์กรและสร้างชื่อเสียงให้กับสถาบัน - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,800 / 40 = 395 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
136 กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการ ค่ายผู้นำนักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (41,500 บาท) 2566 1 เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องบทบาทหน้าที่ของผู้นำนักศึกษา 2 เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้นำนักศึกษาในการดำเนินกิจกรรมในปีการศึกษา 2566 3 เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องระบบประกันคุณภาพและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 35 คนเข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 41,500 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 41,500 /35 = 1,185.71 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
137 กิจกรรมที่ 31 สัมมนานักศึกษา ใหม่ 2566 คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (47,600 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาทราบแนวปฏิบัติด้านวิชาการ ด้านกิจกรรมนักศึกษา รวมทั้งข้อมูลสวัสดิการต่าง ๆ 2 เพื่อชี้แนะแนวทางการเรียน และการใช้ชีวิตนักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 เพื่อให้นักศึกษามีสัมพันธภาพและทัศนคติที่ดีต่อคณะฯ และบุคลากรของคณะฯ เกิดความคุ้นเคยและเกิดความรู้สึกเป็นกันเอง 1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการทราบแนวปฏิบัติด้านวิชาการ ด้านกิจกรรมนักศึกษา รวมทั้ง ข้อมูลสวัสดิการต่าง ๆ สัมพันธภาพและทัศนคติที่ดีต่อคณะฯ และบุคลากรของ คณะฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,600 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,600/400 = 119 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
138 กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ภาษาอังกฤษ English WISH Camp (19,000 บาท) 2566 1 เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา 2 เพื่อส่งเสริมนักศึกษาให้มีความมั่นใจทางด้านภาษาเพิ่มมากขึ้น 1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ CEFR (B1) หรือมีระดับคะแนนเพิ่มขึ้น 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 19,000 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 19,000/ 30 = 633.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
139 กิจกรรมที่ 33 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาบุคลิกภาพสำหรับ นักศึกษาในศตวรรษที่ 21 (8,100 บาท) 2566 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 วิทยาศาสตร์บัณฑิตและสาธารธสุขศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 – 4 มีความรู้ความเข้าใจถึงบุคลิกภาพที่เป็นจุดเด่นและจุดด้อยของตนเอง สามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปปรับและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมยิ่งขึ้นเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจถึงบุคลิกภาพที่เป็นจุดด้อยและจุดเด่นของตนเองและสามารถ นำความรู้ที่ได้รับไปปรับและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมและดียิ่งขึ้น 1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 240 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการทราบและความเข้าใจถึงบุคลิกภาพที่เป็นจุดด้อยและจุดเด่นของตนเองและสามารถ นำความรู้ที่ได้รับไปปรับและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมและดียิ่งขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,100/ 160 = 50.63 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
140 กิจกรรมที่ 34 อบรมเตรียมความ พร้อมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 และทักษะในวิชาชีพแก่นักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้าน พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล (4,700 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ด้าน พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้นำไปใช้ในอนาคตได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงบทลงโทษและผลกระทบต่อตนเองและองค์กร - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 127 คน เข้าร่วมโครงการร้อยละ 94 - เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจร้อยละ 89 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,700 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,700/ 135 = 34.81 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
141 กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้อง ปฏิบัติการ (46,200 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการและอาคารเรียนรวม 2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการอาคารเรียนรวม 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 400 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,200/400 = 115.5 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
142 กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ "ประเมินผลปฏิบัติงานประจำปี ปรับแผนยุทธศาสตร์และแผน ปฏิบัติราชการ" (16,300 บาท) 2566 2.1 เพื่อการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอนและการบริหารงานของคณะฯให้เป็นไปตามพันธกิจ 2.2 เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต 2.3 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.4 เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพียงพอและเหมาะสม 2.5 เพื่อนำผลการปฏิบัติงานประจำปีมาปรับแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ 5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 113 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลากำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,760 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,760/113 = 112.92 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
143 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนและประเมินผลลัพธ์ ประกันคุณภาพการศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AUN-QA ประจำปีการศึกษา 2565 (31,800 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและทบทวนเกี่ยวกับตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา และมีทักษะในการจัดทำรายงานประจำปีการประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจหลักการสำคัญของระบบ AUN-QA และความสอดคล้องของ (OBE) กับเกณฑ์ AUN-QA 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประกันคุณภาพการศึกษาเกณฑ์ AUN-QA ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 31,800 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 31,800/80 = 397.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
144 กิจกรรมที่ 4 สัมมนาแลกเปลี่ยน ประสบการณ์มุ่งสู่การจัดการเรียนรู้ (45,800 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้อาจารย์และบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้ 2.2 เพื่อให้อาจารย์มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ 3. เป้าหมาย* 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) : ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้จากผู้มีประสบการณ์ในเรื่องโจทย์วิจัยจากชุมชน สู่งานวิจัยและบริการวิชาการ และเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน / เอกสารคำสอน 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) : มีงานวิจัยจากชุมชน และมีอาจารย์ส่งผลงานวิชาการเพิ่มขึ้น 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ มีแนวคิดด้านการจัดการความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,100 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,100/80 = 563.75 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
145 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคนิคการเตรียมผลงาน ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเข้าสู่ ตำแหน่งทางวิชาการ (53,200 บาท) 2566 1.เพื่อเสริมสร้างคุณค่าของหนังสือวิชาการและพัฒนาผลงานการเขียนหนังสือวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ 2.เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการเขียนการผลิตและการเผยแพร่ตำราทางวิทยาศาสตร์ 3.เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ความสามารถของคณาจารย์ในเรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 68 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับคณะอยู่ในระดับดี 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,200/68 = 782.35 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
146 กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการวิจัยในชั้นเรียน (7,500 บาท) 2566 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนกับอาจารย์หลักสูตรครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. เพื่อให้อาจารย์ได้เรียนรู้และเข้าใจในการวิจัยในชั้นเรียนสามารถนำเทคนิคที่ได้จากการอบรมไปเลือกและปรับใช้ในกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนได้ 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,380 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,380/20 = 369 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
147 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำหลักสูตรแนวใหม่ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (53,200 บาท) 2566 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรแบบมุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome Based Education: OBE) 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดของการจัดทำหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-degree) และหลักสูตร Sandbox ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ จำนวนหลักสูตรที่พัฒนา/ปรับปรุงตามแนวทาง (Outcome Based Education: OBE) หลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-degree) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 หลักสูตร 3.เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,200/80 = 665 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
148 กิจกรรมที่ 8 พัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยตามระบบ ESPReL (15,000 บาท) 2566 1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ 3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ 4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ มีห้องปฏิบัติการที่รับได้มาตรฐานตามระบบ ESPReL อย่างน้อย 5 ห้อง - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 /10 = 1,500 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
149 กิจกรรมที่ 9 พัฒนาห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐาน ISO 17025 (35,300 บาท) 9.1 อบรมเรื่องการพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 9.2 ตรวจประเมินพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 2566 1. เพื่อดำเนินการการบริหารการจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติ 2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025 3. ปรังปรุงระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน ร้อยละ 100 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,900 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,900/10 = 2,090 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
150 กิจกรรมที่ 1 ศึกษาดูงาน ในรายวิชาของนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการเกษตร (59,400 บาท) 2566 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นไปตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย - เชิงปริมาณ นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ - นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงาน ไม่น้อยกว่าร้อย 70 - นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน - เชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,560 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23560/486 = 48.48 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
151 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการเกษตร (3,000 บาท) 2566 1. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงตามสาขาวิชาของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงาน และสถานประกอบการ 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถทราบถึงปัญหาในการปฏิบัติงานและสามารถหาแนวทางแก้ไขได้ - เชิงปริมาณ - นักศึกษา จำนวน 5 คน เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ - นักศึกาาได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200/5 =240 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
152 กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเรื่อง จุดประกายการเรียนรู้แบบ บูรณาการทำงาน (2,700 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในการฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา 2 เพื่อให้นักศึกษาตัดสินใจเข้าร่วมการฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา - เชิงปริมาณ - นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับข้อมูลรายละเอียดของการดำเนินงานด้านสหกิจศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,700 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,700/40 = 67.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
153 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการสร้างแรงบันดาลใจและ ทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม (5,700 บาท) 2566 เพื่อสร้างเสริมแรงบันดาลใจทางด้านนวัตกรรมให้นักศึกษา 1 เชิงปริมาณ - จำนวนนักศึกษาชั้นปี 1 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน 3 เชิงเวลา - สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200/100 = 12 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
154 กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนา องค์ความรู้ศิษย์เก่า คณะเทคโนโลยีการเกษตร (19,400 บาท) 2566 เพื่อพัฒนาและเพิ่มเติมองค์ความรู้ให้กับศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีการเกษตร 1.เชิงปริมาณ - จำนวนศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา - สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,200 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,200/30 = 606.67 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
155 กิจกรรมที่ 7 แข่งขันทักษะ วิชาชีพและวิชาการ (70,000 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ - เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 4 รางวัล - เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 70,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 70,000/15 = 4,666.67 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
156 กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ - เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล - เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 = 4,507.14 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
157 กิจกรรมที่ 10 อบรมเรื่องทักษะ ทางด้านการจัดการฟาร์มเกษตร อัจฉริยะ (Smart farm) (8,400 บาท) 2566 1 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกทักษะในการทำการเกษตรอัจฉริยะ (Smart farm) ตามคุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร 2 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การทำเกษตรแบบ smart farm 3 เพื่อให้นักศึกษาได้ทักษะจากการลงมือปฏิบัติจากแหล่งเรียนรู้ 1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1-2 จำนวน 17 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/กิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,600 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,600/17 = 388.23 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
158 กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 272 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,900/272 = 128.31 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
159 กิจกรรมที่ 3 บรรยาย เรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2565 34,700 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จ การศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจาก มุมมองต่าง ๆ ในการทำงาน วิชาชีพทั้งในองค์กรภาครัฐ และเอกชน 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 270 คน เข้า ร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด โครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 เป้าหมายที่ 4
160 กิจกรรมที่ 4 อบรมเรื่องการเพิ่ม ทักษะในการประกอบอาชีพ แก่ศิษย์เก่า (4,700 บาท) 2566 1 .เพื่อให้ความรู้และพัฒนาทักษะที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายศิษย์เก่า 1. เชิงปริมาณ ศิษย์เก่า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 900/30 = 30 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
161 กิจกรรมที่ 5 จัดงานกีฬาสาน สัมพันธ์คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรมและเครือข่าย วิศวกรรมศาสตร์ (58,500 บาท) - กีฬาสานสัมพันธ์นักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - กีฬาสานสัมพันธ์วิศวะ ครั้งที่ 12 2566 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาด้วยการออกกำลังกาย 2. เพื่อเป็นการสานสัมพันธ์ของนักศึกษาภายในคณะและระหว่างสถาบันเครือข่ายวิศวกรรม 3. เพื่อให้นักศึกษามีความอบอุ่นและประทับใจ อันจะนำไปสู่ความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดี ระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้องในคณะและระหว่างสถาบันเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 175 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51 2.2 นักศึกษามีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเครือข่าย ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 58,450 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 58,450/175 = 334 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
162 กิจกรรมที่ 7 นิเทศนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (37,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาฝึกงานได้มีประสบการณ์ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการของนักศึกษาภาคปกติ 3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ 1. เชิงปริมาณ 1.1 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 อาจารย์ออกนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อย่างน้อย 1 ครั้ง 2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีผลการประเมินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า 80 คะแนน 3. เชิงเวลา อาจารย์ออกนิเทศฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 37,300 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 37,300/200 = 186.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
163 กิจกรรมที่ 8 ศึกษาดูงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (62,700 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานที่ที่ศึกษาดูงาน 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรต่าง ๆ กับมหาวิทยาลัย 3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษามีประสบการณ์ในเรื่องระบบการทำงานขององค์กรต่าง ๆ ด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี 1. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 238 คน เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา TQF อย่างน้อย 3 ด้าน 2.2 นักศึกษาทุกหลักสูตรได้ความรู้และประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนจากการศึกษาดูงาน อย่างน้อยร้อยละ 70 3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 62,700 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 62,700/238 = 264 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
164 กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกล อัตโนมัติ (20,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการปฏิบัติเครื่องจักรกลอัตโนมัติ 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพให้ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ซึ่งเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรฯ 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคปกติ หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/15 = 1,333.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
165 จัดงานสันทนาการ สานสัมพันธ์โลจิสติกส์กับท้องถิ่น ปีที่ 10 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการเสียสละการแบ่งปันน้ำใจให้กับชุมชนและสังคม 2. นักศึกษาได้ทำกิจกรรมสันทนาการกับชุมชน เชิงปริมาณ 1. นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 3. นักศึกษาได้ทำกิจกรรมร่วมกับชุมชนอย่างน้อย 1 ชุมชน   2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 12,000/120 = 100 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
166 โครงการพัฒนานักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติกส์ในศตวรรษที่ 21 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์จากการทำงานจริง 2. เพื่อเพิ่มสรรถนะของนักศึกษาวิศวกรรมโลจิสติกส์ 1. เชิงปริมาณ 1.1 นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม โลจิสติกส์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80 1.2 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 1.3 นักศึกษาได้รับความรู้จากศิษย์เก่าหรือสถานประกอบการ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการทำงานในอนาคต อย่างน้อยร้อยละ 80 1.1.4 นักศึกษาได้ทบทวนและฝึกปฏิบัติทดสอบความรู้ด้านการใช้โปรแกรมในงานวิศวกรรม อย่างน้อย 1 สมรรถนะ เป้าหมายที่ 4
167 กิจกรรมที่ 13 พัฒนานักศึกษา หลักสูตรทล.บ.เทคโนโลยีการ จัดการอุตสาหกรรม (ต่อเนื่อง) ในศตวรรษที่ 21 (55,000 บาท) 2566 1. เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนให้เป็นตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ด้านเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมไปประยุกต์ใช้ในพัฒนาชุมชน 3. เพื่อเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านเทคโนโลยีและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมสู่ชุมชน 1. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 นักศึกษาได้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีต่าง ๆ ในงานอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 นักศึกษาสอบมาตรฐานวิชาชีพอย่างน้อย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,450 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,450/50 = 809 บาท เป้าหมายที่ 4
168 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการ ความรู้ด้านการวิจัยและด้าน การเรียนการสอน (7,400 บาท) 2566 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2. เพื่อให้คนในองค์กรมีเจตคติที่ดีในการแบ่งปันความรู้และเผยแพร่ผลงานให้บุคคลทั่วไปได้ทราบ 3. ได้องค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีด้านวิจัย และการเรียนการสอน 1. เชิงปริมาณ ผู้บริหาร อาจารย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน35 คน เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแผนจัดการความรู้ด้านวิจัย และการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 แผน 2.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแนวปฏิบัติที่ดีจากการถ่ายทอดองค์ความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,380 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,380/35 = 210.86 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
169 กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานของ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หลักสูตรได้รับมาตรฐาน AUN-QA และหลักสูตรบัณฑิตศึกษา) (138,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้บริหาร ประธานหลักสูตร และหัวหน้างาน/หัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำหลักสูตรตามมาตรฐาน AUN-QA และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา 2. เพื่อรองรับการเติบโตและพัฒนาคณะด้านวิชาการในอนาคต 3. เพื่อวางแผนและดำเนินการเปิดหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ในปีการศึกษา 2566 1. เชิงปริมาณ 1.1 ผู้บริหาร ประธานหลักสูตร หัวหน้างาน/หัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวนรวม 13 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 มีหลักสูตรตามแนวทางมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตร OBE รองรับ AUN-QA อย่างน้อย 1 หลักสูตร 1.3 มีร่างหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 1 หลักสูตร 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 138,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 138,600/13 = 10,661.54 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
170 กิจกรรมที่ 4 ยกย่องและเชิดชู เกียรติผู้มีผลงานดีเด่น คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (10,000 บาท) 2566 1. เพื่อเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับอาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า 1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการ ยกย่องและเชิดชูเกียรติ อย่างน้อย 5 รางวัล 2. เชิงคุณภาพ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการ ยกย่องและเชิดชูเกียรติ สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 10,000/20 = 500 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
171 กิจกรรมที่ 5 ประชุมจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ MOU กับหน่วยงานภายนอก (6,600 บาท) 2566 เพื่อให้คณะมีข้อตกลงความร่วมมือในด้านวิชาการและภาคอุตสาหกรรม 1. เชิงปริมาณ 1.1 ผู้บริหาร อาจารย์ และบุคลากรของหน่วยงาน จำนวน ๒0 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 1.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีข้อตกลงความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ/ภาคเอกชน และสถานประกอบการอย่างน้อย 2 หน่วยงาน 2. เชิงคุณภาพ ความพึงพอใจของอาจารย์ นักศึกษา และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ MOU ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 6,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 6,600/20 = 330 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
172 บรรยาย เรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ที่สำเร็จการศึกษา ภาค กศ.บป. ประจำปีการศึกษา 2565 (7,900 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจากมุมมองต่าง ๆ ในการทำงาน วิชาชีพทั้งในองค์กรภาครัฐ และเอกชน 1.เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 4 ภาค กศ.บป. จำนวน 23 คน เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,200/23 = 139.13 บาท เป้าหมายที่ 4
173 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาบทบาท หน้าที่ของกรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (289,700 บาท) 2566 2.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของกรรมการสภามหาวิทยาลัย ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 18 แห่ง พรบ.ราชภัฏ พ.ศ. 2547 และกฎหมายอื่น 2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำหน้าที่ของกรรมการสภามหาวิทยาลัยภายใต้หลัก ธรรมาภิบาลและการบริหาร 2.3 เพื่อเป็นการติดตามผลการดำเนินงานโคก หนอง นา ทุ่งใหญ่สารภีโมเดล ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาเขตสตูล 2.4 เพื่อให้กรรมการสภามหาวิทยาลัยได้ศึกษา เรียนรู้ บริบทของพื้นที่เป้าหมายอุทยานธรณีโลก (อุทยานแห่งชาติตะรุเตา) เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ให้ตอบโจทย์ตามนโยบายและบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการพัฒนาจังหวัดสตูลสู่ความยั่งยืน 2.5 เพื่อจัดประชุมสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 3/2566 - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 35 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 441,450 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 441,450/27 = 16,350 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
174 กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานด้านการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยของ สำนักงานอธิการบดี (136,800 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุนของสำนักงานอธิการบดีได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาดูงานสถาบันอุดมศึกษาในด้านบริหารจัดการมหาวิทยาลัยและนำความรู้มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานของหน่วยงานเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป 2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มประสบการณ์ให้กับบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 24 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 126,900 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 126,900/24 = 5,287.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
175 กิจกรรมที่ 9 สัมมนาอาจารย์ ที่ปรึกษานักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 (23,000 บาท) 2566 1 เพื่อสร้างความรู้และทักษะเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในการดูแลช่วยเหลือนักศึกษา 2 เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ที่สนใจทราบนโยบายของมหาวิทยาลัยในการดำเนินงานด้านอาจารย์ ที่ปรึกษา 1 เชิงปริมาณ อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 และผู้สนใจ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการและผู้สนใจ มีความรู้ ทักษะ และสามารถดูแลช่วยเหลือนักศึกษาได้ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,700 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,700/120 = 189.17 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
176 กิจกรรมที่ 11 จัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามา- ธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา (34,000 บาท) 2566 1 เพื่อถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว 2 เพื่อส่งเสริมการทำกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” ถวายในหลวงเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 1 เชิงปริมาณ 1) คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จำนวน 2,800 คน ได้ร่วมถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) บุคลากรและนักศึกษาได้ร่วมบริจาคโลหิต ไม่น้อยกว่า 200 คน 3) พื้นที่มหาวิทยาลัยได้รับการพัฒนาให้มีความสะอาดเพิ่มขึ้น จำนวน 10 พื้นที่ 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 64,980 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 64,980/2,800 = 23.20 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
177 กิจกรรมที่ 13 พัฒนานักศึกษาใหม่ (5,022,100 บาท) 2566 1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่ 2. เพื่อให้นักศึกษาทราบกฎ ระเบียบ บริการ และสวัสดิการที่มหาวิทยาลัยจัดให้กับนักศึกษา 3. เพื่อชี้แจงแนวทางในการเรียนทั้งด้านวิชาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อให้สำเร็จการศึกษาตามเป้าหมาย 4. เพื่อให้นักศึกษาใหม่มีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม 1 เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 2,800 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ 1) นักศึกษาใหม่ได้ร่วมกันทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) นักศึกษาใหม่ได้ทราบกฎ ระเบียบ แนวทางการเรียนทั้งวิชาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร และสามารถนำไปปรับ ใช้ได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51 3) นักศึกษาใหม่ มีความรู้และทักษะในการเป็นวิศวกรสังคมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 977,250 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 977,250/2,800 = 349.02 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
178 กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาแกนนำสุขภาพ (61,800 บาท) 2566 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แกนนำสุขภาพมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตอาสาช่วยเหลือกิจกรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา .1 นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้และทักษะด้านการปฐมพยาบาลไปช่วยงานมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม เป้าหมายที่ 4
179 กิจกรรมที่ 15 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ และค่ายพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษา (282,500 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการได้ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพความเป็นผู้นำให้กับนักศึกษา 3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการจัดกิจกรรม 4 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การทำงานระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน 1. เชิงปริมาณ 1) นักศึกษา จำนวน 95 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) นักศึกษาสามารถเขียนโครงการได้ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ 3) นักศึกษาสามารถจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการทำงานโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมิน เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 282,500 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 282,500/95 = 2,973.68 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
180 กิจกรรมที่ 16 พิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ประจำปี พ.ศ. 2566 (1,051,600 บาท) 2566 เพื่อดำเนินการให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2563 - 2564 เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรประจำปี พ.ศ. 2566 1. เชิงปริมาณ บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ที่สำเร็จการศึกษาในการศึกษา 2563 - 2564ภาคปกติ จำนวน 1,974 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรได้ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,051,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,051,600/1,974 = 532.73 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
181 กิจกรรมที่ 10 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การ การจัดทำหลักสูตรตาม แนวทาง Outcomes-Based Education (OBE) ครั้งที่ 4 (21,600 บาท) 2566 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ แนวคิดของการจัดการศึกษาแบบมุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ Outcomes-Based Education (OBE) และเข้าใจความสอดคล้อง OBE , TQF การเรียนรู้ Outcomes-Based - เชิงปริมาณ อาจารย์จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ อาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ร้อยละ 80 ได้นำความรู้ไปพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชาในหลักสูตรที่รับผิดชอบ เป้าหมายที่ 4
182 กิจกรรมที่ 12 ปฐมนิเทศ นักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (56,000 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยและสถานประกอบการ 2 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับงานตามความรู้ ความสามารถ อีกทั้งสามารถประยุกต์ ใช้ความรู้ที่ได้ศึกษามาใช้ในการแก้ปัญหาได้ 4 เพื่อให้นักศึกษามีความมั่นใจในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา - เชิงปริมาณ นักศึกษาจำนวน 670 คน เข้าร่วมโครงการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ นักศึกษามีทักษะในการเลือกตำแหน่งงานให้ตรงสาขาวิชาที่เรียนมาเพิ่มขึ้นร้อยละ 80% - เชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน - บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต - บาท/คน เป้าหมายที่ 4
183 กิจกรรมที่ 15 การประกวด ผลงานนักศึกษาสหกิจศึกษา และการศึกษาเชิงบูรณาการกับ การทำงานระดับมหาวิทยาลัย ประจำปี 2566 (61,000 บาท) 2566 1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้ การคิดค้น การพัฒนาผลงาน และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการดำเนินงานสหกิจศึกษา 2. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ ยกย่อง ชมเชยองค์กรหรือหน่วยงาน และนักศึกษานำเสนอผลงานสหกิจศึกษา 3. เพื่อให้นักศึกษาได้นำเสนอและเผยแพร่ผลงานสหกิจศึกษาและเป็นเวทีแสดงศักยภาพของนักศึกษาสหกิจศึกษา - เชิงปริมาณ : - นักศึกษาเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 - นักศึกษาส่งผลงานสหกิจศึกษาเข้าร่วมประกวด จำนวนรวมไม่น้อยกว่า ๑5 ผลงาน - เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ แนวคิดและทักษะการนำเสนอผลงานสหกิจศึกษา ถ่ายทอดประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และมีผลงานสหกิจศึกษานำเสนออย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากความพึงพอใจของนักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมนำเสนอผลงานทั้งหมด - หลักสูตร/มหาวิทยาลัย สามารถนำผลงานนักศึกษาสหกิจศึกษาที่มีคุณภาพของแต่ละด้านส่งเข้าร่วมประกวดผลงานสหกิจศึกษาระดับเครือข่ายสหกิจศึกษาภาคใต้ตอนล่าง ไม่น้อยกว่า 6 ผลงาน - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 58,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 58,0๐๐/150 = 386.67 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
184 กิจกรรมที่ 16 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ การจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับ การทำงาน (CWIE) ครั้งที่ 3 (83,600 บาท) 2566 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (CWIE) 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตร สามารถดำเนินการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรและรายวิชาสอนสู่การบูรณาการกับการทำงานจริงร่วมกับสถานประกอบการได้ - เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรตามแนวทาง CWIE ไม่น้อยกว่าคณะละ 1 หลักสูตร - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,600/100 = 36 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
185 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพคณาจารย์สหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงาน 2566 1. เพื่อให้อาจารย์สหกิจศึกษา อาจารย์นิเทศก์นักศึกษา และผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานสหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงาน 2. เพื่อให้การดำเนินงานสหกิจศึกษาและการบูรณาการกับการทำงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษาที่กำหนด - เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 - อาจารย์นิเทศมีผลประเมินการนิเทศจากนักศึกษาและสถานประกอบการ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนน (คะแนนเต็ม 5.00) - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,600/100 = 36 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
186 กิจกรรมที่ 18 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา สหกิจศึกษาสู่โลกแห่งการทำงาน (40,200 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและทักษะที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาสหกิจศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาสหกิจศึกษาสามารถเรียนรู้และปรับตัวสู่การทำงานจริงได้ทันทีหลังจากสำเร็จการศึกษา 3. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาด้านทักษะที่จำเป็นต่อการทำงานตามความต้องการของตลาดงานในปัจจุบันและอนาคต - เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 659 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม หรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 - เชิงเวลา : - สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,800/659 = 2.73 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
187 กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ (KM) ประจำปีการศึกษา 2566 (36,700 บาท) 2566 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการจัดการความรู้ (KM) 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ทั่วทั้งมหาวิทยาลัยอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร - เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัย จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ หน่วยงานมีผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดีไม่ต่ำกว่า 3.51 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 36,700 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 36,700/120 = 305.83 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
188 กิจกรรมที่ 20 ประกวดแนว ปฏิบัติที่ดี (48,400 บาท) 2566 1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ เพื่อนำไปสู่การค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี 3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานจัดการความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นระบบและ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหน่วยงานอย่างยั่งยืน - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ มหาวิทยาลัยมีองค์ความรู้/แนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย และ การพัฒนางาน ไม่น้อยกว่า 1 ด้าน - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,020 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,020/120 = 375.17บาท/คน เป้าหมายที่ 4
189 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติ การ การเขียนรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2565 ระดับสำนัก สถาบัน ตามเกณฑ์การประกัน คุณภาพเพื่อการดำเนินการที่ เป็นเลิศ (37,300 บาท) 2566 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในปีการศึกษา 2565 ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ 2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างหน่วยงานสนับสนุนวิชาการในการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 55 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 37,300 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 37,300/55 = 678.18 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
190 กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติ การ การเตรียมความพร้อม รับการประเมินคุณภาพภายใน ตามเกณฑ์ AUN - QA ระดับหลักสูตร (182,600 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์ AUN-QA 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในแนวทางการนำเกณฑ์ AUN-QA ไปใช้ในการดำเนินงานระดับหลักสูตร 2.3 เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายในตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสูตร - เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 135 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ มี (ร่าง) รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์ AUN QA จำนวน 1 เล่ม - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ตั้งแต่ crteria 1-8 อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 157,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 157,000/135 = 1,162.92 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
191 กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติ การ AUN QA Implementation and Gap Analysis (50,400 บาท) 2566 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจวัตถุประสงค์และสาระของเกณฑ์ AUN - Q 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำกรอบแนวคิดและสาระของเกณฑ์AUN - QA ไปพัฒนาและบริหารจัดการหลักสูตร 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์หาประเด็นที่ควรนำไปพัฒนาปรับปรุงการบริหารจัดการหลักสูตรโดยใช้แนวคิดจากเกณฑ์ AUN - QA เพื่อจัดทำแผนพัฒนา/บริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนได้อย่างสอดคล้อง 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวทางในการประเมินตนเองและเขียนรายงานการประเมินตนเองได้อย่างสอดคล้องกับสาระของเกณฑ์ AUN - QA - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวเกณฑ์ AUN - QA ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 79,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 79,200/120 =660 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
192 กิจกรรมที่ 28 ประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในระดับสำนัก/ สถาบัน ปีการศึกษา 2565 (47,900 บาท) 2566 1 เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2562 และกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 2 เพื่อตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานของสำนัก/สถาบัน 3 เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1 เชิงปริมาณ สำนัก/สถาบัน ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จำนวน 5 สำนัก/สถาบัน 2 เชิงคุณภาพ สำนัก/สถาบัน มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,900 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,900/75 = 518.67 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
193 กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Intensive IELTS ในรูปแบบออนไลน์ (7,200 บาท) 2566 เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของบุคลากรสายวิชาการให้มีความพร้อมในการสอบ IELTS - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในการเตรียมความพร้อมเพื่อสอบ IELTS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 - เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,200/40 = 180 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
194 กิจกรรมที่ 10 ARIT English Talent ประกวดความสามารถทางภาษา อังกฤษ (26,400 บาท) 2566 1. เพื่อพัฒนาทักษะด้านการพูดภาษาอังกฤษให้แก่นักศึกษา 2. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และกระตุ้นความสนใจในการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศให้แก่นักศึกษาผ่านกิจกรรมประกวดความสามารถทางภาษาอังกฤษ - เป้าหมายที่ 4
195 กิจกรรมที่ 13 ความร่วมมือด้าน พันธกิจสากล University Global Engagement (679,200 บาท) 2566 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการ วิจัยและการแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษาร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานต่างประเทศ 1. เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศอย่างน้อย 1 เครือข่าย 2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการทำความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา - สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
196 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล ต่อต้านการทุจริตในองค์กร (14,800 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากร ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสำคัญในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร 2.เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม มีส่วนร่วมในการสร้างค่านิยมองค์กรคุณธรรม สามารถนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จ และต่อต้านการทุจริตในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล 1.เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2.เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,800 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,800/120 = 40 บาท/คน เป้าหมายที่ 16
197 กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสถาบัน (4,400 บาท) 2566 1 เพื่อรับฟังแนวคิดของผู้บริหารและบุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา 2 เพื่อรับฟังแนวคิดจากผู้มีส่วนได้เสียซึ่งเป็นบุคคลภายนอกหน่วยงาน 3 เพื่อนำข้อคิดเห็นจากการระดมความคิดเห็นมาปรับปรุงและวางแผนกลยุทธในการดำเนินงาน - เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร/บุคลากร/ตัวแทนจากหน่วยงานภายใน จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : มีการทบทวนและปรับปรุงแผน ไม่น้อยกว่า 2 ฉบับ - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 4,400 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 4,400 /25 = 176 บาท/คน เป้าหมายที่ 17
198 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความปลอดภัยของห้อง ปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (33,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงการใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องและเกิดความปลอดภัยมากที่สุด 3. เพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติภัยสารเคมีขึ้นในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจของระบบ ChemInvent และระบบปฏิบัติการ ESPReL Checklist - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีผลการทดสอบความรู้เป็นที่พอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33,800 /50 = 676 บาท /คน เป้าหมายที่ 4
199 กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การโต้ตอบสถานการณ์ ฉุกเฉินจากการทำงานในห้อง ปฏิบัติการ (23,700 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของการโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดจากการทำงานในห้องปฏิบัติการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้วิธีการปฏิบัติตัวเมื่อได้รับเหตุอันตรายและลดความสุญเสียที่ร้ายแรง 1. เป้าหมายเชิงผลผลิต ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดจากการทำงานในห้องปฏิบัติการ 2. เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดจากการทำงานในห้องปฏิบัติการมาปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์จริง เป้าหมายที่ 4
200 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจติดตามคุณภาพ ภายในของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในห้องปฏิบัติการ (44,000 บาท) 2566 1 เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดหรือมาตรฐานที่เกี่ยวข้อ 2 เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ 3 เพื่อให้เห็นว่ากิจกรรมต่างๆในระบบคุณภาพมีผลลัพธ์สอดคล้องกับแผนหรือเกณฑ์ที่กำหนด 4 เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการกระทำที่สอดคล้องกับเอกสารของระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการปรับปรุงเอกสารระบบคุณภาพให้มีความสอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,800 /30 = 793.33 บาท /คน เป้าหมายที่ 4
201 กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (คคศ.) (19,200 บาท) 2566 1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้และทักษะทางปัญญาในการจัดทำสื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนในชุมชน 2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตอาสาและการมีจิตสาธารณะ การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม 3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะความเป็นครูทุกด้าน 4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ: 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 35,200 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 35,200 /100 = 352 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
202 กิจกรรมที่ 21 จัดงานการประกวด คลิปวีดีโอเกี่ยวกับวิถีเราชาวปักษ์ใต้ (คมส.) (55,400 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้สร้างผลงานในการทำคลิปวีดีโอสารคดีวิถีชาวปักษ์ใต้ 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมในวันประกาศผลมีความรู้และเข้าใจถึงประโยชน์ต่อการอนุรักษ์วิถีชาวปักษ์ใต้ให้คงอยู่ต่อไป เชิงปริมาณ - นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทุกหลักสูตร จำนวน 387 คน จากเป้าหมาย 400 คน คิดเป็น 96.75% เชิงคุณภาพ - นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงความสามารถในการสร้าง ตัดต่อ การทำคลิปวีดีโอสารคดีชาวปักษ์ใต้ออกมาอย่างชัดเจน คิดเป็น 95% - นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทุกชั้นปีร่วมชมการประกาศผล และเข้าใจถึงวิถีของชาวปักษ์ใต้เพิ่มมากขึ้น คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.39 - นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม คิดเป็น 92% เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 55,400 บาท เป้าหมายที่ 4
203 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างจิตสำนึกอนุรักษ์วัฒนธรรม (ควจ.) (64,300 บาท) 2566 1.เพื่อสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์วัฒนธรรม 2. เพื่อให้ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม 3.เพื่อให้นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 500 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80และมีจุตสำนึกในการนุรักษ์ วัฒนธรรมท้องถิ่นและมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์ในระดับ 3.50 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 64,300 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 64,300 / 500 = 128.60 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
204 กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านการตลาดวัฒนธรรมท้องถิ่น By MGT (ควจ.) (43,000 บาท) 2566 1.เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) 3.เพื่อให้นักศึกษาร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) 4.เพื่อบูรณาการด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ โดยฝึกปฏิบัติเป็นผู้ประกอบการท้องถิ่น ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) รวมทั้งบูรณาการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 43,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 43,000 /200 = 215 บาท/คน เป้าหมายที่ 11
205 กิจกรรมที่ 27 จัดงานซอแรงเกี่ยว ข้าว สืบสาน รักษา ต่อยอด ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (โคกหนองนา โมเดล) (วิทยาเขตสตูล) (5,000 บาท) 2566 2.1 เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้การเก็บเกี่ยวข้าว 2.2 อนุรักษ์และสืบสานประเพณีซอแรงให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จัก ๕.๑ เชิงปริมาณ ๕.๑.๑ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 คน จากเป้าหมาย ๕๐ คน ๕.๑.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวข้าวให้แล้วเสร็จจำนวน ๕ แปลงตามกำหนดการ ๕.๒ เชิงคุณภาพ ๕.๒.๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม ๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประเพณีซอแรงเกี่ยวข้าว และเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ จากแบบทดสอบ ๕.๓ เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ๕.๔ เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๔,๕๐๐ บาท ๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ๔,๕๐๐ /๕๐ = ๙๐ บาท/คน เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 17
206 กิจกรรมที่ 29 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจับจีบผ้าและผูกผ้าสำหรับครู (ควท.) (3,300 บาท) 2566 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เรียนรู้วิธีการ หลักการและขั้นตอนการจับจีบผ้าและผูกผ้าเพื่อสร้างงาน และเพิ่มมูลค่าของผลงานให้เกิดความสวยงาม 1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 46 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,300 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,300/46 = 71.74 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
207 กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดดอกไม้สำหรับครู (ควท.) (11,800 บาท) 2566 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เรียนรู้วิธีการ หลักการและขั้นตอนการจัดดอกไม้เพื่อสร้างงาน และเพิ่มมูลค่าของผลงานให้เกิดความสวยงาม 1 เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 84 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,800/84 = 140.48 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
208 กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท) 2566 1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ 2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น 3. เพื่อทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 1.เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80  2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3 .เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 78,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 78,600/200 = 393 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
209 กิจกรรมที่ 34 จัดประกวดด้าน ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย (คทอ.) (39,000 บาท) -ตราสัญลักษณ์/โลโก้คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม -ดอกไม้ประจำคณะฯ -ผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ในด้านทำนุฯ 2566 1. เพื่อส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมและความเป็นไทย 2. เพื่อส่งเสริมงานบูรณาการงานทะนุศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยผ่านการจัดประกวดผลงานต่าง ๆ 1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5.1 กิจกรรมที่ 1; 13,000/200 = 65 บาท/คน 5.2 กิจกรรมที่ 2; 13,000/200 = 65 บาท/คน 5.3 กิจกรรมที่ 3; 13,000/200 = 65 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
210 กิจกรรมที่ 1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อ การตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ” (สวพ.) (7,200 บาท) 2566 1. เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนบทความวิจัยแก่บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทำวิจัยในปริมาณมากขึ้น 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 7,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 7,200/100 = 72 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
211 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อ เสนอของบประมาณตามแผนยุทธ ศาสตร์ของประเทศและแหล่งทุน วิจัยภายนอก (สวพ.) (18,000 บาท) 2566 1.เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนข้อเสนอการวิจัยแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัย 2.เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทำวิจัยในปริมาณที่มากขึ้น 3.เพื่อพัฒนาศักยภพาของนักวิจัย - บุคลากรและอาจารย์ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อลยะร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
212 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์” (สวพ.) (59,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 3. เพื่อให้คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจในการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ - เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 50,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 50,600 /180 = 281.11 บาท/คน เป้าหมายที่ 9
213 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนแบบข้อเสนอ โครงการวิจัยเพื่อขอรับรอง จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา” (สวพ.) (10,200 บาท) 2566 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา - เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 9,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 9,800 /100 = 98 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
214 กิจกรรมที่ 9 จัดงานประชุม วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 5 (คมส.) (100,000 บาท) 2566 1. เพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักวิจัย และผู้สนใจได้นำเสนอและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการสู่สาธารณชนและชุมชนวิชาการเพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อให้คณาจารย์ นิสิตนักศึกษา นักวิจัย ผู้สนใจ และผู้ทรงคุณวุฒิได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นประสบการณ์อันจะนำไปสู่การพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3. เพื่อให้คณะได้รวบรวมบทความเพื่อจัดพิมพ์ในรูปแบบของเอกสารทางวิชาการ เชิงปริมาณ 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. ผู้เข้าร่วมโครงการนำเสนอผลงาน และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการสู่สาธารณชน และชุมชนวิชาการได้ ไม่น้อยกว่า 50 บทความ 3. คณะฯ มีเครือข่ายเข้าร่วมงานวิชาการ ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยงาน 4. คณะฯ มีบทความวิจัยตีพิมพ์และเผยแพร่ในระดับชาติ ไม่น้อยกว่า 50 บทความ เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรม หรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมิน 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘0 จากผลการประเมิน 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมิน เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
215 กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (ควจ.) (57,000 บาท) 2566 1 เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของบุคลากร 2 เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการ เชิงปริมาณ : บุคลากรจำนวน 20 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 55,000 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 55,200/20 = 2,760 บาท/คน เป้าหมายที่ 9
216 กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกร่างคำขอทรัพย์สิน ทางปัญญา (ควท.) (16,900 บาท) 2566 1. เพื่อสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการของคณาจารย์ในส่วนของงานวิจัย/อนุสิทธิบัตร 2. ส่งเสริมให้มีผลงานวิจัยนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่จดอนุสิทธิบัตร/สิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น 3. เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยคุณภาพดี และดีมากตามเกณฑ์การของตำแหน่งทางวิชาการ - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,900 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,900/30 = 563.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
217 กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงาน กับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.) (12,000 บาท) 2566 1 เพื่อให้เกิดการส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยกับชุมชนมากขึ้น 2 ส่งเสริมให้มีเครือข่ายการทำงานวิจัยกับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 3 เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยที่ท้องถิ่นต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,980 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,980/30 = 399.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
218 กิจกรรมที่ .. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อ พัฒนาองค์กร (R2R) เพื่อนำเสนอ ในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ” 2566 1. เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนบทความวิจัยเพื่อพัฒนาองค์กรแก่บุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทำวิจัยในปริมาณมากขึ้น 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุน 1. เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ด้านการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยและบทความวิจัย R2R - ผู้เข้าร่วมโครงการมีการทำวิจัย R2R ในปริมาณมากขึ้น 2. เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) - สร้างบุคลากรสายสนับสนุนที่สามารถผลิตผลงานวิจัย R2R เพื่อนำเสนอในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ - มีจำนวนโครงการวิจัยและบทความวิจัย R2R ที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยและได้นำเสนอในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติเพิ่มมากขึ้น เป้าหมายที่ 4
219 กิจกรรมที่ 4 อบรมการทำ วิทยานิพนธ์ และการค้นคว้า อิสระของนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาให้เป็นไปตามคู่มือ และรูปแบบของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา (ฉบับปี 2565) (6,600) 2566 2.1 เพื่อให้การจัดทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีความเรียบร้อย ถูกต้องตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย 2.2 นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้รับความรู้ในการจัดทำรูปแบบวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระถูกต้องตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย - เชิงปริมาณ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,800/80 = 22.5 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
220 กิจกรรมที่ 2 ฝึกการปฏิบัติวิชาชีพ การบริหารการศึกษา (31,400 บาท) 2.1 สัมมนาก่อนฝึกการปฏิบัติ วิชาชีพการบริหารการศึกษา 2.2 สัมมนาระหว่างฝึก การปฏิบัติวิชาชีพการบริหาร การศึกษา 2566 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา 2 เพื่อเตรียมกระบวนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา 3 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา 4 เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา 1 เชิงปริมาณ : 1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 ผู้บริหารพี่เลี้ยงในสถานศึกษา จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ : 2.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 2.2 ผู้บริหารพี่เลี้ยงในสถานศึกษา มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,580 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 18,580 / 58 = 320.34 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
221 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ความเป็นครูและครูจิตอาสา สำหรับนักศึกษา รหัส 65 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (57,600 บาท) 2566 1. เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู 2. เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู 3. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะการมีจิตอาสาในการทำงานเพื่อส่วนรวมและสังคม 4. เพื่อให้นักศึกษามีจิตอาสาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 65 จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู นำความรู้เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ครู วัดจากการทำแบบสอบถามการนำไปใช้ มีค่าเฉลี่ยในระดับมากขึ้นไป เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 57,600 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 57,600/24 = 2,400 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
222 กิจกรรมที่ 6 เปิดโลกทัศน์ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์การเป็น นักพัฒนาหลักสูตรและการสอน (64G) (56,800 บาท) (กิจกรรมคุรุสภา) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางหลักสูตรและการสอนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนกับหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ 2. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้รับความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ 3. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบไปประยุกต๋ใช้กับการปฏิบัติงาน 4. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะและทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 5. เพื่อให้นักศึกษาทำรายงานสรุปผลการศึกษาดูงานและนำเสนอแนวทางการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเองเป็นครูมืออาชีพ เชิงปริมาณ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน จำนวน 33 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 26 คน เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. นักศึกษาปฏิบัติการสอนคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 72,260 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 72,260/ 33 = 2,189.69 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
223 กิจกรรมที่ 10 สัมมนาหลังฝึก ปฏิบัติการสอนในสาขาวิชา เฉพาะ 2 สำหรับผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง รหัส 64 สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน (แบบออนไลน์) (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (7,200 บาท) 2566 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลและข้อเสนอแนะจากผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง ประสบการณ์การนิเทศนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 2 2. เพื่อนำข้อเสนอแนะจากการสัมมนาไปใช้ในการวางแผนการฝึกปฏิบัติการสอนของนักศึกษาในหลักสูตร - เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยงที่นิเทศนักศึกษา รหัส 64 จำนวน 66 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ให้ข้อมูลและให้ข้อเสนอแนะการฝึกปฏิบัติการสอนของนักศึกษา และมีความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการ วัดจากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ - เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 7,200/66 = 109.09 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
224 กิจกรรมที่ 11 ปฐมนิเทศและ อบรมเชิงปฏิบัติการการปฏิบัติ การสอนในชั้นเรียนก่อนออก ฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชา เฉพาะ1 สำหรับนักศึกษา รหัส 65 สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (23,700 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 1 2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา - เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 65 จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการฝึกปฏิบัติ การสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ - เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 23,700 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 23,700 / 24 = 987.5 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
225 กิจกรรมที่ 12 ประชุมชี้แจง ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง และ อาจารย์นิเทศก์ นักศึกษา ก่อนออกฝึกปฏิบัติการสอน ในสาขาวิชาเฉพาะ 1 สำหรับนักศึกษา รหัส 65 (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (18,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์มีความรู้ความเข้าใจในการนิเทศและการประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา 2. เพื่อให้ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์มีทักษะในการนิเทศและการประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา - เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยงที่นิเทศนักศึกษา รหัส 65 จำนวน 66 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการนิเทศและประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และมีความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการ วัดจากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ - เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 18,000 / 66 = 272.73 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
226 กิจกรรมที่ 2 รับสมัครนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (141,000 บาท) 2.1 รับสมัครนักศึกษา 2.2 สอบข้อเขียนนักศึกษา 2.3 สอบสัมภาษณ์นักศึกษา 2566 2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 เข้าใจในกระบวนการสอบคัดเลือกนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 ทราบกระบวนการสอบสัมภาษณ์และทราบรายละเอียดที่เกี่ยวข้องในการเข้าศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู - เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศึกษาเป้าหมายที่สมัครเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย - เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 141,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 141,000/500 = 282 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
227 กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศและสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียม ความพร้อมเข้าศึกษา นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (71,200 บาท) 2566 1. เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจการเตรียมความพร้อมเป็นนักศึกษา เข้าใจในกระบวนการเรียนรายวิชา เกณฑ์การจบหลักสูตรและการฝึกปฏิบัติการสอน 2. เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านการปฏิบัติงานและปฏิบัติตน ตามประกาศคณะกรรมคุรุสภา - เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 71,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 71,200/180 = 395.55 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
228 กิจกรรมที่ 11 อบรมและสัมมนา เชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความ พร้อมในการสอบภาษาอังกฤษ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนีย บัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (44,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ 2. เพื่อนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ได้พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมสอบใบประกอบวิชาชีพ - เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 44,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 44,800/180 = 248.88 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
229 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ วงเครื่องสาย Satit String Ensemble (218,200 บาท) 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้ความรู้ ทักษะการปฏิบัติ เครื่องดนตรีไวโอลิน วงเครื่องสาย Satit String Ensemble 2.2 จัดงานคอนเสิร์ต วงเครื่องสาย Satit String Ensemble 2566 2.1 เพื่อเสริมสร้างความรักความสามัคคีขึ้นภายในองค์กร โดยมีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 2.2 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมยามว่าง สร้างความสุขความจรรโลงใจด้วยดนตรี และศิลปะการแสดง 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงออกต่อหน้าสาธารณชนได้อย่างมีความสุข 2.4เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีให้กับนักเรียน 2.5 เพื่อจัดหารายได้พัฒนาส่งเสริมด้านการศึกษาของโรงเรียน เป้าหมายเชิงผลผลิต นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 60 คน ที่เป็นสมาชิกในวงเครื่องสาย Satit String Ensemble มีทักษะกระบวนการดนตรั สามารถบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีไวโอลิน เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความรักด้านดนตรี สุนทรียภาพ มีความสามัคคีในหมู่คณะ สามารถสร้างสรรค์บทเพลงให้เป็นที่ประจักษ์แก่บุคคลภายนอก เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
230 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตและ การเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน (638,000 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมทักษะความรู้ความสามารถทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี (หุ่นยนต์) ให้นักเรียน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงต่อหน้าสาธารณะชนได้อย่างมีความสุข เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่มีความสนใจเรียนเสริมทักษะ จำนวนทัั้งสิ้น 332 คน (จำนวน 166 คน) ต่อ 1 ภาคเรียน) เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
231 กิจกรรมที่ 8 รับสมัครนักเรียน เข้าเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (35,900 บาท) 2566 1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักเรียนใหม่ประจำปีการศึกษษ 2566 2. เพื่อให้การรับสม้ครนักเรียนใหม่เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีการรับสม้ครนักเรียนใหม่ 3 ระดับ ดังนี้ คือ ระดับปฐมวัย(บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนเข้าเรียนในระดับชั้นที่เปิดรับสม้คร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
232 กิจกรรมที่ 9 กีฬาสีสาธิตเกมส์ (66,100 บาท) 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี 2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย ส่งเสริมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3. เพื่อสร้างสุขลักษณะนิสัยที่ถูกต้องให้แก่ผู้เรียน และสร้างความรุ้รักสามัคคีในองค์กร เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 589 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ในด้านกีฬา และกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 66,100 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 66,100 /589 เท่ากับ 112.20 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
233 กิจกรรมที่ 12 ปัจฉิมสาธิต รุ่นที่ 33 สำหรับนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (23,200 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา 2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในความสำเร็จ 3. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างครู นักเรียน และผู้ปกครอง 4. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียนรุ่นต่อไป เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 66 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 23,200 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,200 /66 เท่ากับ 351.22 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
234 กิจกรรมที่ 13 ประชุมเชิง ปฏิบัติการ การจัดทำแผนปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (15,500 บาท) 2566 1. เพื่อทบทวนผลการดำเนินงานแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 2. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 3. เพื่อให้ผู้บริหาร และบุคลากรได้รับทราบและมุ่งปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันเพื่อตอบสนองต่อวิสัยทัศนื พันธกิจของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงชาได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 43 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้มาจ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ไม้น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4