ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา (55,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ
กระบวนการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู
2. เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการ
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติการ
สอนในสถานศึกษา 1และ 2
(หลักสูตร 4 ปี) |
1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง
และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
(นักศึกษารหัส 63)
จำนวน 170 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (4.1)
2. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง
และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
(นักศึกษารหัส 63)
จำนวน 170 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (4.2)
3. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง
และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
จำนวน 350 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (4.3)
4. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง
และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษา
เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5. มีแนวทางการพัฒนาการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู
จำนวน 1 แนวทาง |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
2 |
กิจกรรมที่ 7 สัมมนาระหว่าง ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (หลักสูตร 5 ปี) รูปแบบออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชัน ZOOM Cloud Meetings (300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน
3. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการเขียนบทความวิจัย
4. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เรื่องการขอขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพครูด้วยตนเอง |
1. นักศึกษาหลักสูตร 5 ปี รหัส 61E จำนวน 265 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาทราบถึงขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพครูไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
3 |
กิจกรรมที่ 8 สัมมนาหลังปฏิบัติ การสอนในสถานศึกษา 2 (หลักสูตร 5 ปี) (39,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2. เพื่อให้นักศึกษาประกวดและ
นำเสนอผลงานวิจัยในชั้นเรียน
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น
ครูที่ดีในอนาคต |
1. นักศึกษาหลักสูตร 5 ปี
รหัส 61E จำนวน 265 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
4 |
กิจกรรมที่ 9 ปฐมนิเทศนักศึกษานักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 (หลักสูตร 4 ปี) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบ
กระบวนการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา 4
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้
เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษา
ปฏิบัติการสอน
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น
ครูที่ดีในอนาคต |
1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี
รหัส 63 จำนวน 285 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ
แนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษา
ปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
5 |
กิจกรรมที่ 10 ปฐมนิเทศนักศึกษา ก่อนออกปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา 1 (หลักสูตร 4 ปี) (77,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการ
ปฐมนิเทศก่อนออกปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา 1
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้
เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตน
ของครูฝึกสอน
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น
ครูที่ดี |
1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี
รหัส 65 จำนวน 341 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ
บุคลิกภาพและการวางตนของ
ครูฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
6 |
กิจกรรมที่ 11 ปฐมนิเทศนักศึกษา ก่อนออกปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา 2 (หลักสูตร 4 ปี) (46,400 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการ
ปฐมนิเทศก่อนออกปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา 2
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้
เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตน
ของครูฝึกสอน
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น
ครูที่ดี |
1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี
รหัส 64 จำนวน 319 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ
บุคลิกภาพและการวางตนของ
ครูฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
7 |
กิจกรรมที่ 12 สัมมนาระหว่าง ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 (20,500 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2. เพื่อให้นักศึกษาได้สัมมนาและ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโครงการ
และการวิจัยในชั้นเรียน
3. เพื่อให้นักศึกษาได้รับแนวทาง
การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติการสอน
4. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น
ครูที่ดีในอนาคต |
1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี
รหัส 63 จำนวน 285 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. นักศึกษาได้รับทราบแนวทาง
การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
8 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ (12,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบาย
และประเมินทักษะ ความพร้อม
ของตนเองก่อนฝึกงาน
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ
สามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติ
การสร้างภาพลักษณ์ให้เป็น
นักศึกษาฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิด
ความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1. นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ฯ
ชั้นปีที่ 4 ภาค กศ.บป.
จำนวน 66 คน เข้าร่วมกิจกรรม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจ
ถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำ
ความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์
และแก้ป้ญหาในการฝึกประสบการณ์ฯ
ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
9 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาเสริมสร้าง ศักยภาพผู้นำนักศึกษาและ การประกันคุณภาพ (49,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก
2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีภาวะผู้นำและรู้จักการปรับตัวในสังคม
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ : - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 80 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาที่เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 49,560 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 49,560/80 = 619.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
10 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและ ประกวดแข่งขันผู้ประกอบการ รุ่นใหม่ (40,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสร้างและเพิ่มพูนความรู้
ความเข้าใจ และแนวทางในการ
เป็นผู้ประกอบการให้แก่นักศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้
และมีทักษะ สามารถประยุกต์
ความรู้ด้านการจัดการทางธุรกิจ
ในการเป็นผู้ประกอบการได้
3. เพื่อเปิดพื้นที่ให้นักศึกษาแสดง
ศักยภาพและความสามารถใน
การเป็นผู้ประกอบการ สร้างแรง
บันดาลใจ เกิดเป้าหมายในการ
เรียนรู้เพื่อก้าวสู่การเป็น
ผู้ประกอบการ |
1. นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ
สนใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
จำนวน 120 คน
2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมี
ความรู้ความเข้าใจในการเป็นผู้
ประกอบการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. นักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวด
อย่างน้อย 15 แผนธุรกิจ
4. นักศึกษาผ่านการคัดเลือกจาก
การประกวด จำนวน 8 กลุ่ม
5. นักศึกษาสามารถส่งผลิตภัณฑ์
ต้นแบบเข้าร่วมประกวดในโครงการ
อย่างน้อย 8 กลุ่มผลิตภัณฑ์
6. นักศึกษาสามารถเป็นผู้ประกอบ
การได้อย่างน้อย 1 ราย |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
11 |
กิจกรรมที่ 3 การแสดงผลงานของนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์สู่ สาธารณชน (68,000 บาท) 3.1 การแสดงผลงานด้านดนตรีไทย 3.2 การแสดงผลงานนาฏยรังสรรค์สู่ชุมชน 3.3 การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้วยการแสดงดนตรีสู่สาธารณชน |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาและฝึกทักษะให้กับนักศึกษาในการจัดการแสดงดนตรีและนาฏศิลป์
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำเสนอและเผยแพร่ผลงานด้านดนตรีและนาฏศิลป์สู่สาธารณชน
3. เพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะของนักศึกษา |
1. นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ชั้นปีที่ 1-4 สาขาวิชาดนตรีไทย สาขาวิชานาฏศิลป์และการแสดง และสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก
2.ได้เผยแพร่ผลงานออกสู่สาธารณชนอย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
12 |
กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานในสถาน ประกอบการด้านการออกแบบ (20,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงด้านการออกแบบจากผู้ประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน |
1. นักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบชั้นปีที่ 1 จำนวน 40 คน
2. นักศึกษาได้มีทักษะและประสบการณ์จาการศึกษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
13 |
กิจกรรมที่ 3 สร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างชาติ (113,600 บาท) |
2566 |
1. ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิต
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
ทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา
2. ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษา
ในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น
3. เพื่อเสริมสร้างทักษะภาษา
ต่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพ
ทางภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษา |
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
2. มี MOU กับหน่วยงานต่างชาติอย่างน้อย 1 MOU |
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
14 |
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
 |
15 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเตรียม ความพร้อมก่อนออกฝึก ประสบการณ์วิชาชีพฯ (35,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้
และตระหนักถึงความสำคัญ
ของการฝึกงาน
2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้
ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการ
ฝึกงาน รวมถึงแนวทางที่จะ
เรียนรู้ชีวิตการปฏิบัติงานจริง
และเข้าใจถึงสถานการณ์
ที่จะได้รับในระยะเวลา
ของการฝึกงาน/สหกิจ |
1. อาจารย์และนักศึกษา ชั้นปีที่ 4
จำนวน 240 คน เข้าร่วมโครงการ
อย่างน้อย ร้อยละ 80
2. ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตาม
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ
คุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
3. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ
ในกระบวนการ ขั้นตอน การ
ประเมินผล และเอกสารต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการออกฝึกประสบ-
การณ์วิชาชีพ/สหกิจ อย่างน้อย
ร้อยละ 80 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 - 2.2
(ตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตร) |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
16 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (2,990,200 บาท) |
2566 |
เพื่อพัฒนาบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยให้ได้รับความรู้
ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของ
ตนเองและพัฒนาให้เกิดความรัก
ความสามัคคี มีเป้าหมายร่วมกัน
รู้จักพฤติกรรมของตนเองมีทัศนคติ
ที่ดีต่องาน ผู้บริหาร หัวหน้างาน
และผู้ร่วมงานมีการสื่อสารที่ดี
เข้าใจถึงวัฒนธรรมขององค์กร
พัฒนาอารมณ์ EQ ยอมรับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่นรู้จักการ
ทำงานเป็นทีม |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 285 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,765,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,765,400 / 285 = 6,194.38 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
17 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติ การจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการ สำนักส่งเสริม วิชาการและงานทะเบียน (5,900 บาท) |
2566 |
เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์และ
แผนปฏิบัติราชการ ของสำนัก-
ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน |
1. บุคลากรสำนักส่งเสริมวิชาการ
และงานทะเบียน จำนวน 21 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. มีแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติ
ราชการ สำนักส่งเสริมวิชาการและ
งานทะเบียน อย่างน้อย 1 แผน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
18 |
กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติ การเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา (SKRU OPEN HOUSE) (280,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว ได้รับทราบข้อมูลเพื่อนำไปแนะนำให้กับนักเรียนทราบต่อไป
2. เพื่อให้นักเรียน ครู/อาจารย์แนะแนว จากโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดภาคใต้ ได้มีโอกาสพบปะพูดคุยและเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
3. เพื่อให้คณะทั้ง 8 คณะ สามารถเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ ได้กว้างขวางรวดเร็วและบรรลุตามกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น
4. เพื่อประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566
5. เพื่อสร้างเครือข่ายครู/อาจารย์แนะแนว ในเขตพื้นที่โรงเรียนจังหวัดภาคใต้
|
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
- เชิงปริมาณ : - นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว จำนวน 1,280 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - นักเรียน นักศึกษา สมัครสอบและเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
เป็นไปตามจำนวนแผนรับและคุณสมบัติการรับสมัครนักศึกษาของหลักสูตรและมหาวิทยาลัยกำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
- นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว จากโรงเรียนมัธยมศึกษา หรือวิทยาลัยอาชีวศึกษา ได้รับทราบข้อมูลการประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 280,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 280,000/1,280 = 218.75 บาท/คน
เป้าหมาย
1. เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
1.1 นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว รับทราบการประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการรับสมัครนักศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2 ครูแนะแนวสามารถนำรายละเอียด เอกสารประชาสัมพันธ์หลักสูตร ขั้นตอนวิธีการรับสมัคร แจ้งแก่นักเรียนที่ไม่ได้มาร่วมในโรงเรียนให้รับทราบได้
2. เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
2.1 นักเรียนสมัครเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาตามแผนรับ
2.2 สร้างเครือข่ายครู/อาจารย์แนะแนว ในเขตพื้นที่โรงเรียนจังหวัดภาคใต้
2.3 นักเรียน นักศึกษา และครู/อาจารย์แนะแนว ในเขตพื้นที่โรงเรียนจังหวัดภาคใต้ รับทราบผลงาน ชื่อเสียงและให้ความสนใจติดตามข่าวสารการรับสมัครของมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้นในปีถัดไป
|
เป้าหมายที่ 4 |
19 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ การประยุกต์ใช้ชุด Software สำหรับงานสำนักงาน (4,200 บาท) |
2566 |
เพื่อพัฒนาทักษะ การประยุกต์ใช้
ชุด Software สำหรับงานสำนัก
งานให้แก่บุคลากรสายสนับสนุน
|
1. บุคลากรสายสนับสนุน
(หัวหน้าสำนักงาน นักวิชาการคอม
เจ้าหน้าที่ธุรการ) จำนวน 30 คน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะ
การประยุกต์ใช้ชุด Software
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
20 |
กิจกรรมที่ 1 บรรยายเรื่อง แนะแนวศึกษาต่อในระดับ อุดมศึกษาสำหรับนักเรียนที่มี ความต้องการพิเศษ (25,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ
ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา
2. เพื่อเตรียมความพร้อมใน
การสอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดม
ศึกษา
3. เพื่อสร้างเครือข่ายการทำงาน
ด้านการศึกษาพิเศษ
|
1. บุคลากรทางการศึกษาและ
ผู้ปกครอง 60 คน
นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
จำนวน 60 คน รวม 120 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้
ความเข้าใจในเนื้อหาไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
21 |
กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง พระราชบัญญัติส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับ คนพิการ (5,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้
ความเข้าใจในเรื่องพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
สำหรับคนพิการ
2. เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถ
นำความรู้เกี่ยวกับกฎหมายของ
คนพิการนำไปปรับใช้ในชีวิต
ประจำวันได้ |
1. นักศึกษาพิการ จำนวน 30 คน
เข้าร่วมโครงการไม้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้
ความเข้าใจในเนื้อหาไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
22 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเสริมสร้างทักษะในการ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและ รายงานการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (36,900 บาท) |
2566 |
1. บุคลากรสายวิชาการและสาย
สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน
เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน
ตามแผนการบริหารความเสี่ยง
โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
ร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้
ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในหน่วยงานละ 1 แผน
รวม 15 แผน |
1. บุคลากรสายวิชาการและสาย
สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน
เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน
ตามแผนการบริหารความเสี่ยง
โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
ร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้
ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในหน่วยงานละ 1 แผน
รวม 15 แผน |
เป้าหมายที่ 16 |
23 |
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
-เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล
-เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
-เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท
-ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
24 |
กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงาน การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการกลาง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สู่มาตรฐาน ISO (3,400 บาท) |
2566 |
เพื่อเตรียมความพร้อมการ
จัดตั้งห้องปฏิบัติการกลาง
ที่ได้รับมาตรฐาน ISO |
1. คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่
เข้าร่วมโครงการ จำนวน 6 คน
2. คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่
ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ
มาตรฐาน ISO ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
25 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาศักยภาพสู่เส้นทางอาชีพ (14,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาและศิษย์เก่า
ได้เข้าถึงช่องทางการสมัครงาน
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบและ
เข้าใจทิศทางตลาดแรงงาน
และการศึกษาต่อในอนาคต
3. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลัก
การเขียน Resume เพื่อการ
สมัครงานและสามารถนำไปใช้ได้ |
1. นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่คาดว่าจะ
สำเร็จการศึกษา ศิษย์เก่า และ
ผู้สนใจทั่วไป จำนวน 1,000 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจทิศทาง
ตลาดแรงงาน และการศึกษาต่อ
ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ
เขียน Resume เพื่อการสมัครงาน
ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
26 |
กิจกรรมที่ 5 ทบทวนและจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงาน อธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และแผนกลยุทธ์ทางการเงินประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 (4,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ
สำนักงานอธิการบดีให้สอดคล้อง
กับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
2. เพื่อให้หน่วยงานภายใน
สำนักงานอธิการบดีนำแผน
ยุทธศาสตร์ไปเป็นกรอบในการ
ดำเนินงานและทำให้บรรลุวิสัยทัศน์
ของสำนักงานอธิการบดีที่กำหนดไว้ |
1. มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้อง
กับแผนยุทธศาสตร์ของ
มหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ
2. มีแผนยุทธศาสตร์กลยุทธ์ทาง
การเงิน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 - 2570 จำนวน 1 ฉบับ
3. บุคลากรสำนักงานอธิการบดี
จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความ
พึงพอใจในการร่วมทบทวนและ
จัดทำแผนยุทธศาสตร์
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 |
 |
27 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างทักษะการทำงานและ การเป็นผู้ประกอบการ (ปัจฉิมนิเทศ) (50,000 บาท) |
2566 |
เพื่อเสริมทักษะและจุดประกายให้นักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการทำงานอย่างมืออาชีพ และเข้าสู่การเป็นผู้ประกอบการ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 630 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการทำงานและการเป็นผู้ประกอบการอยู่ในระดับดี
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 49,950 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 49,950/630 = 79.29 บาท |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
28 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาทักษะของนักวิทยาการ คอมพิวเตอร์ในศตวรรษที่ 21 (36,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะ
ของนักวิทยาการคอมพิวเตอร์
ให้แก่นักศึกษา ให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาด
แรงงานและสถานประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการถ่าย
ทอดความรู้และประสบการณ์ทั้ง
ด้านวิชาการและประสบการณ์
การทำงานจริงจากบุคลากรใน
สายงานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
นอกเหนือจากการเรียนการสอนใน
ชั้นเรียน |
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ 27 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการและทำกิจกรรมตามเป้าหมายได้เสร็จสิ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. สามารถดำเนินงานได้ในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
29 |
กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานเปิด โลกทัศน์วิทยาการคอมพิวเตอร์ (131,100 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้เปิดโลกทัศน์
ในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์กับ
หน่วยงานจริงที่ดำเนินงานเฉพาะ
ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
2. เพื่อให้นักศึกษาเห็นแนวโน้มของ
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีจาก
หน่วยงานจริง
3. เพื่อเป็นแนวทางให้นักศึกษาใช้
ในการจัดทำโครงงานทางวิทยาการ
คอมพิวเตอร์
4. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาเรียนรู้
ด้วยตนเองนอกห้องเรียน และนำ
ความรู้ที่ได้จากห้องเรียนมาประยุกต์
ใช้ให้เกิดประโยชน์และพัฒนา
ตนเองให้เข้าสู่ตลาดแรงงานต่อไป |
1. นักศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ชั้นปีที่ 2-3 จำนวน 38 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. นักศึกษามีความพึงพอใจจากการ
ได้รับความรู้ด้านการเปิดโลกทัศน์
แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีจากหน่วยงานจริง
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. คะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 3.2
ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2 คะแนน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
30 |
กิจกรรมที่ 2 อบรม เรื่อง การประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (20,500 บาท) |
2566 |
เพื่อให้คณะกรรมการอำนวยการ
คณะกรรมการดำเนินงาน และ
คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจ
ตระหนักถึงความสำคัญของการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ตลอดจนได้รับทราบแนวทางการ
ประเมินการรวบรวมข้อมูลและ
เตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการ
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 ได้อย่างถูกต้อง |
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอ
ใจในการเข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2. บุคลากรสายวิชาการและ
สายสนับสนุน จำนวน 130 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
3. ผลการตรวจประเมิน ITA
ได้รับคะแนนรวมจากการประเมิน
ร้อยละ 85 |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
31 |
กิจกรรมที่ 13 สัมมนาหลังปฏิบัติ การสอนในสถานศึกษา 1 (หลักสูตร 4 ปี) (24,100 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับรู้เรื่องภารกิจและความมุ่งหมายปฏิบัติการในสถานศึกษา 1 : รอบรู้งานครู
2.2 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดี
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาปฏิบัติการสอน จำนวน 327 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 280 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
นักศึกษาปฏิบัติการสอนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 24,050 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 24,050/327 = 73.55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
32 |
กิจกรรมที่ 15 แข่งขันกีฬา “กล้วยไม้เกมส์” (235,800 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.2 เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างนิสิต นักศึกษา คณาจารย์ และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
2.3 เพื่อเป็นการฝึกให้นักกีฬาและนักศึกษามีการแสดงออกถึงความเป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา เข้าใจเกี่ยวกับกฎกติกาการแข่งขัน
2.4 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ กีฬา และนันทนาการแก่นักศึกษา
2.5 เพื่อให้นักศึกษามีจิตอาสา/มีจิตสาธารณะ/การบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม
2.6 เพื่อให้นักศึกษาครูทำกิจกรรมเสริมความเป็นครูตามที่คุรุสภากำหนด
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 นักศึกษาได้รับการพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาที่จัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.3 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 235,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 235,800/150 = 1,572 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
33 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างอัตลักษณ์พัฒนา ทักษะการคิดและเพิ่มศักยภาพ นักศึกษาครูด้านเทคโนโลยีใน ศตวรรษที่ 21 (30,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้นักศึกษามีจิตอาสา เสียสละ และบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม
3 เพื่อส่งเสริมทักษะทางปัญญาในการเตรียมความพร้อมด้านภาวะผู้นำทั้งในด้านความรู้ ทัศนคติ และทักษะการทำงาน
4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
5 เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน
|
1 เชิงปริมาณ: ตัวแทนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ:
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 30,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 30,800 /150 = 205.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
34 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น (81,000 บาท) |
2566 |
การลูกเสือเป็นกิจกรรมสร้างเสริมเยาวชนทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ ศีลธรรม และสังคม ให้มีความพร้อมในการดูแลตนเองและช่วยเหลือสังคม โดยมีกระบวนการของลูกเสืออย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาโดยคณะครุศาสตร์มีความตระหนักถึงภารกิจของครู ซึ่งเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณความคิดของเยาวชน จึงจัดทำโครงการพัฒนานักศึกษาในสาขาการศึกษา โดยมีการบรรจุการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้นให้นักศึกษาได้เรียนและเข้ารับการฝึกอบรมให้สามารถทำหน้าที่ผู้กำกับลูกเสือได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นสาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จึงได้กำหนดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้น เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะต่าง ๆ ของกิจการลูกเสือที่ถูกต้องต่อไป |
- เชิงปริมาณ: มีนักศึกษาจำนวน 480 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ: นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาองค์ความรู้จากการอบรม โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
: นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
: นักศึกษาคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลาสามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 81,000บาท
-ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
35 |
กิจกรรมที่ 22 ส่งเสริมทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สรรค์สร้างครู |
2566 |
2.1 เพี่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.2 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ ที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 22,950 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 22,950 /34 = 675 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
36 |
กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาเด็กปฐมวัยด้วย 6 กิจกรรมหลัก บูรณาการผ่าน ทักษะสมอง EF (39,800 บาท) |
2566 |
1. เสริมสร้างสมรรถนะครูปฐมวัยเพื่อนำไปประกอบวิชาชีพในอนาคต
2. นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับทักษะเสริมสมรรถนะเพื่อนำไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคต
3. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำ 6 กิจกรรมหลักบูรณาการผ่านทักษะสมอง EF สู่ห้องเรียนระดับปฐมวัย
4. นักศึกษาสามารถนำกิจกรรม 6 กิจกรรมหลักบูรณาการผ่านทักษะสมอง EF ไปปฏิบัติจริงได้
|
-เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 2-4 จำนวน 91 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 87 คน
-เชิงคุณภาพ นักศึกษาเข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อกิจกรรมและมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ
โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
-เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,750 บาท
-ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 39,750/91 = 436.81บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
37 |
กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยใน กิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือ คืนชีพ CPR (25,100 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR
2. เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ และทักษะไประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา จำนวน ๖๕ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,100 /65 = 386.15 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
38 |
กิจกรรมที่ 25 ศึกษาดูงาน เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้านการศึกษาพิเศษ สำหรับครูการศึกษา พิเศษ-ภาษาไทย (27,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีการสอนและเทคนิคการสอนบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติการเรียนการสอนสำหรับบุคคลที่มีความต้องการพิเศษได้ |
1. เชิงปริมาณ
นักศึกษาสาขาการศึกษาพิเศษ - ภาษาไทย จำนวน 26 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 21 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.2 นักศึกษาปฏิบัติการสอนคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,500บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33500/ 26 = 1288.46 บาท / คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
39 |
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดค่ายและการออกแบบ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ (16,900 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์สู่การจัดค่ายหรือกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระยะสั้นให้กับนักเรียนจริง
2.2 เพื่อฝึกฝนและนำผลจากการเรียนรู้ไปประยุกต์สู่การออกแบบวางแผนและปฏิบัติการทางวิชาชีพ
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ จำนวน 30 คน
เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 24 คน
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะการสื่อสาร และการวิเคราะห์เพื่อสร้าง
ความเข้าใจให้กับผู้เรียน ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการสื่อสารในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า
3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการคิด และทักษะเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
40 |
กิจกรรมที่ 28 เสริมสร้างสมรรถนะ ครูภาษาอังกฤษในยุค 4.0 |
2566 |
1. เสริมสร้างสมรรถนะของนักศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาและความต้องการ
ของสังคม
2. นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับทักษะเสริมสมรรถนะการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อนำ
ไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคต
3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการบูรณาการใช้สื่อการสอนกับการเรียนการสอนได้
4. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกประยุกต์ใช้ทักษะการเรียนในยุค 4.0 การออกแบบ และจัดการเรียนรู้ภาษาสู่ชุมชนได้
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยี บูรณาการกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้
|
กิจกรรม 28.1 สัมมนาแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการและอบรมเชิงปฏิบัติการ ""การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4
เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 48 คน
เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 49,200 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 49,200/60 = 820 บาท/คน
กิจกรรม 28.2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดค่ายสร้างสรรค์สื่อภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาในชุมชน นักศึกษาปี 1-2
เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 48 คน
เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 26,300 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,300/60 = 438.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
41 |
กิจกรรมที่ 29 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ ทางด้านสังคมศึกษานอกห้องเรียน (81,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมกับหน่วยงานภายนอก
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์โดยตรงจากนอกห้องเรียน
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 23 คน
2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 90600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 90600/30 = 3020 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
42 |
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติ การ เรื่อง การใช้โปรแกรม CANVA และการเขียน Coding โดยใช้ภาษา Pythom บูรณาการ กับการจัดการเรียนการสอน ในสถานศึกษา (19,700 บาท) |
2566 |
๒.๑ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF)
๒.๒ เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามมาตรฐานสากล
๒.๓ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และวิชาคณิตศาสตร์ที่เป็นภาษาอังกฤษได้
๒.๔ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการเรียนรู้และทักษะอาชีพ เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ในอนาคต
๒.๕ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการสื่อสารสารสนเทศรู้เท่าทันสื่อบูรณาการ STEM
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน ๖๒ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ ที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๑๙,7๐๐ บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ๑๙,7๐๐ /๖๒ = ๓๑๗.๗๔ บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
43 |
กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบูรณาการการวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีกับการ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ใน สถานศึกษา (62,200 บาท) |
2566 |
๒.๑ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามสมรรถนะรายชั้นปี
๒.๒ เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามบริบทสถานศึกษา
๒.๓ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และทักษะอาชีพเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 54 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ ที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 62,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 62,200/54 = 1,151.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
44 |
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างนวัตกรรมทาง จิตวิทยาการปรึกษาและการ แนะแนวในศตวรรษที่ 21 สู่ชุมชน (33,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีความรู้ความเข้าใจในการสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยา
2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีทักษะในการสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวในศตวรรษที่ 21 อย่างถูกต้องเหมาะสม
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถให้บริการวิชาการโดยการถ่ายทอดนวัตกรรมทางจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวสู่ชุมชน
|
ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงปริมาณ
- นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว จำนวน 60 คน เข้าร่วม
โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด
โครงการโดยมีคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย
3.51 คะแนนขึ้นไป
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนน
ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงเวลา
- สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงต้นทุน
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33,000/60 = 550 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
45 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการ ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาคณะครุศาสตร์ (57,800 บาท) 2.3 สัมมนาการจัดการด้านความรู้ด้านการวิจัย (ฝ่ายวิจัย) หัวข้อ |
2566 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสบการณ์เกี่ยวกับองค์ความรู้จากการจัดการความรู้ด้านวิจัย
2.2 เพื่อให้บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการได้มีทักษะการนำฐานความรู้จากการจัดการความรู้ด้านวิจัย
สู่แนวปฏิบัติและสามารถนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานของตนเอง
2.3 เพื่อให้คณะครุศาสตร์มีระบบจัดการความรู้ด้านวิจัยที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้
|
5.1 เชิงปริมาณ
ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
เกิดแนวปฏิบัติและสามารถนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานด้านวิจัยของตนเองที่มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี
5.3 เชิงเวลา
สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 14,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 14,000/60 = 233.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
46 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนการสอน หลักสูตรอิงสมรรถนะ (66,600 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจด้านวิชาการและเทคนิคการสอนแบบสมรรถนะ
2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนให้อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา
2.3 เพื่อเพิ่มทักษะ ระดมความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอบโจทย์หลักสูตรอิงสมรรถนะ
|
5.1 เชิงปริมาณ อาจารย์ผู้สอน จำนวน 65 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 80%
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดทำ มคอ.2 สู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ระดับหลักสูตร สู่การปฏิบัติจริง ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,900/65 = 321.5 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
47 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน (40,000 บาท) |
2566 |
เพื่อให้อาจารย์คณะครุศาสตร์มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน |
1. เชิงปริมาณ
อาจารย์ประจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต 9 หลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนคณะครุศาสตร์ จำนวน 53 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 42 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ กับการทำงาน โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
48 |
กิจกรรมที่ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการ ดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์ (24,700 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์
2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566) และในรอบระยะเวลาสิ้นปีแผนฯ (เมษายน - สิงหาคม 2566)
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 64 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/64 = 232.81 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 17 |
 |
49 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ ศิลปะการจับจีบผ้า และการจัด ดอกไม้ในงานพิธีประเพณีนิยม ต่างๆ (108,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในศิลปะการจับจีบผ้าและจัดดอกไม้ในการจัดงานพิธีต่าง ๆ
2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม
3 เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะทางปัญญาในกระบวนการผูกผ้างานพิธีต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต
4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน
|
1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 3-4 จำนวน 330 คน ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ:
2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.2 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.3 นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 108,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 108,800/330 = 329.70 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
50 |
กิจกรรมที่ 2 น้อมรำลึก พระคุณครูครุศาสตร์ (วันครู) (58,100 บาท) |
2566 |
1 เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติคุณครูและระลึกถึงพระคุณครู
2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม และตระหนักในความสำคัญของวิชาชีพครู
3 เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและประพฤติปฏิบัติตนให้สมกับที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นปูชนียบุคคล
4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF
5 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะทางปัญญาและทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ |
1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 คณาจารย์ และบุคลากร คณะครุศาสตร์ อาจารย์อาวุโสนอกประจำการ และอาจารย์คณะอื่น ๆ จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 280 คน
2 เชิงคุณภาพ:
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพครูและปฏิบัติตนได้เหมาะสม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 58,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 58,100 /360 = 161.39 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
51 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (19,200 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ถึงการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านแบบวิถีไทยของนักศึกษา
2 เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ตรงในการนำการละเล่นพื้นบ้านบูรณาการกับการเรียนการสอนถ่ายทอดลงสู่ชุมชน
3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ กีฬา และนันทนาการ นักศึกษามีคุณสมบัติตรงตามลักษณะความเป็นครู
4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตอาสาและการมีจิตสาธารณะ การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
5 เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบให้แก่นักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 24 คน
2 เชิงคุณภาพ:
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 19,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 19,200 /30 = 640 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
52 |
กิจกรรมที่ 4 เสริมสร้างอัตลักษณ์ ความเป็นครูด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี (50,000 บาท) 4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธ และอิสลาม 4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีวันสงกรานต์ของไทย |
2566 |
4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธ และอิสลาม
1 เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีไทยในโอกาสต่าง ๆ
2 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความสำคัญ ความเป็นมาของประเพณีรวมถึงเรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ที่สำคัญของคนไทย
3 เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีและมีความสนิทสนทกลมเกลียวกันมากขึ้น อันก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม
|
1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ:
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 25,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 25,000/200 = 125บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
53 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมสู่วัยทำงาน (96,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่จำเป็นในการทำงาน
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และสามารถเขียนเรซูเม่ได้อย่างถูกต้อง
3. เพื่อยกย่องนักศึกษาที่มีคุณสมบัติเด่นตามอัตลักษณ์ของคณะเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษารุ่นน้อง
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 450 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1. นักศึกษาได้รับความรู้และทราบถึงคุณสมบัติที่จำเป็นและสามารถเขียนเรซูเม่ได้อย่างถูกต้องในการใช้สมัครงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 96,600 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
54 |
กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานสร้าง เครือข่ายพัฒนาผู้นำนักศึกษา (นอกสถานที่) (123,100 บาท) |
2566 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้งานด้านกิจกรรมนักศึกษา และมีเครือข่ายในการประสานงานด้านกิจกรรมนักศึกษา กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ |
เชิงปริมาณ
- กรรมการสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรม เพื่อมาวางแผนจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่แตกต่างจากเดิมมากขึ้น โดยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
55 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมฝึกปฏิบัติการ เสริมทักษะอาชีพ (21,000 บาท) - การจัดดอกไม้/การจับจีบผ้า - เทคนิคการขายของออนไลน์ - การทำบัญชีและวางแผนการเงิน - บุคลิกภาพ (การแต่งหน้า/การแต่งกาย) - เทคนิคการทำงานเป็นทีม |
2566 |
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะอาชีพเพิ่มขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมนำไปใช้ในการเรียนและชีวิตประจำวัน
|
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการในแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 8๐
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.๒.๑ นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีการประเมินความสามารถของตน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความสามารถของตน ก่อน-หลัง
5.๒.๒ นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความพึงพอใจ
5.2.3 นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีทักษะอาชีพเพิ่มขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือไปต่อยอดในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 21,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : 21,000 = 105 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
56 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้ภาษาอังกฤษทางด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อการสื่อสาร (80,700 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
2 เพื่อส่งเสริมและปรับทัศนคติของนักศึกษาให้มีความพร้อมและสนใจที่จะเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
3 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อความก้าวหน้าของตนเอง
4 เพื่อให้นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดการพัฒนาทางภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่อง
|
1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ: ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 691 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย โดยการ ประเมินผลจากรายชื่อผู้เข้าใช้ระบบ
2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ: นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
- นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
- นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
57 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะทางเทคโนโลยี ดิจิทัล (19,200 บาท) 7.1 การทำธุรกิจออนไลน์ ระหว่างเรียน 7.2 การสร้างสื่อเขียน Content เพื่อการประชาสัมพันธ์ 7.3 การสร้างการ์ตูนแอนนิเมชั่น |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัลและเสริมทักษะการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการทำงานในอนาคต
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
|
5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.1.2 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหา กิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากผลการประเมิน
5.2.2 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
5.2.3 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่ กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,600 = 73 บาท/คน
200
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
58 |
กิจกรรมที่ 8 ศึกษาดูงานด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ภาคปกติ) (324,700 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจได้เปิดมุมและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้องเรียน
2.2 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พบงานที่ตนเองต้องการทำเมื่อจบการศึกษา
2.3 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ตลาดแรงงาน และเตรียมคุณสมบัติเพื่อให้สอดคล้องกับงาน
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.1 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านต่าง ๆ ตามศาสตร์ของแต่ละหลักสูตรได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเตรียมความพร้อมก่อนออกสู่ตลาดแรงงานได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 600,905 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 600,905 บาท = 2,503.77 บาท/คน
240
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
59 |
กิจกรรมที่ 9 9.2 สัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ชั้นปีที่ 4) สามารถสรุปผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนและประสบการณ์การฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ชั้นปีที่ 3) สามารถเกิดความเข้าใจถึงผลและประสบการณ์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์จากรุ่นพี่ก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในอนาคต |
เชิงปริมาณ : เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
เชิงคุณภาพ :
1. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในบทเรียนและประสบการณ์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
2. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะนำแนวทางที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
60 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพนักกิจกรรมสัมพันธ์ ในงานสวัสดิการสังคม (40,300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและฝึกทักษะการเป็นนักกิจกรรมสัมพันธ์ในงานสวัสดิการสังคม
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้มีความพร้อมในการเป็นนักกิจกรรมสัมพันธ์สำหรับการปฏิบัติ
งานสวัสดิการสังคมร่วมกับชุมชน
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะนักกิจกรรม สัมพันธ์จากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน
การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 40,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 40,300 = 442.86 บาท/คน
91
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
61 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาทักษะการเป็น นักสวัสดิการสังคม (30,300 บาท) |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรสวัสดิการสังคมได้ฝึกปฏิบัติการการเป็นนักสวัสดิการสังคมจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานจริง จนเกิดทักษะการเป็นนักสวัสดิการสังคมได้ต่อไป |
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาเข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือ
หัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ
คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการเรียน
และประกอบอาชีพได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 30,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 30,300 = 329.35 บาท/คน
92
|
เป้าหมายที่ 4 |
62 |
กิจกรรมที่ 12 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างคุณลักษณะนักศึกษา จิตภัฏพัฒนาชุมชน (222,600 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อปลูกฝังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับการปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนโดยใช้จิตอาสาเป็นฐาน
2.2 เพื่อสร้างลักษณะเด่นเฉพาะหลักสูตรผ่านคำว่า “นักศึกษาจิตภัฏ”
2.3 เพื่อสร้างกลไกในการสำนึกในปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรในฐานะบรมครูพัฒนาชุมชน
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจิตอาสาจากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน
การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 222,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 222,600 = 636 บาท/คน
350
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
63 |
กิจกรรมที่ 13 เข้าร่วมประชุม วิชาการเครือข่ายการพัฒนาชุมชน ระดับชาติ (101,000 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการเครือข่ายการพัฒนาชุมชนจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการในเวทีระดับชาติ
2.3 เพื่อปลูกฝังและพัฒนานักศึกษาให้มีความรัก มีจิตสำนึกและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมของชาติ
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะนักบริหารและจัดการเครือข่ายจากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน
การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 101,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 101,000 = 2,244.44 บาท/คน
45
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
64 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเตรียมความพร้อมผู้เรียนสู่ การเป็นพลเมืองโลก (13,500 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลก
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ด้านการเรียนรู้การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
2.3 เพื่อให้นักศึกษาต่อยอดความรู้ในการเรียนต่อเพิ่มเติมที่ไม่มีในรายวิชาที่สอนในหลักสูตร
|
5.๑ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 101 คน
เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษมีแผนการเตรียมพร้อมในการเข้าสู่อาชีพเมื่อจบการศึกษา คนละ 1 แผน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 13,500บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 13,500บาท = 133.66 บาท/คน
101
|
เป้าหมายที่ 4 |
65 |
กิจกรรมที่ 15 จัดงาน International Day เรียนรู้วัฒนธรรม (27,100 บาท) 15.1 ประกวด Singing Contest 15.2 แข่งขันแสดงละครสั้น ภาษาอังกฤษ 15.3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัฒนธรรมนานาชาติ 15.4 สัมมนาหัวข้อพิเศษทาง ภาษาอังกฤษ |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางภาษาอังกฤษ
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีแรงจูงใจในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมนานาชาติ
4. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาใช้ทักษะภาษาอังกฤษผ่านบริบทการเรียนรู้วัฒนธรรมนานาชาติ
5. เพื่อฝึกทักษะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
|
5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
5.1.1 : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 190 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
5.1.2 : มีผู้เข้าร่วมแข่งขันประกวด Singing Contest ไม่น้อยกว่า 5 คน และ เข้าร่วมแข่งขันแสดงละครสั้น ไม่น้อยกว่า 4 ทีม
5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
5.2.1 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากผลการประเมิน
5.2.2 : นักศึกษาสร้างชิ้นงานสะท้อนการเรียนรู้วัฒนธรรมนานาชาติส่งอาจารย์ ที่ปรึกษาอย่างน้อยชั้นปีละ 1 ชิ้น
5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
66 |
กิจกรรมที่ 16 ฝึกปฏิบัติการแปลง ประวัติศาสตร์สู่โลกแห่งบอร์ดเกมส์: ปฐมบทนักสร้างสรรค์บอร์ดเกมส์ เพื่อการเรียนรู้เมืองเก่าสงขลา บ่อยาง นอกสถานที่ (7,300 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับการผลิตบอร์ดเกมส์ได้ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ จำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑
มีความรู้ สามารถผลิตบอร์ดเกมส์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 5,718 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 5,718 บาท = 635.33 บาท/คน
๙
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
67 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาต้นทุนจากประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นสำนึกรักบ้านเกิด และทุน ทางวัฒนธรรมนำไปสู่การสร้างสรรค์ ผลงานสื่อสารสังคม ด้วยสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมสมัย และสื่อสังคมออนไลน์ (4,100 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ด้านการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ได้ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑
มีความรู้ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ด้านการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ได้จากการเข้าร่วมอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = ๗,๓๐๐ บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = ๗,๓๐๐ บาท = ๘๑๑.11 บาท/คน
๙
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
68 |
อบรมเชิงปฏิบัติการสิงห์ สมิหลาบ่มเพาะต้นกล้าต้านทุจริต |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริตภายใต้สโลแกน STRONG
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเสนอแผนปฏิบัติการเพื่อต่อต้านการทุจริต ภายใต้สโลแกน STRONG
3 เพื่อให้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีในการส่งเสริมการต่อต้านการทุจริตทุกองค์กร
|
1 เชิงปริมาณ :
1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 258 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำแผนโครงการต่อต้านการทุจริต ภายใต้ สโลแกน STRONG ให้กับชุมชน จำนวนไม่น้อยกว่า 10 โครงการ
2 เชิงคุณภาพ :
2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องของการประพฤติมิชอบและการต่อต้านการทุจริต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผลประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม
2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
69 |
กิจกรรมที่ 19 สิงห์สมิหลาอบรม เชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการเขียน และการนำเสนอผลงานทาง รัฐประศาสนศาตร์ (42,300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีเพิ่มทักษะและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการ
|
5.๑ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ จำนวน 139 คน
และมีผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 21 ผลงาน
5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนผลงานวิชาการ สามารถปฏิบัติการเขียนและการนำเสนอผลงานได้เป็นอย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 42,225 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 42,225 บาท = 303.78 บาท/คน
139
|
เป้าหมายที่ 4 |
70 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (นอกสถานที่) (18,300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะที่จำเป็นในการทำงานด้านอุตสาหกรรมบริการ
2. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์การให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน
3. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน |
1. มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากกลุ่มเป้าหมาย
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสลงมือปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 |
 |
71 |
กิจกรรมที่ 24 แข่งขันทักษะภาษาจีน และจัดนิทรรศการเนื่องในวันตรุษจีน (15,600 บาท) 24.1 จัดนิทรรศการวันตรุษจีนและ นิทรรศการประชาสัมพันธ์หลักสูตร 24.2 จัดการแข่งขันคัดลายมือ ภาษาจีน 24.3 จัดการแข่งขันร้องเพลงจีน 24.4 จัดซุ้มกิจกรรมแสดงผลงาน ของนักศึกษาในหลักสูตรและจัดฐาน ให้ความรู้แก่ผู้มาร่วมงาน |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย-จีน
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางภาษาจีนและวัฒนธรรมจีน
3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาตนเองด้านภาษาจีน
4. เพื่อฝึกฝนให้นักศึกษารู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น
5. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในอนาคต
6.เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน รหัส 63 , 64 และ
65 จำนวน 63 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน สามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย-จีน ให้แก่ผู้มาร่วมงาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 15,600บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 15,600/ 63บาท = 247.61 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
72 |
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การดูแลสุขภาวะกายและใจ ในวัยเรียน (1,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิต
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิต และการปฏิบัติงานในสถานศึกษาได้ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน รหัส 63 , 64 และ65 จำนวน 63 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ได้คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
73 |
กิจกรรมที่ 1 จัดงานปฐมนิเทศ นักศึกษา "ฉันคือมนุษย์มดใน ราชภัฏสงขลา ปีการศึกษา 2566" (75,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับหลักสูตร
2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนนักศึกษา คณาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
3. เพื่อเชิดชูเกียรตินักศึกษาที่มีคุณสมบัติดีเด่นในด้านต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่รุ่นน้อง
|
เชิงปริมาณ
- นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 730 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 730 คน มีแนวทางในการวางแผนการดำเนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
เชิงเวลา
- สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
74 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ สำนักงานสีเขียวและป้องกันอัคคีภัย (20,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้คณาจารย์และบุคลากร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีทักษะในการป้องกันอัคคีภัยในสถานที่ทำงาน
2. เพื่อให้นักศึกษา คณาจารย์ร่วมกันรณรงค์การประหยัดพลังงานในองค์กร
3. เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ภายในสำนักงานและเพื่อมีทักษะในการรักษาความปลอดภัยในองค์กร
|
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 นักศึกษา อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 285 คน
เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน
สีเขียวและป้องกันอัคคีภัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
75 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษา (8,400 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษา
2. เพื่อให้อาจารย์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางที่ดีในการปฏิบัติงานเพื่อความเป็นเลิศ
|
"เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
1. อาจารย์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2. อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
1. อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน
2. มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
1. มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
4. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 3 ด้าน อย่างน้อย 1 ระบบ
5. อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน
6. สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
76 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ (12,600 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบายและประเมินทักษะ ความพร้อมของตนเองก่อนฝึกงาน
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ในการ
ฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ
2.3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
|
5.๑ เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.๒ เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดแนวทางการนำทักษะไปใช้สำหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบอาขีพในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 8,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 8,100 = 122.72 บาท/คน
66
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
77 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ ร่วมกันสรรค์สร้างนวัตกรรมชุมชน (44,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรการพัฒนาชุมชนเรียนรู้วิถีชุมชนในรูปแบบใหม่และค้นหาทุนชุมชน
2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรการพัฒนาชุมชน มีความรู้ความสามารถในการออกแบบสื่อเทคโนโลยีและ
นำทุนชุมชนมาต่อยอด
3 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรการพัฒนาชุมชน มีความสามารถในการผลิตนวัตกรรมชุมชนสู่สาธารณะ
4 เพื่อบูรณาการในเชิงรูปธรรมความร่วมมือในการยกระดับกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชนท้องถิ่น
|
1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
จากกลุ่มเป้าหมาย
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม/หัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
จากผลการประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม
นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 44,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 44,000 = 440 บาท/คน
100
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
78 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ นักศึกษาจิตภัฏบูชาครู ภาค กศ.บป. (41,400 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อปลูกฝังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับการปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนโดยใช้จิตอาสาเป็นฐาน
2.2 เพื่อสร้างลักษณะเด่นเฉพาะหลักสูตรผ่านคำว่า “นักศึกษาจิตภัฏ”
2.3 เพื่อสร้างกลไกในการสำนึกในปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรในฐานะบรมครูพัฒนาชุมชน
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจิตอาสาจากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน
การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
79 |
กิจกรรมที่ 5 สิงห์สมิหลาอบรมเชิง ปฏิบัติการเพิ่มทักษะการเขียนและการ นำเสนอผลงานทางรัฐประศาสนศาสตร์ (31,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีเพิ่มทักษะและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนผลงานทางวิชาการ
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการ
|
5.๑ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. จำนวน 57 คน
และมีผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 12 ผลงาน
5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนผลงานวิชาการ สามารถปฏิบัติการเขียนและการนำเสนอผลงานได้เป็น อย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 31,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 31,900 บาท = 559.64 บาท/คน
57
|
เป้าหมายที่ 4 |
80 |
กิจกรรมที่ 6 สิงห์สมิหลาศึกษาดูงาน เรียนรู้ศาสตร์พระราชา ภาค กศ.บป. ณ พื้นที่ภาคเหนือ และ ภาคกลาง ของประเทศไทย (158,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. ได้เปิดมุมมองและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้องเรียนและเข้าใจการบริหารจัดการโครงการของรัฐ ภายใต้ศาสตร์พระราชา
2.เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทักษะในศาสตร์พระราชาผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ณ แหล่งเรียนรู้จริงที่หลากหลายแก่นักศึกษา ภาค กศ.บป. และอาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
|
1. เชิงปริมาณ - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต จำนวน 21 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตได้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์พระราชา ผ่านโครงการอันเนื่อง
มาจากพระราชดำริไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 157,700 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 157,700 / 21 = 7,509.52 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
81 |
กิจกรรมที่ 6 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ปัจฉิมนิเทศนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ (86,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
2 เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 3 ได้เข้าใจและเรียนรู้กระบวนการทำงานภายในองค์กรแต่ละองค์กรเบื้องต้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเลือกสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในอนาคต |
- เชิงปริมาณ : - นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 789 คน ได้นำเสนอผลงานที่แสดงถึงการพัฒนาความสามารถที่เกิดขึ้นในช่วงการ
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพและถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับรุ่นน้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 789 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 3 ได้รับความรู้และทราบแนวทางการเลือกสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากรุ่นพี่ไม้น้อยกว่า
ร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 85,950 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต :
หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาการตลาด : 4,275/36 = 118.75 บาท/คน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ : 23,125/175 = 125 บาท/คน
หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ : 10,000/80 = 125 บาท/คน
หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ : 18,675/249 = 75 บาท/คน
หลักสูตร บธ.บ. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว : 29,875/239 = 125 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
82 |
กิจกรรมที่ 7 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ด้านการสื่อสารเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงปีที่ 11 (30,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะทางวิชาชีพให้กับนักศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ด้านวิชาชีพนิเทศศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม และภูมิปัญญา
ของท้องถิ่น
3. เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลและสามารถสื่อสาร นำเสนอได้อย่างสร้างสรรค์ |
เชิงปริมาณ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 220 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปี่ที่ 1 จัดทำผลงานด้านการถ่ายภาพได้อย่างน้อย 15 ชิ้นงาน
3. นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปี่ที่ 2 จัดทำผลงานด้านสกู๊ปข่าวได้อย่างน้อย 10 ชิ้นงาน
4. นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปี่ที่ 3 จัดทำผลงาน Motion Graphic wด้อย่างน้อย 7 ชิ้นงาน
เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอยู่ใน
ระดับ 3.51 ขึ้นไป
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สามารถผลิตชิ้นงานที่มีคุณภาพและมีความสร้างสรรค์สะท้องถึงวิถีชุมชน
ในมิติต่าง ๆ ตามแนวทางความพอเพียง โดยแต่ละชิ้นงานคะแนนอยู่ในระดับดี 3.51
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 30,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 30,000/220 = 136.36 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
83 |
กิจกรรมที่ 8 ประกวดทักษะทาง วิชาชีพนิเทศศาสตร์ ปีที่ 6 (51,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างและเพิ่มพูนทักษะทางวิชาชีพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้แก่นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต
2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และมีทักษะสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและสื่อสารมวลชนในยุคดิจิทัล
3. เพื่อเปิดพื้นที่ให้นักศึกษาแสดงศักยภาพและความสามารถในเชิงวิชาชีพ สร้างแรงบันดาลใจเกิดเป้าหมายในการเรียนรู้เพื่อก้าวสู่วงการวิชาชีพนิเทศศาสตร์ได้ |
เชิงปริมาณ : - มีผู้ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้
- ผู้เข้าร่วมโครงการส่งผลงานด้านนิเทศศาสตร์ อย่างน้อย 5 ชิ้นงาน ได้แก่ ประกวดภาพถ่าย ประกวดสกู๊ปข่าว ประกวด Motion Graphic และประกวด Project
เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- ผลงานขอนักศึกษามีคุณภาพและสามารถสะท้อนถึงศักยภาพความสามารถและทักษะทางวิชาชีพนิเทศศาสตร์ของนักศึกษาได้เป็นอย่างดี โดยแต่ละชิ้นงานมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 51,600 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 51,600/250 = 206.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
84 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ เพื่อสร้างนักเศรษฐศาสตร์คุณภาพ (38,100 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์
2.เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
3.เพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษาให้สามารถนำเสนอธุรกิจเพื่อระดมเงินทุนจากแหล่งทุนต่าง ๆ
4.พื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนเริ่มทำธุรกิจจริง |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2-3 จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 38,100 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 21,100/23 = 1,134.78 บาท/คน
กิจกรรมที่ 2 : 12,000/23 = 244.90 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
85 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเรียนรู้แนวทางพัฒนา วิสาหกิจชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่ความยั่งยืน (48,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ นำแนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไปประยุกต์ใช้
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการเรียนรู้อาชีพจากทักษะของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดพัทลุง
3. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ของนักศึกษาจากแนวทางพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในเชิงบูรณาการของพื้นที่จังหวัดพัทลุง |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในหัวข้ออบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 13,050/80 = 163.13 บาท/คน
กิจกรรมที่ 2 : 20,550/20 = 1,027.50 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
86 |
กิจกรรมที่ 11 เปิดโลกทัศนศึกษา ดูงานสืบสานวัฒนธรรมชุมชน ท้องถิ่น (176,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้จริงในหลักการดำเนินงานของกิจการจริงเตรียมความพร้อมสู่ตลากแรงงาน
2. เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และความเข้าใจระบบงานของวิสาหกิจชุมชน เตรียมความพร้อมกลับไปสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนของตนเองในอนาคต
3. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพความเป็นผู้ประกอบการจากธุรกิจจริง
4. ถ่ายทอดความรู้บัญชีครัวเรือนแก่ชุมชน |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาและอาจารย์ประจำหลักสูตรบัญชีบัณฑิต จำนวน 52 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้และประสบการณ์จริง จากเจ้าของสถานประกอบการและวิสาหกิจชุมชน มีความพร้อมที่จะเริ่ม
ประกอบธุรกิจทางการบัญชีและพัฒนาต่อยอดธุรกิจในชุมชนท้องถิ่นของตนเองได้อย่างยั่งยืนอยู่ในระดับดี (3.51 ขึ้นไป) เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 176,700 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 176,700/52 = 3,398.07 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
87 |
กิจกรรมที่ 12 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การนักบัญชี 5 G Upskill and Reskill สู่ทักษะเชิง นวัตกรรม: นักคิดธุรกิจยุคใหม่ อนุรักษ์สินค้าพื้นบ้านไทย (OTOP) (58,300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อพัฒนานักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยบูรณาการด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการบริการ วิชาการ การเรียนการสอน โดยการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการดำเนินงานการ จัดตั้งธุรกิจจำลอง ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์ชุมชน
2. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาอาหารพื้นบ้านให้คงอยู่
3. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้จากท้องถิ่นมาบูรณาการด้านวิชาการ
|
- เชิงปริมาณ : กิจกรรมที่ 1 - นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิตสามารถเขียนแผนธุรกิจจำลองได้ไม่น้อยกว่า4 แผน
กิจกรรมที่ 2 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 36 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กิจกรรมที่ 3 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กิจกรรมที่ 4 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กิจกรรมที่ 5 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีบริหาร จำนวน 90 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อที่อบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 58,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 14,850/90 = 165.00 บาท/คน
กิจกรรมที่ 2 : 28,600/36 = 794.44 บาท/คน
กิจกรรมที่ 3 : 15,750/90 = 503.64 บาท/คน
กิจกรรมที่ 4 : ไม่ใช้งบประมาณ
กิจกรรมที่ 5 : ไม่ใช้งบประมาณ
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
88 |
กิจกรรมที่ 13 เปิดโลก HR : เปิดมุมมอง ด้านทรัพยากร สู่อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และบริการ (79,300 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้ประสบการณ์การบริหารธุรกิจด้านต่าง ๆ จากสถานประกอบการและนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริง
2.เพื่อบูรณาการศาสนาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย กับการใช้ชีวิตประจำวันของนักศึกษา |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 136 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจด้านบริหารธุรกิจ และสามารถบูรณาการความรู้จากการศึกษาดูงานกับการปฏิบัติงาน
อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
- นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทยกับการใช้ชีวิต
ประจำวันได้อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย 3.50
เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 471,510 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 471,510/136 = 3,466.98 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
89 |
กิจกรรมที่ 14 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การและประกวดทักษะเส้นทาง สู่โค้ชมืออาชีพ (HR Coaching by Pro. Coach) (80,500 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นที่ปรึกษาและการเป็นวิทยากร ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และได้มีโอกาส พัฒนาสมรรถนะ ทักษะในการเป็นที่ปรึกษาและวิทยากรด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์จากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมแข่งขันกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ และแสดงออกถึงสมรรถนะทักษะในการเป็นที่ปรึกษาและการเป็นวิทยากร |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ชั้นปีที่ 1 - 3 จำนวน 335 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการให้คำปรึกษา และการเป็นวิทยากร การออกแบบกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และการใช้สื่อเพื่อนำเสนอตามหัวข้อที่ได้จัดสัมมนาอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
- นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในวิชาชีพทางด้านการเป็นที่ปรึกษาวิทยากร จำนวน 1 ทีม
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 80,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 = 19,350/210 = 92.14 บาท/คน
กิจกรรมที่ 2 = 61,150/194 = 315.21 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
90 |
กิจกรรมที่ 15 ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่ม ศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการ (108,000 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ประกอบอาชีพได้ในอนาคต
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้วิธีการพัฒนาทักษะทางอาชีพจากสถานประกอบการจริง
2.3 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงการประกอบธุรกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
2.4 เพื่อให้อาจารย์ในหลักสูตรฯ สาขาวิชาการจัดการ ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์จากสถานประกอบการเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนการสอนได้ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 81
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 108,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 108,000/60 = 1,800 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
91 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (78,100 บาท) |
2566 |
1.นักศึกษามีความเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการ
2.นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากผู้ประกอบการเพื่อสร้างแนวคิดในการเป็นผู้ประกอบการ/รุ่นพี่
3.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)
4. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ประกอบอาชีพในอนาคต |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 83,450 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 83,450 /560 = 149.01 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
92 |
กิจกรรมที่ 17 สัมมนาเชิงปฎิบัติ การยุวมัคคุเทศก์รุ่นใหม่ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (25,400 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสถานที่สำคัญย่านเมืองเก่าสงขลาและเกาะยอ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะในการบรรยายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
3. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกเป็นมัคคุเทศก์
4. เพื่อให้นักศึกษามีเกียรติบัตรรับรองเพื่อนำไปใช้ประกอบอาชีพ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ ปีที่ 2 จำนวน 56 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เขิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,400 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 25,400/56 = 453.57 บาท |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
93 |
กิจกรรมที่ 18 ศึกษาเรียนรู้ และเก็บเส้นทางท่องเที่ยว (79,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับคุณอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีการฝึกปฏิบัติให้มีความรู้ในแอปพลิเคชันงานด้านการตลาด
3. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านทักษะชีวิตและอาชีพโดยการฝึกทักษะความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอินโฟกราฟิก (infographic) และ Google data studio
4. เพื่อพัฒนานักศึกษาในทักษะด้านภาษาและการสื่อสารสำหรับนักการตลาด |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 1 จำนวน 71 คน, นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 54 คน,
นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 46 คน, นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 40 คน ได้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ
จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด
เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับ
คุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) และสอดคล้องกับคุณลักษณะ
บัณฑิตที่พึงประสงค์อย่างน้อย 3 ด้าน
- นักศึกษาสามารถจัดทำสื่อโดยการใช้แอปพลิเคชันทางการตลาดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 66,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 30,375/211 = 145.38 บาท/คน
กิจกรรมที่ 2 : 16,200/54 = 300.00 บาท/คน
กิจกรรมที่ 3 : 11,100/46 = 241.30 บาท/คน
กิจกรรมที่ 4 : 8,025/54 = 148.61 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
94 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (66,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีการฝึกปฏิบัติให้มีความรู้ในแอปพลิเคชันงานด้านการตลาด
3. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มด้านทักษะชีวิตและอาชีพโดยการฝึกทักษะความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอินโฟกราฟิก (Infographic) และ google data studio
4. เพื่อพัฒนานักศึกษาในทักษะด้านภาษาและการสื่อสารสำหรับนักการตลาด |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 1 จำนวน 71 คน
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 2 จำนวน 54 คน
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 3 จำนวน 46 คน
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 4 จำนวน 40 คน
ได้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้
เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับ
คุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน TQF และสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์อย่างน้อย 3 ด้าน
- นักศึกษาสามารถจัดทำสื่อโดยการใช้แอฟพลิเคชันทางการตลาดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 66,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 : 30,675/211 = 145.38 บาท/คน
กิจกรรมที่ 2 : 16,200/54 = 300 บาท/คน
กิจกรรมที่ 3 : 11,100/46 = 241.30 บาท/คน
กิจกรรมที่ 4 : 8,025/54 = 148.61 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
95 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะ Soft Skills สำหรับนักการตลาด (26,900 บาท) |
2566 |
1.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
2.เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ Soft Skills ที่จำเป็นกับงานด้านการตลาด และสอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และทักษะการเรียนรู้นวัตกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,850
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,850 /111 = 242 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
96 |
กิจกรรมที่ 21 ศึกษาดูงานเปิดโลก ICT เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการ เป็นนักคอมพิวเตอร์ (91,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และพัฒนาความรู้ความสามารถจากการศึกษานอกเหนือจากชั้นเรียน
2. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตและทักษะทางสังคมให้กับนักศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และนำกลับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันการทำงานได้ในอนาคต |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 91,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 91,000 บาท/36 = 2,527.38 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
97 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาเว็บไซต์ทางธุรกิจสำหรับ ผู้ประกอบการ (22,700 บาท) |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาเว็บไซต์ทางธุรกิจ
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ให้เหมาะสมกับธุรกิจผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล
3 เพื่อเพิ่มโอกาสในการนำเสนอผลงานของนักศึกษาด้านการแข่งขันทางวิชาชีพ
4 เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการออกแบบกราฟิก นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนของนักศึกษา |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 และปีที่ 2 จำนวน 167 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 22,675 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 22,675 /167 = 135.78 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
98 |
กิจกรรมที่ 23 ปฐมนิเทศ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สู่การเป็นบัณฑิตพรีเมี่ยม (152,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสนำความรู้หลักการทฤษฎีที่ได้เรียนรู้ตามหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพเพิ่มเติมจากผู้มีประสบการณ์ตรง ก่อนที่จะสำเร็จการศึกษาและเข้าสูการประกอบวิชาชีพ
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดทักษะในการปฏิบัติงานและเกิดทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า กลุ่ม664415 A และ กลุ่ม664415 B จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : 1.นักศึกษาที่ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีความรู้ ความสามารถ และได้รับทักษะทางวิชาการจากการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2.นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพอยู่ในระดับดี มีผลการประเมินไม่ต่ำกว่า 3.50
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วย : 152,760 บาท
- เชิงต้นทุนหน่วยผลิต : 152,760/60 = 2,546 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
99 |
กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการ ปรับพื้นฐานการเรียนรู้ สู่การเป็นบัณฑิตพรีเมี่ยม (3,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาปรับตัวสำหรับการเรียนในระดับอุดมศึกษาได้
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในวิชาพื้นฐานสำหรับการเรียนในมหาวิทยาลัย
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและปรับตัวให้เข้ากับกับการเรียนแบบ WiL (Work - integrated Learning)
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) อย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้/ด้านทักษะทางปัญญา/ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 3,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 3,600 / 24 = 150 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
100 |
กิจกรรมที่ 26 เปิดโลกทัศน์การ การจัดการนวัตกรรมเพื่อการ เรียนรู้ (283,500 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาความสามารถจากการเรียนรู้นอกชั้นเรียน
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงานในอนาคตได้
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและเกิดความตระหนักหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีต่อวิชาชีพ |
เชิงปริมาณ : อาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้าเข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้ามีความรู้ และประสบการณ์จากการศึกษานอกสถานที่มีความพึงพอใจในระดับดี ร้อยละ 80
เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 283,500 บาท
เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ครั้งที่ 1 : 144,000 /44 = 3,272.72 บาท
ครั้งที่ 2 : 139,500 /41 = 3,402.43 บาท |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
101 |
กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาการจัดการเชิงรุก (160,000 บาท) 2.1 Road Show แนะแนว การศึกษา |
2566 |
1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์หลักสูตร และให้ความรู้การจัดการเรียนการสอนและการสร้างภาพลักษณ์ของคณะวิทยาการจัดการ
2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสอบคัดเลือก และให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามหลักสูตรที่ตอนเองมีความถนัด
3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนดีในท้องถิ่นได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี |
1. ได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้แก่นักเรียน โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 10 โรงเรียน
2. เพิ่มโอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เข้าสอบคัดเลือกตรงโควตาของคณะวิทยาการจัดการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
102 |
2.2 MGT Orentation คณะวิทยาการจัดการ (ปฐมนิเทศนักศึกษาปี 1) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เตรียมความพร้อมในการปรับตัวเกี่ยวกับการเรียนในรั้วมหาวิทยาลัย
2. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้รู้จักวัฒนธรรมขององค์กร |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาใหม่คณะวิทยาการจัดการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาใหม่คณะวิทยาการจัดการมีทัศนคติที่ดี และปรับตัวต่อการเรียนในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,000 บาท /800 คน ๙ = 31.25 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
103 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อการประเมินผลสัมฤทธิ์การ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพตามกรอบ มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (การทวนสอบ) (25,200 บาท ) |
2566 |
1.เพื่อให้หลักสูตรมีระบบการประเมินผลการเรียนรู้ การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้และกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
2.เพื่อให้วิธีการวัดและประเมินผลมีความตรงประเด็นกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในประมวลการสอน และข้อสอบในแต่ละรายวิชาสามารถวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษาได้สอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อผลการเรียน
3.เพื่อให้การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาแสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร |
เชิงปริมาณ : -มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
-มีการทวนสอบรายวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนของแต่ละหลักสูตรในภาคการศึกษาที่ทวนสอบ
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการทวนสอบตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาได้
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,800 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,800/50 = 216 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
104 |
กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการทำงานและ สร้างความร่วมมือทางวิชาการ กับมหาวิทยาลัยเครือข่าย (212,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์ แนวคิดใหม่ ๆ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากรของคณะให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความสามัคคี และเกิดการแลกเปลี่ยนประสบกาารณ์ที่ดีระหว่างบุคลากรของคณะ
3. เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการบริหารการศึกษาอย่างเป็นระบบในการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ |
- เชิงปริมาณ : 1. บุคลากรคณะวิทยาการจัดการเข้าร่วมโครงการ จำนวน 28 คน
2. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ จำนวน 2 ฉบับ
- เชิงคุณภาพ : 1. บุคลากรนำความรู้ แนวคิดใหม่ ๆ ประยุกต์ในการปฏิบัติได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เครือข่ายความร่วมมือตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการมีกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 212,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 212,200/28 = 7,578.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
105 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ จัดทำผลงานทางวิชาการอย่าง มืออาชีพ (30,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานทางวิชาการ
2 เพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรจัดทำผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น |
1. เชิงปริมาณ : บุคลากรคณะวิทยาการจัดการได้รับการพัฒนาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ และมีทักษะในการทำงานเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพที่ดีในการทำงานอย่างน้อย 40 คน
2. เชิงคุณภาพ : บุคลากรคณะวิทยาการจัดการมีการทำผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 4 ชิ้นงาน
3. เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 30,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 30,800 /40 = 770 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
106 |
กิจกรรมที่ 2 นิทรรศการแสดงผลงาน ของนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ (50,000 บาท) 2.1 นิทรรศการแสดงผลงาน ออกแบบนิพนธ์ 2.2 นิทรรศการแสดงผลงาน ศิลปนิพนธ์ |
2566 |
1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบและทัศนศิลป์
2. เพื่อเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาออกสู่สาธารณชน
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการออกแบบ จำนวน19 คน และสาขาวิชาทัศนศิลป์ จำนวน 21 คน ได้เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ออกสู่สาธารณชน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม เท่ากับ 50,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เท่ากับ 50,000/40 = 1,250 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
107 |
กิจกรรมที่ 6 ศึกษาเรียนรู้นอก ห้องเรียนเพื่อส่งเสริมศักยภาพทาง การเรียนรู้ในศตวรษที่ 21 สู่การ เป็นนักดนตรีมืออาชีพ (78,600 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการศึกษานอกห้องเรียน
2 เพื่อให้นักศึกษามีองค์ความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษานอกห้องเรียน
3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการประกอบอาชีพทางดนตรีให้กับนักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ
1.1. นักศึกษาและคณาจารย์สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2. นักศึกษาได้ไปศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 77,840 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 77,840/40 = 1,946 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
108 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ นำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม (1,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม
2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,800/60 = 30 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
109 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมสู่การทำงาน ด้านศิลปกรรมและปัจฉิมนิเทศ (12,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในรูปแบบของอาชีพและลักษณะการทำงานด้านศิลปกรรม
2 เพื่อแนะแนวทางในการเลือกสาขาอาชีพที่เหมาะสมกับสาขาที่สำเร็จการศึกษา
3 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการทำงาน กาประกอบอาชีพอิสระ การเป็นผู้ประกอบการ และการศึกษาต่อ
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,800/100 = 128 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
110 |
กิจกรรมที่ 2 สำนักงานสีเขียว (Green Office) (15,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรนำความรู้ด้านสำนักงานสีเขียวมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
2. เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในสำนักงาน
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 บุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ได้สำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 1 หน่วยงาน
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000/40 = 375 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
111 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะศิลปกรรมศาสตร์ |
2566 |
เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ |
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะฯ จำนวน 1 แผน
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,500/40 = 37.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
112 |
กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการความรู้ KM (การเรียนการสอนและการวิจัย)” |
2566 |
1. เพื่อให้อาจารย์มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนและการวิจัย
2. เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอนและการวิจัย
3. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนและการวิจัยให้บุคคลทั่วไปทราบ
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนและการวิจัย อย่างละ 1 แนวทาง
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,300/40 = 157.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
113 |
กิจกรรมที่ 5 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ คลีนิคงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ด้านศิลปกรรม (61,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้อาจารย์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสู่การขอตำแหน่งทางวิชาการ
2. เพื่อให้อาจารย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้คำปรึกษาเพื่อการผลิตผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพเพื่อนำไปสู่การขอตำแหน่งทางวิชาการ
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ได้ตำรา หนังสือ และเอกสารประกอบการสอน อย่างน้อย 5 เล่ม
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่กิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 58,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 58,500/40 = 1,462.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
114 |
กิจกรรมที่ 1 ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ (288,900 บาท) 1.1 สัมมนานักศึกษาก่อนฝึกฯ 1.2 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกฯ 1.4 สัมมนาหน่วยฝึกฯ 1.5 สัมมนาก่อนฝึกปฏิบัติ การสอน 1,2 1.6 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติ การสอน 1,2 1.7 นิเทศปฏิบัติการสอนฯ |
2566 |
2.1 เพื่อสรุปและถอดบทเรียนในการฝึกประสบการณ์ทางสาธารณสุขศาสตร์ ของนักศึกษา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา 4954902 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน และรายวิชา 4954903 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านการจัดบริการสาธารณสุขชุมชน ประจำภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
2.2 เพื่อให้อาจารย์นิเทศก์ได้พบปะและดำเนินการนิเทศกับนักศึกษาฯ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 82 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,920 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,920/82 = 96.58 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
115 |
กิจกรรมที่ 5 ศึกษาดูงานในราย วิชาของหลักสูตรเทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล (134,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับระบบเครือข่ายภายในองค์กร การสร้างสรรค์งานด้านมัลติมีเดีย และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล
3. บูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชา
4662133 นวัตกรรมกระบวนการและการจัดการการเปลี่ยนแปลง
4662333 การโปรแกรมเชิงวัตถุ
4662334 เทคโนโลยีเว็บและการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 41 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเครือข่ายภายในองค์กร การสร้างสรรค์งานด้านมัลติมีเดีย และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 134,785 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 134,785/41 = 3,287.44 บาท / คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
116 |
กิจกรรมที่ 6 พัฒนาศักยภาพเพื่อ เสริมทักษะการเรียนรู้ทาง คณิตศาสตร์ (67,400 บาท) 6.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการออกแบบกิจกรรม เพื่อจัดค่ายคณิตศาสตร์” |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และประสบการณ์สู่การออกแบบกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้
2. เพื่อให้ได้กิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์สู่การบริการวิชาการแก่หน่วยงานภายนอกได้
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 182 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,400/182 = 370.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
117 |
6.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการออกแบบสื่อใน ศตวรรษที่ 21 |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และประสบการณ์สู่การออกแบบกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้
2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเทคนิคการออกแบบสื่อมาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้
3 เพื่อให้ได้กิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์สู่การบริการวิชาการแก่หน่วยงานภายนอกได้
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 46 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 คน
- เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 19,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 19,100/46 = 415.22 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
118 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบ มาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงาน แห่งชาติในสาขาผู้ประกอบ อาหารไทย (44,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 43 คน เข้าร่วมร้อยละ 100
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ด้านมาตรฐานวิชาชีพในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 44,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 44,800/43 = 1,041.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
119 |
กิจกรรมที่ 8 สัมมนาวิชาการ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและ การอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา (11,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและการอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางโดยตรง
2. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 18 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,000 / 18 = 611.11 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
120 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง บูรณาการศาสตร์ส่งเสริม สุขภาพ (9,800 บาท) |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการศาสตร์ทางด้านสุขภาพร่วมกับชุมชนและทำงานร่วมกับชุมชนได้ |
- เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงเวลา ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เข้าร่วมทำกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 9,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 9,800/15= 653.33 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
121 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้โปรแกรมการจัดการเอกสาร ขั้นสูง (3,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้การใช้โปรแกรมการจัดการเอกสารเพื่อนำความรู้ไปทำโครงการวิจัย |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 31 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1. คะแนนการประเมินคุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิตปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 4.5 คะแนน
2. คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 2.1,2.2,3.2 และ 3.3 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2 คะแนน
3. นักศึกษามีความรู้การใช้โปรแกรมจัดเอกสารไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้สำเร็จเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนดโครงการภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
122 |
กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างทักษะสำหรับนักศึกษา ชีววิทยาและบูรณาการการปฏิบัติ งานภาคสนามกับการทำงาน (46,000 บาท) |
2566 |
1.เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนเริ่มทำดครงการวิจัยและฝึกประสบการณือย่างมีประสิทธิภาพ
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมทักษะด้านการสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้ทางชีววิทยา และสามารถบูรณาการทักษะการปฏิบัติงานภาคสนามกับการทำงานในหน่วยงาานเครือข่ายได้ |
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 22 คน
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ทั้งในรายวิชาและเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณืวิชาชีพหรือฝึกสหกิจได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
-เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 44360
เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 44360=2016.36/ คน |
เป้าหมายที่ 14 |
 |
123 |
กิจกรรมที่ 16 ศึกษาดูงานในราย วิชาสำหรับนักศึกษาสาขาวิชา ชีววิทยา (32,400 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ต่าง ๆ ทางชีววิทยาเพิ่มขึ้นจากการศึกษาดูงาน
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เพิ่มพูนประสบการณ์ สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ทั้งในชีวิตประจำวัน การเรียนในรายวิชาต่าง ๆ และเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกสหกิจศึกษาได้
3. เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และเป็นแนวทางในการนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 58 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ทั้งในรายวิชาและเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกสหกิจศึกษาได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 32,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 32,400 /58 = 558.62 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
124 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะเชิงปฏิบัติการพัฒนา ทักษะวิชาชีพสำหรับนวัตกรการ เกษตร ชั้นปีที่ 1 และ 2 (26,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และมีทักษะปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง โดยสามารถเชื่อมโยงความรู้จากในห้องเรียนได้
2. เพื่อเพิ่มการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
|
1. เชิงปริมาณ
- มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 17คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษา มหาวิทยาลัย กับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน อย่างน้อย 1 เครือข่าย
- ผ่านการรับรองการเป็นผู้ตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (SDGsPGS) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาสามารถจัดทำร่างโครงการบริการวิชาการในการยกระดับชุมชนได้ อย่างน้อย 2 โครงการโดยใช้หลักการวิศวกรสังคม
2. เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทฤษฎี ไปใช้ในการทำงานในสถานที่จริง จากการประเมินของอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 2 |
 |
125 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมการสร้างทักษะ ในศตวรรษที่ 21 : การสื่อสารและ การร่วมมือกับคนในสังคมโดย ใช้จิตวิทยาเพื่อการเข้าสังคม (1,300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารกับคนในสังคมได้
2. นักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม องค์กร ชุมชน ที่อยู่ร้วมได้อย่างมีความสุข
3. เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1. คะแนนการประเมินคุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิตปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 4.5 คะแนน
2. คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 3.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน
3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและใช้ความรู้ทั้งทางทฤษฎี และปฏิบัติได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,300/9 = 144.44 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
126 |
กิจกรรมที่ 19 ศึกษาดูงาน สำหรับนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี ชั้นปีที่ 1 และ 2 (6,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะพึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาจำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ จำนวนนักศึกษาสามารถบูรณาการการเรียนกับการนำไปใช้ในการสอนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4.ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,600 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,600/34 = 164.7 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
127 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเพิ่มสมรรถนะครูเคมี สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 (1,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างทักษะทางด้านเคมีในสาขาต่างๆ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
2. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของครูผู้สอนแก่นักศึกษา
3. เพื่อส่งเสริมเจตคติที่ดีทางด้านความเป็นครู
4. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21
|
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 34 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,600 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,600/34 = 47.06 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
128 |
กิจกรรมที่ 21 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประเมินผลผู้เรียนและ การจัดการชั้นเรียนแบบ PLC (11,300 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสิ้นปีการศึกษาตาม มคอ.2
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และมีความรู้ในเรื่องการประเมินผลทางการศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 83 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปีสำหรับชั้นปีที่ 2 ตามที่ระบุไว้ใน มคอ. 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,300/83 = 136.14 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
129 |
กิจกรรมที่ 22 สัมมนาเรื่อง สหกิจศึกษากับการพัฒนาอาชีพ (45,800 บาท) |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับสหกิจศึกษา |
- เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 318 คน เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 95
- เชิงคุณภาพ – นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ 89
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,800 /333 = 137.54 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
130 |
กิจกรรมที่ 23 สัมมนาครูต้นแบบ สร้างแรงบันดาลใจสู่อาชีพครู (5,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
2. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและให้มีใจรักในอาชีพครู
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 128 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาสามารถดำเนินการตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่คุรุสภากำหนดได้อย่างน้อย 1 ด้าน
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,600/128 = 43.75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
131 |
กิจกรรมที่ 25 ประกวดผลงาน สร้างสรรค์ (4,500 บาท) |
2566 |
1 ส่งเสริมนักศึกษาในเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก เป็นนักสื่อสารที่ดี สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีม และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
2 เพื่อเพิ่มทักษะทางด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการส่งผลงานไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า 3.51
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,500/20 = 225 บาท/ผลงาน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
132 |
กิจกรรมที่ 26 มหกรรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี “Science and Tech Festival 2023” (7,300 บาท) |
2566 |
1 ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา และครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาอย่างน้อยสะท้อนผลลัพธ์ผู้เรียน
2 ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษาในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3 เพื่อเสริมสร้างทักษะภาษาต่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพทางภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษา
4 ส่งเสริมให้อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมแข่งขันทำอาหารและขนมไทย
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,300/300 = 24.33 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
133 |
กิจกรรมที่ 27 สัมมนา เรื่อง การพัฒนาประสบการณ์วิชาการ และวิชาชีพเพื่อก้าวสู่วัยทำงาน แก่นักศึกษา (31,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาได้ทราบข้อมูลสำคัญ และเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาชีพ
2 เพื่อให้นักศึกษาได้เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ
3 เพื่อให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเองในการก้าวสู่โลกของการทำงาน
4 เพื่อแนะแนวทางนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการณ์ หรือ ประกอบอาชีพอิสระ
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 331 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ประสบการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในเรื่องการสมัครงาน
การสัมภาษณ์งานและการพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมั่นใจเดินหน้าสู่อาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 31,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 31,800/331 = 96.07 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
134 |
กิจกรรมที่ 28 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมระหว่างสถาบัน (67,400 บาท) |
2566 |
1 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านกิจกรรมนักศึกษาระหว่างสถาบัน
2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาระหว่างสถาบัน
3 เพื่อให้สโมสรนักศึกษาจัดกิจกรรมสอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 18 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,400/18 = 3,744.44 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
135 |
กิจกรรมที่ 29 สัมมนาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ศิษย์เก่า (15,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถาบันกับนักศึกษาศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน คณาจารย์ตลอดจนบุคลากร
2 เพื่อประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ด้านวิชาชีพและประสบการณ์ระหว่างศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน
5 เพื่อให้นักศึกษารักและเชิดชูในสถาบัน ยกย่อง และเชิดชูเกียรติศิษย์เก่าที่ทำคุณประโยชน์ให้กับองค์กรและสร้างชื่อเสียงให้กับสถาบัน
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,800 / 40 = 395 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
136 |
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการ ค่ายผู้นำนักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (41,500 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องบทบาทหน้าที่ของผู้นำนักศึกษา
2 เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้นำนักศึกษาในการดำเนินกิจกรรมในปีการศึกษา 2566
3 เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องระบบประกันคุณภาพและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
|
1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 35 คนเข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดี
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 41,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 41,500 /35 = 1,185.71 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
137 |
กิจกรรมที่ 31 สัมมนานักศึกษา ใหม่ 2566 คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (47,600 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาทราบแนวปฏิบัติด้านวิชาการ ด้านกิจกรรมนักศึกษา รวมทั้งข้อมูลสวัสดิการต่าง ๆ
2 เพื่อชี้แนะแนวทางการเรียน และการใช้ชีวิตนักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3 เพื่อให้นักศึกษามีสัมพันธภาพและทัศนคติที่ดีต่อคณะฯ และบุคลากรของคณะฯ เกิดความคุ้นเคยและเกิดความรู้สึกเป็นกันเอง
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการทราบแนวปฏิบัติด้านวิชาการ ด้านกิจกรรมนักศึกษา รวมทั้ง
ข้อมูลสวัสดิการต่าง ๆ สัมพันธภาพและทัศนคติที่ดีต่อคณะฯ และบุคลากรของ
คณะฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,600/400 = 119 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
138 |
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ภาษาอังกฤษ English WISH Camp (19,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา
2 เพื่อส่งเสริมนักศึกษาให้มีความมั่นใจทางด้านภาษาเพิ่มมากขึ้น
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 100
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ CEFR (B1)
หรือมีระดับคะแนนเพิ่มขึ้น
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 19,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 19,000/ 30 = 633.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
139 |
กิจกรรมที่ 33 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาบุคลิกภาพสำหรับ นักศึกษาในศตวรรษที่ 21 (8,100 บาท) |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 วิทยาศาสตร์บัณฑิตและสาธารธสุขศาสตรบัณฑิต
ชั้นปีที่ 3 – 4 มีความรู้ความเข้าใจถึงบุคลิกภาพที่เป็นจุดเด่นและจุดด้อยของตนเอง สามารถนำความรู้ที่ได้รับ
ไปปรับและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมยิ่งขึ้นเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจถึงบุคลิกภาพที่เป็นจุดด้อยและจุดเด่นของตนเองและสามารถ นำความรู้ที่ได้รับไปปรับและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมและดียิ่งขึ้น
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 240 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 100
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการทราบและความเข้าใจถึงบุคลิกภาพที่เป็นจุดด้อยและจุดเด่นของตนเองและสามารถ นำความรู้ที่ได้รับไปปรับและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมและดียิ่งขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,100/ 160 = 50.63 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
140 |
กิจกรรมที่ 34 อบรมเตรียมความ พร้อมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 และทักษะในวิชาชีพแก่นักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้าน พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล (4,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ด้าน พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้นำไปใช้ในอนาคตได้
3. เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงบทลงโทษและผลกระทบต่อตนเองและองค์กร
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 127 คน เข้าร่วมโครงการร้อยละ 94
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจร้อยละ 89
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,700/ 135 = 34.81 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
141 |
กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้อง ปฏิบัติการ (46,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการและอาคารเรียนรวม
2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการอาคารเรียนรวม
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 400 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,200/400 = 115.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
142 |
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ "ประเมินผลปฏิบัติงานประจำปี ปรับแผนยุทธศาสตร์และแผน ปฏิบัติราชการ" (16,300 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอนและการบริหารงานของคณะฯให้เป็นไปตามพันธกิจ
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.4 เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพียงพอและเหมาะสม
2.5 เพื่อนำผลการปฏิบัติงานประจำปีมาปรับแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ
|
5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 113 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลากำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,760 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,760/113 = 112.92 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
143 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนและประเมินผลลัพธ์ ประกันคุณภาพการศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AUN-QA ประจำปีการศึกษา 2565 (31,800 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและทบทวนเกี่ยวกับตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา และมีทักษะในการจัดทำรายงานประจำปีการประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจหลักการสำคัญของระบบ AUN-QA และความสอดคล้องของ (OBE) กับเกณฑ์ AUN-QA
|
5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประกันคุณภาพการศึกษาเกณฑ์ AUN-QA ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 31,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 31,800/80 = 397.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
144 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาแลกเปลี่ยน ประสบการณ์มุ่งสู่การจัดการเรียนรู้ (45,800 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้อาจารย์และบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้
2.2 เพื่อให้อาจารย์มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้
|
3. เป้าหมาย*
3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) : ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้จากผู้มีประสบการณ์ในเรื่องโจทย์วิจัยจากชุมชน สู่งานวิจัยและบริการวิชาการ และเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน / เอกสารคำสอน
3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) : มีงานวิจัยจากชุมชน และมีอาจารย์ส่งผลงานวิชาการเพิ่มขึ้น
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ มีแนวคิดด้านการจัดการความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,100/80 = 563.75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
145 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคนิคการเตรียมผลงาน ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเข้าสู่ ตำแหน่งทางวิชาการ (53,200 บาท) |
2566 |
1.เพื่อเสริมสร้างคุณค่าของหนังสือวิชาการและพัฒนาผลงานการเขียนหนังสือวิชาการด้านวิทยาศาสตร์
2.เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการเขียนการผลิตและการเผยแพร่ตำราทางวิทยาศาสตร์
3.เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ความสามารถของคณาจารย์ในเรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 68 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับคณะอยู่ในระดับดี
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,200/68 = 782.35 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
146 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการวิจัยในชั้นเรียน (7,500 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนกับอาจารย์หลักสูตรครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. เพื่อให้อาจารย์ได้เรียนรู้และเข้าใจในการวิจัยในชั้นเรียนสามารถนำเทคนิคที่ได้จากการอบรมไปเลือกและปรับใช้ในกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนได้
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,380 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,380/20 = 369 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
147 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำหลักสูตรแนวใหม่ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (53,200 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรแบบมุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome Based Education: OBE)
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดของการจัดทำหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-degree) และหลักสูตร Sandbox ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
|
1.เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ จำนวนหลักสูตรที่พัฒนา/ปรับปรุงตามแนวทาง (Outcome Based Education: OBE) หลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-degree) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 หลักสูตร
3.เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,200/80 = 665 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
148 |
กิจกรรมที่ 8 พัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยตามระบบ ESPReL (15,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ
3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ
4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ มีห้องปฏิบัติการที่รับได้มาตรฐานตามระบบ ESPReL อย่างน้อย 5 ห้อง
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 /10 = 1,500 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
149 |
กิจกรรมที่ 9 พัฒนาห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐาน ISO 17025 (35,300 บาท) 9.1 อบรมเรื่องการพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 9.2 ตรวจประเมินพัฒนาห้อง ปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 |
2566 |
1. เพื่อดำเนินการการบริหารการจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติ
2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025
3. ปรังปรุงระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน ร้อยละ 100
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,900/10 = 2,090 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
150 |
กิจกรรมที่ 1 ศึกษาดูงาน ในรายวิชาของนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการเกษตร (59,400 บาท) |
2566 |
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นไปตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย |
- เชิงปริมาณ
นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงาน ไม่น้อยกว่าร้อย 70
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,560 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23560/486 = 48.48 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
151 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการเกษตร (3,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงตามสาขาวิชาของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงาน และสถานประกอบการ
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถทราบถึงปัญหาในการปฏิบัติงานและสามารถหาแนวทางแก้ไขได้ |
- เชิงปริมาณ
- นักศึกษา จำนวน 5 คน เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
- นักศึกาาได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา
- สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200/5 =240 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
152 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเรื่อง จุดประกายการเรียนรู้แบบ บูรณาการทำงาน (2,700 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในการฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา
2 เพื่อให้นักศึกษาตัดสินใจเข้าร่วมการฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา
|
- เชิงปริมาณ - นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับข้อมูลรายละเอียดของการดำเนินงานด้านสหกิจศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,700/40 = 67.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
153 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการสร้างแรงบันดาลใจและ ทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม (5,700 บาท) |
2566 |
เพื่อสร้างเสริมแรงบันดาลใจทางด้านนวัตกรรมให้นักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ - จำนวนนักศึกษาชั้นปี 1 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา - สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200/100 = 12 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
154 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนา องค์ความรู้ศิษย์เก่า คณะเทคโนโลยีการเกษตร (19,400 บาท) |
2566 |
เพื่อพัฒนาและเพิ่มเติมองค์ความรู้ให้กับศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีการเกษตร |
1.เชิงปริมาณ - จำนวนศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา - สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,200/30 = 606.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
155 |
กิจกรรมที่ 7 แข่งขันทักษะ วิชาชีพและวิชาการ (70,000 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
- เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 4 รางวัล
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 70,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 70,000/15 = 4,666.67 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
156 |
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
- เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 = 4,507.14 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
157 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเรื่องทักษะ ทางด้านการจัดการฟาร์มเกษตร อัจฉริยะ (Smart farm) (8,400 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกทักษะในการทำการเกษตรอัจฉริยะ (Smart farm) ตามคุณลักษณะ
บัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร
2 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การทำเกษตรแบบ smart farm
3 เพื่อให้นักศึกษาได้ทักษะจากการลงมือปฏิบัติจากแหล่งเรียนรู้
|
1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1-2 จำนวน 17 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/กิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,600/17 = 388.23 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
158 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 272 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,900/272 = 128.31 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
159 |
กิจกรรมที่ 3 บรรยาย เรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2565 34,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จ
การศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจาก
มุมมองต่าง ๆ ในการทำงาน วิชาชีพทั้งในองค์กรภาครัฐ และเอกชน
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 270 คน เข้า
ร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ
อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด
โครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 75
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
160 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเรื่องการเพิ่ม ทักษะในการประกอบอาชีพ แก่ศิษย์เก่า (4,700 บาท) |
2566 |
1 .เพื่อให้ความรู้และพัฒนาทักษะที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายศิษย์เก่า
|
1. เชิงปริมาณ ศิษย์เก่า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 900/30 = 30 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
161 |
กิจกรรมที่ 5 จัดงานกีฬาสาน สัมพันธ์คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรมและเครือข่าย วิศวกรรมศาสตร์ (58,500 บาท) - กีฬาสานสัมพันธ์นักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - กีฬาสานสัมพันธ์วิศวะ ครั้งที่ 12 |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาด้วยการออกกำลังกาย
2. เพื่อเป็นการสานสัมพันธ์ของนักศึกษาภายในคณะและระหว่างสถาบันเครือข่ายวิศวกรรม
3. เพื่อให้นักศึกษามีความอบอุ่นและประทับใจ อันจะนำไปสู่ความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดี ระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้องในคณะและระหว่างสถาบันเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 175 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2.2 นักศึกษามีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเครือข่าย ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 58,450 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 58,450/175 = 334 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
162 |
กิจกรรมที่ 7 นิเทศนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (37,300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาฝึกงานได้มีประสบการณ์ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการของนักศึกษาภาคปกติ
3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 อาจารย์ออกนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อย่างน้อย 1 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ
นักศึกษามีผลการประเมินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า 80 คะแนน
3. เชิงเวลา อาจารย์ออกนิเทศฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 37,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 37,300/200 = 186.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
163 |
กิจกรรมที่ 8 ศึกษาดูงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (62,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานที่ที่ศึกษาดูงาน
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรต่าง ๆ กับมหาวิทยาลัย
3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษามีประสบการณ์ในเรื่องระบบการทำงานขององค์กรต่าง ๆ ด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
|
1. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 238 คน เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80
2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา TQF อย่างน้อย 3 ด้าน
2.2 นักศึกษาทุกหลักสูตรได้ความรู้และประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนจากการศึกษาดูงาน อย่างน้อยร้อยละ 70
3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 62,700 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 62,700/238 = 264 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
164 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกล อัตโนมัติ (20,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการปฏิบัติเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพให้ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ซึ่งเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรฯ
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคปกติ หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/15 = 1,333.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
165 |
จัดงานสันทนาการ สานสัมพันธ์โลจิสติกส์กับท้องถิ่น ปีที่ 10 |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการเสียสละการแบ่งปันน้ำใจให้กับชุมชนและสังคม
2. นักศึกษาได้ทำกิจกรรมสันทนาการกับชุมชน
|
เชิงปริมาณ
1. นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
3. นักศึกษาได้ทำกิจกรรมร่วมกับชุมชนอย่างน้อย 1 ชุมชน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 12,000/120 = 100 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
166 |
โครงการพัฒนานักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติกส์ในศตวรรษที่ 21 |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์จากการทำงานจริง
2. เพื่อเพิ่มสรรถนะของนักศึกษาวิศวกรรมโลจิสติกส์
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม
โลจิสติกส์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80
1.2 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
1.3 นักศึกษาได้รับความรู้จากศิษย์เก่าหรือสถานประกอบการ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการทำงานในอนาคต อย่างน้อยร้อยละ 80
1.1.4 นักศึกษาได้ทบทวนและฝึกปฏิบัติทดสอบความรู้ด้านการใช้โปรแกรมในงานวิศวกรรม อย่างน้อย 1 สมรรถนะ
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
167 |
กิจกรรมที่ 13 พัฒนานักศึกษา หลักสูตรทล.บ.เทคโนโลยีการ จัดการอุตสาหกรรม (ต่อเนื่อง) ในศตวรรษที่ 21 (55,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนให้เป็นตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ด้านเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมไปประยุกต์ใช้ในพัฒนาชุมชน
3. เพื่อเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านเทคโนโลยีและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมสู่ชุมชน
|
1. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 นักศึกษาได้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีต่าง ๆ ในงานอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 นักศึกษาสอบมาตรฐานวิชาชีพอย่างน้อย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,450 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,450/50 = 809 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
168 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการ ความรู้ด้านการวิจัยและด้าน การเรียนการสอน (7,400 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2. เพื่อให้คนในองค์กรมีเจตคติที่ดีในการแบ่งปันความรู้และเผยแพร่ผลงานให้บุคคลทั่วไปได้ทราบ
3. ได้องค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีด้านวิจัย และการเรียนการสอน
|
1. เชิงปริมาณ ผู้บริหาร อาจารย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน35 คน เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแผนจัดการความรู้ด้านวิจัย และการเรียนการสอน
อย่างน้อย 1 แผน
2.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแนวปฏิบัติที่ดีจากการถ่ายทอดองค์ความรู้
อย่างน้อย 2 ด้าน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,380 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,380/35 = 210.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
169 |
กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานของ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หลักสูตรได้รับมาตรฐาน AUN-QA และหลักสูตรบัณฑิตศึกษา) (138,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้บริหาร ประธานหลักสูตร และหัวหน้างาน/หัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำหลักสูตรตามมาตรฐาน AUN-QA และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
2. เพื่อรองรับการเติบโตและพัฒนาคณะด้านวิชาการในอนาคต
3. เพื่อวางแผนและดำเนินการเปิดหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ในปีการศึกษา 2566
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 ผู้บริหาร ประธานหลักสูตร หัวหน้างาน/หัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวนรวม 13 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 มีหลักสูตรตามแนวทางมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตร OBE รองรับ AUN-QA อย่างน้อย 1 หลักสูตร
1.3 มีร่างหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 1 หลักสูตร
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 138,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 138,600/13 = 10,661.54 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
170 |
กิจกรรมที่ 4 ยกย่องและเชิดชู เกียรติผู้มีผลงานดีเด่น คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (10,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า
2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับอาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า
|
1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการ
ยกย่องและเชิดชูเกียรติ อย่างน้อย 5 รางวัล
2. เชิงคุณภาพ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการ
ยกย่องและเชิดชูเกียรติ สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 10,000/20 = 500 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
171 |
กิจกรรมที่ 5 ประชุมจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ MOU กับหน่วยงานภายนอก (6,600 บาท) |
2566 |
เพื่อให้คณะมีข้อตกลงความร่วมมือในด้านวิชาการและภาคอุตสาหกรรม |
1. เชิงปริมาณ
1.1 ผู้บริหาร อาจารย์ และบุคลากรของหน่วยงาน จำนวน ๒0 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
1.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีข้อตกลงความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ/ภาคเอกชน และสถานประกอบการอย่างน้อย 2 หน่วยงาน
2. เชิงคุณภาพ
ความพึงพอใจของอาจารย์ นักศึกษา และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ MOU ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 6,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 6,600/20 = 330 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
172 |
บรรยาย เรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ที่สำเร็จการศึกษา ภาค กศ.บป. ประจำปีการศึกษา 2565 (7,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจากมุมมองต่าง ๆ ในการทำงาน วิชาชีพทั้งในองค์กรภาครัฐ และเอกชน
|
1.เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 4 ภาค กศ.บป. จำนวน 23 คน เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,200/23 = 139.13 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
173 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาบทบาท หน้าที่ของกรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (289,700 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของกรรมการสภามหาวิทยาลัย ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 18 แห่ง พรบ.ราชภัฏ พ.ศ. 2547 และกฎหมายอื่น
2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำหน้าที่ของกรรมการสภามหาวิทยาลัยภายใต้หลัก
ธรรมาภิบาลและการบริหาร
2.3 เพื่อเป็นการติดตามผลการดำเนินงานโคก หนอง นา ทุ่งใหญ่สารภีโมเดล ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาเขตสตูล
2.4 เพื่อให้กรรมการสภามหาวิทยาลัยได้ศึกษา เรียนรู้ บริบทของพื้นที่เป้าหมายอุทยานธรณีโลก (อุทยานแห่งชาติตะรุเตา) เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ให้ตอบโจทย์ตามนโยบายและบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการพัฒนาจังหวัดสตูลสู่ความยั่งยืน
2.5 เพื่อจัดประชุมสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 3/2566
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 35 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 441,450 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 441,450/27 = 16,350 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
174 |
กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานด้านการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยของ สำนักงานอธิการบดี (136,800 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุนของสำนักงานอธิการบดีได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาดูงานสถาบันอุดมศึกษาในด้านบริหารจัดการมหาวิทยาลัยและนำความรู้มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานของหน่วยงานเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป
2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มประสบการณ์ให้กับบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 24 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 126,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 126,900/24 = 5,287.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 |
 |
175 |
กิจกรรมที่ 9 สัมมนาอาจารย์ ที่ปรึกษานักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 (23,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อสร้างความรู้และทักษะเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในการดูแลช่วยเหลือนักศึกษา
2 เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ที่สนใจทราบนโยบายของมหาวิทยาลัยในการดำเนินงานด้านอาจารย์ ที่ปรึกษา
|
1 เชิงปริมาณ อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 และผู้สนใจ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการและผู้สนใจ มีความรู้ ทักษะ และสามารถดูแลช่วยเหลือนักศึกษาได้ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,700 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,700/120 = 189.17 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
176 |
กิจกรรมที่ 11 จัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามา- ธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา (34,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
2 เพื่อส่งเสริมการทำกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” ถวายในหลวงเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
|
1 เชิงปริมาณ
1) คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จำนวน 2,800 คน ได้ร่วมถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) บุคลากรและนักศึกษาได้ร่วมบริจาคโลหิต ไม่น้อยกว่า 200 คน
3) พื้นที่มหาวิทยาลัยได้รับการพัฒนาให้มีความสะอาดเพิ่มขึ้น จำนวน 10 พื้นที่
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 64,980 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 64,980/2,800 = 23.20 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
177 |
กิจกรรมที่ 13 พัฒนานักศึกษาใหม่ (5,022,100 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบกฎ ระเบียบ บริการ และสวัสดิการที่มหาวิทยาลัยจัดให้กับนักศึกษา
3. เพื่อชี้แจงแนวทางในการเรียนทั้งด้านวิชาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อให้สำเร็จการศึกษาตามเป้าหมาย
4. เพื่อให้นักศึกษาใหม่มีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 2,800 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 1) นักศึกษาใหม่ได้ร่วมกันทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาใหม่ได้ทราบกฎ ระเบียบ แนวทางการเรียนทั้งวิชาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร และสามารถนำไปปรับ
ใช้ได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3) นักศึกษาใหม่ มีความรู้และทักษะในการเป็นวิศวกรสังคมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 977,250 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 977,250/2,800 = 349.02 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
178 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาแกนนำสุขภาพ (61,800 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แกนนำสุขภาพมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตอาสาช่วยเหลือกิจกรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
.1 นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้และทักษะด้านการปฐมพยาบาลไปช่วยงานมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
179 |
กิจกรรมที่ 15 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ และค่ายพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษา (282,500 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการได้
2 เพื่อเพิ่มศักยภาพความเป็นผู้นำให้กับนักศึกษา
3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการจัดกิจกรรม
4 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การทำงานระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน
|
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษา จำนวน 95 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาสามารถเขียนโครงการได้ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ
3) นักศึกษาสามารถจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการทำงานโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมิน
เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 282,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 282,500/95 = 2,973.68 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
180 |
กิจกรรมที่ 16 พิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ประจำปี พ.ศ. 2566 (1,051,600 บาท) |
2566 |
เพื่อดำเนินการให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2563 - 2564 เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรประจำปี พ.ศ. 2566 |
1. เชิงปริมาณ บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ที่สำเร็จการศึกษาในการศึกษา 2563 - 2564ภาคปกติ จำนวน 1,974 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรได้ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,051,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,051,600/1,974 = 532.73 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
181 |
กิจกรรมที่ 10 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การ การจัดทำหลักสูตรตาม แนวทาง Outcomes-Based Education (OBE) ครั้งที่ 4 (21,600 บาท) |
2566 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ แนวคิดของการจัดการศึกษาแบบมุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ Outcomes-Based Education (OBE) และเข้าใจความสอดคล้อง OBE , TQF การเรียนรู้ Outcomes-Based |
- เชิงปริมาณ อาจารย์จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ อาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ร้อยละ 80 ได้นำความรู้ไปพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชาในหลักสูตรที่รับผิดชอบ
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
182 |
กิจกรรมที่ 12 ปฐมนิเทศ นักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (56,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยและสถานประกอบการ
2 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับงานตามความรู้ ความสามารถ อีกทั้งสามารถประยุกต์ ใช้ความรู้ที่ได้ศึกษามาใช้ในการแก้ปัญหาได้
4 เพื่อให้นักศึกษามีความมั่นใจในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาจำนวน 670 คน เข้าร่วมโครงการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษามีทักษะในการเลือกตำแหน่งงานให้ตรงสาขาวิชาที่เรียนมาเพิ่มขึ้นร้อยละ 80%
- เชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน - บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต - บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
183 |
กิจกรรมที่ 15 การประกวด ผลงานนักศึกษาสหกิจศึกษา และการศึกษาเชิงบูรณาการกับ การทำงานระดับมหาวิทยาลัย ประจำปี 2566 (61,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้ การคิดค้น การพัฒนาผลงาน และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการดำเนินงานสหกิจศึกษา
2. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ ยกย่อง ชมเชยองค์กรหรือหน่วยงาน และนักศึกษานำเสนอผลงานสหกิจศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาได้นำเสนอและเผยแพร่ผลงานสหกิจศึกษาและเป็นเวทีแสดงศักยภาพของนักศึกษาสหกิจศึกษา |
- เชิงปริมาณ : - นักศึกษาเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565
- นักศึกษาส่งผลงานสหกิจศึกษาเข้าร่วมประกวด จำนวนรวมไม่น้อยกว่า ๑5 ผลงาน
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ แนวคิดและทักษะการนำเสนอผลงานสหกิจศึกษา ถ่ายทอดประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และมีผลงานสหกิจศึกษานำเสนออย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากความพึงพอใจของนักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมนำเสนอผลงานทั้งหมด
- หลักสูตร/มหาวิทยาลัย สามารถนำผลงานนักศึกษาสหกิจศึกษาที่มีคุณภาพของแต่ละด้านส่งเข้าร่วมประกวดผลงานสหกิจศึกษาระดับเครือข่ายสหกิจศึกษาภาคใต้ตอนล่าง ไม่น้อยกว่า 6 ผลงาน
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 58,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 58,0๐๐/150 = 386.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
184 |
กิจกรรมที่ 16 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ การจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับ การทำงาน (CWIE) ครั้งที่ 3 (83,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (CWIE)
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตร สามารถดำเนินการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรและรายวิชาสอนสู่การบูรณาการกับการทำงานจริงร่วมกับสถานประกอบการได้
|
- เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรตามแนวทาง CWIE ไม่น้อยกว่าคณะละ 1 หลักสูตร
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,600/100 = 36 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
185 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพคณาจารย์สหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงาน |
2566 |
1. เพื่อให้อาจารย์สหกิจศึกษา อาจารย์นิเทศก์นักศึกษา และผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานสหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงาน
2. เพื่อให้การดำเนินงานสหกิจศึกษาและการบูรณาการกับการทำงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษาที่กำหนด
|
- เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- อาจารย์นิเทศมีผลประเมินการนิเทศจากนักศึกษาและสถานประกอบการ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนน (คะแนนเต็ม 5.00)
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,600/100 = 36 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
186 |
กิจกรรมที่ 18 สัมมนาเชิงปฏิบัติ การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา สหกิจศึกษาสู่โลกแห่งการทำงาน (40,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและทักษะที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาสหกิจศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาสหกิจศึกษาสามารถเรียนรู้และปรับตัวสู่การทำงานจริงได้ทันทีหลังจากสำเร็จการศึกษา
3. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาด้านทักษะที่จำเป็นต่อการทำงานตามความต้องการของตลาดงานในปัจจุบันและอนาคต
|
- เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 659 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม หรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- เชิงเวลา : - สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,800/659 = 2.73 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
187 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ (KM) ประจำปีการศึกษา 2566 (36,700 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการจัดการความรู้ (KM)
2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ทั่วทั้งมหาวิทยาลัยอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร
|
- เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัย จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ หน่วยงานมีผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดีไม่ต่ำกว่า 3.51
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 36,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 36,700/120 = 305.83 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
188 |
กิจกรรมที่ 20 ประกวดแนว ปฏิบัติที่ดี (48,400 บาท) |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ เพื่อนำไปสู่การค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี
3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานจัดการความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นระบบและ
เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหน่วยงานอย่างยั่งยืน
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ มหาวิทยาลัยมีองค์ความรู้/แนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย และ
การพัฒนางาน ไม่น้อยกว่า 1 ด้าน
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,020 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,020/120 = 375.17บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
189 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติ การ การเขียนรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2565 ระดับสำนัก สถาบัน ตามเกณฑ์การประกัน คุณภาพเพื่อการดำเนินการที่ เป็นเลิศ (37,300 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในปีการศึกษา 2565 ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ
2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างหน่วยงานสนับสนุนวิชาการในการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 55 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 37,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 37,300/55 = 678.18 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
190 |
กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติ การ การเตรียมความพร้อม รับการประเมินคุณภาพภายใน ตามเกณฑ์ AUN - QA ระดับหลักสูตร (182,600 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์ AUN-QA
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในแนวทางการนำเกณฑ์ AUN-QA ไปใช้ในการดำเนินงานระดับหลักสูตร
2.3 เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายในตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสูตร
|
- เชิงปริมาณ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 135 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ มี (ร่าง) รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์ AUN QA จำนวน 1 เล่ม
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ตั้งแต่ crteria 1-8 อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 157,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 157,000/135 = 1,162.92 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
191 |
กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติ การ AUN QA Implementation and Gap Analysis (50,400 บาท) |
2566 |
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจวัตถุประสงค์และสาระของเกณฑ์ AUN - Q
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำกรอบแนวคิดและสาระของเกณฑ์AUN - QA ไปพัฒนาและบริหารจัดการหลักสูตร
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์หาประเด็นที่ควรนำไปพัฒนาปรับปรุงการบริหารจัดการหลักสูตรโดยใช้แนวคิดจากเกณฑ์ AUN - QA เพื่อจัดทำแผนพัฒนา/บริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนได้อย่างสอดคล้อง
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวทางในการประเมินตนเองและเขียนรายงานการประเมินตนเองได้อย่างสอดคล้องกับสาระของเกณฑ์ AUN - QA
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวเกณฑ์ AUN - QA ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 79,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 79,200/120 =660 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
192 |
กิจกรรมที่ 28 ประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในระดับสำนัก/ สถาบัน ปีการศึกษา 2565 (47,900 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2562 และกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
2 เพื่อตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานของสำนัก/สถาบัน
3 เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
|
1 เชิงปริมาณ สำนัก/สถาบัน ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จำนวน 5 สำนัก/สถาบัน
2 เชิงคุณภาพ สำนัก/สถาบัน มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,900/75 = 518.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
193 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Intensive IELTS ในรูปแบบออนไลน์ (7,200 บาท) |
2566 |
เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของบุคลากรสายวิชาการให้มีความพร้อมในการสอบ IELTS |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในการเตรียมความพร้อมเพื่อสอบ IELTS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,200/40 = 180 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
194 |
กิจกรรมที่ 10 ARIT English Talent ประกวดความสามารถทางภาษา อังกฤษ (26,400 บาท) |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาทักษะด้านการพูดภาษาอังกฤษให้แก่นักศึกษา
2. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และกระตุ้นความสนใจในการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศให้แก่นักศึกษาผ่านกิจกรรมประกวดความสามารถทางภาษาอังกฤษ |
- |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
195 |
กิจกรรมที่ 13 ความร่วมมือด้าน พันธกิจสากล University Global Engagement (679,200 บาท) |
2566 |
เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการ วิจัยและการแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษาร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานต่างประเทศ |
1. เชิงปริมาณ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศอย่างน้อย 1 เครือข่าย
2. เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการทำความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา
- สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
196 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล ต่อต้านการทุจริตในองค์กร (14,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากร ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสำคัญในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร
2.เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม มีส่วนร่วมในการสร้างค่านิยมองค์กรคุณธรรม สามารถนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จ และต่อต้านการทุจริตในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล
|
1.เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,800/120 = 40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
197 |
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสถาบัน (4,400 บาท) |
2566 |
1 เพื่อรับฟังแนวคิดของผู้บริหารและบุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา
2 เพื่อรับฟังแนวคิดจากผู้มีส่วนได้เสียซึ่งเป็นบุคคลภายนอกหน่วยงาน
3 เพื่อนำข้อคิดเห็นจากการระดมความคิดเห็นมาปรับปรุงและวางแผนกลยุทธในการดำเนินงาน
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร/บุคลากร/ตัวแทนจากหน่วยงานภายใน จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: มีการทบทวนและปรับปรุงแผน ไม่น้อยกว่า 2 ฉบับ
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 4,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 4,400 /25 = 176 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 17 |
 |
198 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความปลอดภัยของห้อง ปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (33,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงการใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องและเกิดความปลอดภัยมากที่สุด
3. เพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติภัยสารเคมีขึ้นในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจของระบบ ChemInvent และระบบปฏิบัติการ ESPReL Checklist
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีผลการทดสอบความรู้เป็นที่พอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33,800 /50 = 676 บาท /คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
199 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การโต้ตอบสถานการณ์ ฉุกเฉินจากการทำงานในห้อง ปฏิบัติการ (23,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของการโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดจากการทำงานในห้องปฏิบัติการ
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้วิธีการปฏิบัติตัวเมื่อได้รับเหตุอันตรายและลดความสุญเสียที่ร้ายแรง |
1. เป้าหมายเชิงผลผลิต
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดจากการทำงานในห้องปฏิบัติการ
2. เป้าหมายเชิงผลลัพธ์
ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดจากการทำงานในห้องปฏิบัติการมาปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์จริง
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
200 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจติดตามคุณภาพ ภายในของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในห้องปฏิบัติการ (44,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดหรือมาตรฐานที่เกี่ยวข้อ
2 เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ
3 เพื่อให้เห็นว่ากิจกรรมต่างๆในระบบคุณภาพมีผลลัพธ์สอดคล้องกับแผนหรือเกณฑ์ที่กำหนด
4 เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการกระทำที่สอดคล้องกับเอกสารของระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการปรับปรุงเอกสารระบบคุณภาพให้มีความสอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,800 /30 = 793.33 บาท /คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
201 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (คคศ.) (19,200 บาท) |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้และทักษะทางปัญญาในการจัดทำสื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนในชุมชน
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตอาสาและการมีจิตสาธารณะ การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะความเป็นครูทุกด้าน
4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 35,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 35,200 /100 = 352 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
202 |
กิจกรรมที่ 21 จัดงานการประกวด คลิปวีดีโอเกี่ยวกับวิถีเราชาวปักษ์ใต้ (คมส.) (55,400 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้สร้างผลงานในการทำคลิปวีดีโอสารคดีวิถีชาวปักษ์ใต้
2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมในวันประกาศผลมีความรู้และเข้าใจถึงประโยชน์ต่อการอนุรักษ์วิถีชาวปักษ์ใต้ให้คงอยู่ต่อไป
|
เชิงปริมาณ
- นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทุกหลักสูตร จำนวน 387 คน จากเป้าหมาย 400 คน คิดเป็น 96.75%
เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงความสามารถในการสร้าง ตัดต่อ การทำคลิปวีดีโอสารคดีชาวปักษ์ใต้ออกมาอย่างชัดเจน คิดเป็น 95%
- นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทุกชั้นปีร่วมชมการประกาศผล และเข้าใจถึงวิถีของชาวปักษ์ใต้เพิ่มมากขึ้น คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.39
- นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม คิดเป็น 92%
เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 55,400 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
203 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างจิตสำนึกอนุรักษ์วัฒนธรรม (ควจ.) (64,300 บาท) |
2566 |
1.เพื่อสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์วัฒนธรรม
2. เพื่อให้ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม
3.เพื่อให้นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ |
เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 500 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80และมีจุตสำนึกในการนุรักษ์
วัฒนธรรมท้องถิ่นและมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์ในระดับ 3.50
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 64,300 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 64,300 / 500 = 128.60 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
204 |
กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านการตลาดวัฒนธรรมท้องถิ่น By MGT (ควจ.) (43,000 บาท) |
2566 |
1.เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
3.เพื่อให้นักศึกษาร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
4.เพื่อบูรณาการด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ
โดยฝึกปฏิบัติเป็นผู้ประกอบการท้องถิ่น ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) รวมทั้งบูรณาการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 43,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 43,000 /200 = 215 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 11 |
 |
205 |
กิจกรรมที่ 27 จัดงานซอแรงเกี่ยว ข้าว สืบสาน รักษา ต่อยอด ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (โคกหนองนา โมเดล) (วิทยาเขตสตูล) (5,000 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้การเก็บเกี่ยวข้าว
2.2 อนุรักษ์และสืบสานประเพณีซอแรงให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จัก
|
๕.๑ เชิงปริมาณ
๕.๑.๑ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 คน จากเป้าหมาย ๕๐ คน
๕.๑.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวข้าวให้แล้วเสร็จจำนวน ๕ แปลงตามกำหนดการ
๕.๒ เชิงคุณภาพ
๕.๒.๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประเพณีซอแรงเกี่ยวข้าว และเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ จากแบบทดสอบ
๕.๓ เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
๕.๔ เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๔,๕๐๐ บาท
๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ๔,๕๐๐ /๕๐ = ๙๐ บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 17 |
 |
206 |
กิจกรรมที่ 29 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจับจีบผ้าและผูกผ้าสำหรับครู (ควท.) (3,300 บาท) |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เรียนรู้วิธีการ หลักการและขั้นตอนการจับจีบผ้าและผูกผ้าเพื่อสร้างงาน และเพิ่มมูลค่าของผลงานให้เกิดความสวยงาม |
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 46 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,300 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,300/46 = 71.74 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
207 |
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดดอกไม้สำหรับครู (ควท.) (11,800 บาท) |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เรียนรู้วิธีการ หลักการและขั้นตอนการจัดดอกไม้เพื่อสร้างงาน และเพิ่มมูลค่าของผลงานให้เกิดความสวยงาม |
1 เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 84 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,800/84 = 140.48 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
208 |
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ
2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น
3. เพื่อทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้
|
1.เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3 .เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 78,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 78,600/200 = 393 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 |
 |
209 |
กิจกรรมที่ 34 จัดประกวดด้าน ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย (คทอ.) (39,000 บาท) -ตราสัญลักษณ์/โลโก้คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม -ดอกไม้ประจำคณะฯ -ผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ในด้านทำนุฯ |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมและความเป็นไทย
2. เพื่อส่งเสริมงานบูรณาการงานทะนุศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยผ่านการจัดประกวดผลงานต่าง ๆ
|
1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
5.1 กิจกรรมที่ 1; 13,000/200 = 65 บาท/คน
5.2 กิจกรรมที่ 2; 13,000/200 = 65 บาท/คน
5.3 กิจกรรมที่ 3; 13,000/200 = 65 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
210 |
กิจกรรมที่ 1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อ การตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ” (สวพ.) (7,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนบทความวิจัยแก่บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทำวิจัยในปริมาณมากขึ้น
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 7,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 7,200/100 = 72 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
211 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อ เสนอของบประมาณตามแผนยุทธ ศาสตร์ของประเทศและแหล่งทุน วิจัยภายนอก (สวพ.) (18,000 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนข้อเสนอการวิจัยแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัย
2.เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทำวิจัยในปริมาณที่มากขึ้น
3.เพื่อพัฒนาศักยภพาของนักวิจัย |
- บุคลากรและอาจารย์ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อลยะร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
212 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์” (สวพ.) (59,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
3. เพื่อให้คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจในการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
- เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 50,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 50,600 /180 = 281.11 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 9 |
 |
213 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนแบบข้อเสนอ โครงการวิจัยเพื่อขอรับรอง จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา” (สวพ.) (10,200 บาท) |
2566 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
- เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 9,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 9,800 /100 = 98 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
214 |
กิจกรรมที่ 9 จัดงานประชุม วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 5 (คมส.) (100,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักวิจัย และผู้สนใจได้นำเสนอและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการสู่สาธารณชนและชุมชนวิชาการเพิ่มมากขึ้น
2. เพื่อให้คณาจารย์ นิสิตนักศึกษา นักวิจัย ผู้สนใจ และผู้ทรงคุณวุฒิได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นประสบการณ์อันจะนำไปสู่การพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
3. เพื่อให้คณะได้รวบรวมบทความเพื่อจัดพิมพ์ในรูปแบบของเอกสารทางวิชาการ
|
เชิงปริมาณ
1. มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2. ผู้เข้าร่วมโครงการนำเสนอผลงาน และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการสู่สาธารณชน และชุมชนวิชาการได้ ไม่น้อยกว่า 50 บทความ
3. คณะฯ มีเครือข่ายเข้าร่วมงานวิชาการ ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยงาน
4. คณะฯ มีบทความวิจัยตีพิมพ์และเผยแพร่ในระดับชาติ ไม่น้อยกว่า 50 บทความ
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรม หรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมิน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘0 จากผลการประเมิน
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมิน
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
215 |
กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (ควจ.) (57,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของบุคลากร
2 เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการ |
เชิงปริมาณ : บุคลากรจำนวน 20 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 55,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 55,200/20 = 2,760 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 9 |
 |
216 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกร่างคำขอทรัพย์สิน ทางปัญญา (ควท.) (16,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการของคณาจารย์ในส่วนของงานวิจัย/อนุสิทธิบัตร
2. ส่งเสริมให้มีผลงานวิจัยนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่จดอนุสิทธิบัตร/สิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น
3. เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยคุณภาพดี และดีมากตามเกณฑ์การของตำแหน่งทางวิชาการ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,900/30 = 563.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
217 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงาน กับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.) (12,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้เกิดการส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยกับชุมชนมากขึ้น
2 ส่งเสริมให้มีเครือข่ายการทำงานวิจัยกับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
3 เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตามกรอบงานวิจัยที่ท้องถิ่นต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,980 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,980/30 = 399.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
218 |
กิจกรรมที่ .. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อ พัฒนาองค์กร (R2R) เพื่อนำเสนอ ในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ” |
2566 |
1. เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนบทความวิจัยเพื่อพัฒนาองค์กรแก่บุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย
2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทำวิจัยในปริมาณมากขึ้น
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุน
|
1. เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ด้านการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยและบทความวิจัย R2R
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีการทำวิจัย R2R ในปริมาณมากขึ้น
2. เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
- สร้างบุคลากรสายสนับสนุนที่สามารถผลิตผลงานวิจัย R2R เพื่อนำเสนอในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ
- มีจำนวนโครงการวิจัยและบทความวิจัย R2R ที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยและได้นำเสนอในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติเพิ่มมากขึ้น
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
219 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมการทำ วิทยานิพนธ์ และการค้นคว้า อิสระของนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาให้เป็นไปตามคู่มือ และรูปแบบของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา (ฉบับปี 2565) (6,600) |
2566 |
2.1 เพื่อให้การจัดทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีความเรียบร้อย ถูกต้องตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย
2.2 นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้รับความรู้ในการจัดทำรูปแบบวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระถูกต้องตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,800/80 = 22.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
220 |
กิจกรรมที่ 2 ฝึกการปฏิบัติวิชาชีพ การบริหารการศึกษา (31,400 บาท) 2.1 สัมมนาก่อนฝึกการปฏิบัติ วิชาชีพการบริหารการศึกษา 2.2 สัมมนาระหว่างฝึก การปฏิบัติวิชาชีพการบริหาร การศึกษา |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
2 เพื่อเตรียมกระบวนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
3 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
4 เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ :
1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ผู้บริหารพี่เลี้ยงในสถานศึกษา จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ :
2.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2.2 ผู้บริหารพี่เลี้ยงในสถานศึกษา มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,580 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 18,580 / 58 = 320.34 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
221 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ความเป็นครูและครูจิตอาสา สำหรับนักศึกษา รหัส 65 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (57,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู
2. เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
3. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะการมีจิตอาสาในการทำงานเพื่อส่วนรวมและสังคม
4. เพื่อให้นักศึกษามีจิตอาสาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย
|
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 65 จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู นำความรู้เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ครู วัดจากการทำแบบสอบถามการนำไปใช้ มีค่าเฉลี่ยในระดับมากขึ้นไป
เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 57,600 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 57,600/24 = 2,400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
222 |
กิจกรรมที่ 6 เปิดโลกทัศน์ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์การเป็น นักพัฒนาหลักสูตรและการสอน (64G) (56,800 บาท) (กิจกรรมคุรุสภา) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางหลักสูตรและการสอนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนกับหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ
2. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้รับความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ
3. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบไปประยุกต๋ใช้กับการปฏิบัติงาน
4. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะและทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
5. เพื่อให้นักศึกษาทำรายงานสรุปผลการศึกษาดูงานและนำเสนอแนวทางการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเองเป็นครูมืออาชีพ
|
เชิงปริมาณ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน จำนวน 33 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 26 คน
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. นักศึกษาปฏิบัติการสอนคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยประเมินค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 72,260 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 72,260/ 33 = 2,189.69 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
223 |
กิจกรรมที่ 10 สัมมนาหลังฝึก ปฏิบัติการสอนในสาขาวิชา เฉพาะ 2 สำหรับผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง รหัส 64 สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน (แบบออนไลน์) (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (7,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อรวบรวมข้อมูลและข้อเสนอแนะจากผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง ประสบการณ์การนิเทศนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 2
2. เพื่อนำข้อเสนอแนะจากการสัมมนาไปใช้ในการวางแผนการฝึกปฏิบัติการสอนของนักศึกษาในหลักสูตร
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยงที่นิเทศนักศึกษา รหัส 64 จำนวน 66 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ให้ข้อมูลและให้ข้อเสนอแนะการฝึกปฏิบัติการสอนของนักศึกษา และมีความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการ วัดจากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 7,200/66 = 109.09 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
224 |
กิจกรรมที่ 11 ปฐมนิเทศและ อบรมเชิงปฏิบัติการการปฏิบัติ การสอนในชั้นเรียนก่อนออก ฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชา เฉพาะ1 สำหรับนักศึกษา รหัส 65 สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (23,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 1
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 65 จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการฝึกปฏิบัติ การสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 23,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 23,700 / 24 = 987.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
225 |
กิจกรรมที่ 12 ประชุมชี้แจง ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง และ อาจารย์นิเทศก์ นักศึกษา ก่อนออกฝึกปฏิบัติการสอน ในสาขาวิชาเฉพาะ 1 สำหรับนักศึกษา รหัส 65 (ตามเกณฑ์คุรุสภา) (18,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์มีความรู้ความเข้าใจในการนิเทศและการประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา
2. เพื่อให้ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์มีทักษะในการนิเทศและการประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยงที่นิเทศนักศึกษา รหัส 65 จำนวน 66 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการนิเทศและประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และมีความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการ วัดจากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 18,000 / 66 = 272.73 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
226 |
กิจกรรมที่ 2 รับสมัครนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (141,000 บาท) 2.1 รับสมัครนักศึกษา 2.2 สอบข้อเขียนนักศึกษา 2.3 สอบสัมภาษณ์นักศึกษา |
2566 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 เข้าใจในกระบวนการสอบคัดเลือกนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ
2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 ทราบกระบวนการสอบสัมภาษณ์และทราบรายละเอียดที่เกี่ยวข้องในการเข้าศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู
|
- เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศึกษาเป้าหมายที่สมัครเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 141,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 141,000/500 = 282 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
227 |
กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศและสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียม ความพร้อมเข้าศึกษา นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (71,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจการเตรียมความพร้อมเป็นนักศึกษา เข้าใจในกระบวนการเรียนรายวิชา เกณฑ์การจบหลักสูตรและการฝึกปฏิบัติการสอน
2. เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านการปฏิบัติงานและปฏิบัติตน ตามประกาศคณะกรรมคุรุสภา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566
จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 71,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 71,200/180 = 395.55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
228 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมและสัมมนา เชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความ พร้อมในการสอบภาษาอังกฤษ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนีย บัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (44,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
2. เพื่อนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ได้พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมสอบใบประกอบวิชาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 44,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 44,800/180 = 248.88 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
229 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ วงเครื่องสาย Satit String Ensemble (218,200 บาท) 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้ความรู้ ทักษะการปฏิบัติ เครื่องดนตรีไวโอลิน วงเครื่องสาย Satit String Ensemble 2.2 จัดงานคอนเสิร์ต วงเครื่องสาย Satit String Ensemble |
2566 |
2.1 เพื่อเสริมสร้างความรักความสามัคคีขึ้นภายในองค์กร โดยมีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
2.2 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมยามว่าง สร้างความสุขความจรรโลงใจด้วยดนตรี และศิลปะการแสดง
2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงออกต่อหน้าสาธารณชนได้อย่างมีความสุข
2.4เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีให้กับนักเรียน
2.5 เพื่อจัดหารายได้พัฒนาส่งเสริมด้านการศึกษาของโรงเรียน |
เป้าหมายเชิงผลผลิต
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 60 คน ที่เป็นสมาชิกในวงเครื่องสาย Satit String Ensemble มีทักษะกระบวนการดนตรั สามารถบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีไวโอลิน
เป้าหมายเชิงผลลัพธ์
นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความรักด้านดนตรี สุนทรียภาพ มีความสามัคคีในหมู่คณะ สามารถสร้างสรรค์บทเพลงให้เป็นที่ประจักษ์แก่บุคคลภายนอก |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
230 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตและ การเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน (638,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมทักษะความรู้ความสามารถทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี (หุ่นยนต์) ให้นักเรียน
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงต่อหน้าสาธารณะชนได้อย่างมีความสุข
|
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่มีความสนใจเรียนเสริมทักษะ จำนวนทัั้งสิ้น 332 คน (จำนวน 166 คน) ต่อ 1 ภาคเรียน) เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
231 |
กิจกรรมที่ 8 รับสมัครนักเรียน เข้าเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (35,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักเรียนใหม่ประจำปีการศึกษษ 2566
2. เพื่อให้การรับสม้ครนักเรียนใหม่เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีการรับสม้ครนักเรียนใหม่ 3 ระดับ ดังนี้ คือ ระดับปฐมวัย(บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนเข้าเรียนในระดับชั้นที่เปิดรับสม้คร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
232 |
กิจกรรมที่ 9 กีฬาสีสาธิตเกมส์ (66,100 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย ส่งเสริมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3. เพื่อสร้างสุขลักษณะนิสัยที่ถูกต้องให้แก่ผู้เรียน และสร้างความรุ้รักสามัคคีในองค์กร |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 589 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ในด้านกีฬา และกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 66,100 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 66,100 /589 เท่ากับ 112.20 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
233 |
กิจกรรมที่ 12 ปัจฉิมสาธิต รุ่นที่ 33 สำหรับนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (23,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา
2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในความสำเร็จ
3. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างครู นักเรียน และผู้ปกครอง
4. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียนรุ่นต่อไป |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 66 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 23,200 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,200 /66 เท่ากับ 351.22 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
234 |
กิจกรรมที่ 13 ประชุมเชิง ปฏิบัติการ การจัดทำแผนปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (15,500 บาท) |
2566 |
1. เพื่อทบทวนผลการดำเนินงานแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
2. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
3. เพื่อให้ผู้บริหาร และบุคลากรได้รับทราบและมุ่งปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันเพื่อตอบสนองต่อวิสัยทัศนื พันธกิจของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงชาได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ |
เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 43 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้มาจ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ไม้น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
235 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง เสริมสร้างความ เป็นเลิศทางนวัตกรรมทางการ ศึกษา ภายใต้แผนงานวิจัยใน ชั้นเรียนของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (11,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ครูได้สร้างองค์ความรู้ใหม่และเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ จากการวิจัยในชั้นเรียน
2. เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนและครูให้เป็นผู้ที่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องโดยผ่านกระบวนการวิจัยในชั้่นเรียน
3. เพื่อให้ครูได้นำเสนองานวิจัย นวัตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ ๆ
4. เพื่อให้โรงเรียนสาธิตมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 |
เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 43 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาการทำวิจัยหรือนวัตกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
236 |
กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิง ปฏิบัติการการประกันคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (14,500 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้บริหาร ครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักเห็นความสำคัญ ร่วมกันรับผิดชอบการจัดการศึกษา
2. เพื่อจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาให้มีคุณภาพ เป็นที่ยอมารับของประชาชน ชุมชน และท้องถิ่น
3. เพื่อจัดระบบควบคุมคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตามมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนด |
เชิงปริมาณ ครู และบุคลากรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 41 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80ง
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นุทนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 6,020 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,020 /41 เท่ากับ 146.83 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
237 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิง ปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา (15,300 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ครู และบุคลากรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 43 คน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศกึษาปฐมวัยและระดับประถมศึกษา
2. เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและระดับประถมศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาให้มีคุณภาพที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและชุมชน
|
เชิงปริมาณ ครูและบุคลากร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 43 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและชุมชนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามาารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 6,160 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,160/43 เท่ากับ 143.26 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
238 |
กิจกรรมที่ 17 บรรยายพิเศษ เรื่อง ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด (1,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ ทราบปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
2. เพื่อสร้างผู้นำในการต่อต้านและป้องกันการเแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ต่าง ๆ
3. เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 60 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องต้านภัยยาเสพติด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้่าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,800/60 เท่ากับ 30/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
239 |
กิจกรรมที่ 18 บรรยายพิเศษ เรื่อง อย.น้อย (2,800 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้นักเรียนมีความรุ้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
2.2 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 57 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง อย.น้อย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 2,800 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,800/57 เท่ากับ 49.12 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
240 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิง ปฏิบัติการเรื่อง ออกกำลังกาย อย่างถูกต้อง (5,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน มีสุขภาพที่แข็งแรง มีสุขภาพจิตที่ดี
3. เพื่อให้นักเรียนนำแนวคิด วิธีการ หลักการฝึกออกกำลังกายเสริมสร้างสมรรถภาพไปใช้เพื่อพํมนาคุณภาพชีวิตได้ |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 65 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าในในหัวข้อกิจกรรมการอบรม เรื่อง การออกกำลังกายอย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การออกำลังกายอย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
241 |
กิจกรรมที่ 20 บรรยายพิเศษ เรื่อง ออกกำลังกายลดภาวะ น้ำหนักเกินเกณฑ์ (1,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย ลดภาระน้ำหนักเกินเกณฑ์
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถภาพทางกายแข็งแรง สมบูรณ์ สุขภาพดี
3. เพื่อปรับเปลี่ยน และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนและบุคากรในสถานศึกษา
4. เพื่อให้สถานศึกษาเป็นต้นแบบและมีโภชนาที่ดีต่อผู้บริโภคในสถานศึกษา |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 จำนวน 125 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการออกกำลังกายเพื่อลดภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,800/125 เท่ากับ 14.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
242 |
กิจกรรมที่ 1 จัดงานบายศรีสู่ขวัญ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2565 |
2566 |
1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างอาจารย์ นักศึกษารุ่นพี่และรุ่นน้อง
2. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมของไทย
|
1. เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
1.1 นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญ
2. เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
2.1 นักศึกษาสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
2.2 นักศึกษามีแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อ
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
243 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเรื่อง นักธุรกิจ SMEs ในยุค 4.0 |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และมีทักษะการเป็นผู้ประกอบการ |
1. นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
244 |
กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบ MGT Fashion Fancy Recycle(82,600 บาท) |
2566 |
นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการนำวัสดุเหลือใช้มารีไซเคิลอย่างสร้างสรรค์ |
1. เชิงปริมาณ
- นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 805 คน เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
- มีชุดการแสดงจากวุสดุเหลือใช้ไม่ต่ำกว่า 20 ชุด
2. เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการโดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 82,600 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 82,600 /805 = 102.61
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
245 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง วัยรุ่นยุคใหม่ห่างไกลยาเสพติด (75,500 บาท) |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด และเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดในคณะวิทยาการจัดการ |
1. นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการจำนวน 800 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และความเข้าใจในเรื่องของสารเสพติดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 |
เป้าหมายที่ 4 |
246 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมการจัดทำแผนด้านการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ Bussiness Model Canvas และให้ความรู้ด้านหลักเกณฑ์การยื่นขอรับรองมาตฐานกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้ผลิตได้รับการพัฒนาแบบผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ ให้มีความเหมาะสม ตามความต้องการของตลาด เพิ่มมูลค่าและรายได้
2. เพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองในด้านการประกอบธุรกิจ การค้า การบริการจัดการด้วยตนเองจนสามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่น ได้อย่างยั่งยืนตลอดจนสร้างจุดแข็งในด้านคุณภาพราคา และเพิ่มศักยภาพทางการตลาด
3. เพื่อสร้างนวัตกรรุ่นใหม่ในท้องถิ่นให้เกิดขึ้น เพื่อกระจายองค์ความรู้
|
- เชิงปริมาณ
1) สร้างแบรนด์สินค้าให้แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนพร้อมขายและต่อยอดทางการตลาดรวมอย่างน้อย 15 ผลิตภัณฑ์
2) ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการอย่างน้อย 17 ผลิตภัณฑ์
3) จำนวนผู้เข้าร่วมการอบรมจำนวน 30 คน
- เชิงคุณภาพ
1) รายได้ของผู้ประกอบการผลิตสินค้าชุมชน OTOP หรือวิสาหกิจชุมชน เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 10 ต่อปี
- เชิงเวลา
1) สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,400.- บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,400 บาท/30 คน = 480.- บาท
|
เป้าหมายที่ 9 |
 |
247 |
กิจกรรมที่ 3 วิศวกรสังคม ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและระดมความคิดเห็นเพื่อบูรณาการผสานองค์ความรู้ |
2566 |
1. เพื่อสร้างกลไกและ Platform ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสนับสนุน "วิศวกรสังคม" เพื่อยกระดับ Soft Skill ของนักศึกษาและบัณฑิตในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมเพื่อสังคมชุมชน
2. เพื่อให้นักศึกษามีบทบาทและส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคมชุมชนท้องถิ่นรวมไปถึงการพัฒนา Social Enterprise และสถานประกอบการท้องถิ่น
|
1. นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวนไม่น้อยกว่า 150 คนลงพื้นที่ประกอบการแก้ปัญหาและส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
2. พื้นที่วิศวกรสังคมได้ลงไปช่วยแก้ปัญหาและส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ไม่น้อยกว่า 9 พื้นที่
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
248 |
กิจกรรมที่ 5 ประกวดและแสดงผลงาน : วิศวกรสังคมร่วมสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างความยั่งยืนแก่ชุมชน |
2566 |
1 เพื่อสร้างกลไกและ Platform ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสนับสนุน “วิศวกรสังคม” เพื่อยกระดับ Soft Skills ของนักศึกษาและบัณฑิตในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมเพื่อสังคมชุมชน
2 เพื่อให้นักศึกษามีบทบาทและส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคมชุมชนท้องถิ่นรวมไปถึงการพัฒนา Social Enterprise และสถานประกอบการท้องถิ่น
|
1 เชิงปริมาณ : 1) จำนวนผลงานของวิศวกรสังคมที่เข้าร่วมประกวด ไม่น้อยกว่า 9 ผลงาน
2) จำนวนผลงานที่นักศึกษามีบทบาทและส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคมชุมชน
ท้องถิ่น รวมไปถึงการพัฒนา Social Enterprise และสถานประกอบการท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน
3) นวัตกรรมเพื่อสังคม/นวัตกรรมชุมชนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการรับรอง
การนำผลงานไปใช้ประโยชน์หรือการสร้างผลกระทบที่ชัดเจนต่อสังคม/ชุมชน/ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,000/25 = 560 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
249 |
กิจกรรมที่ 3.1.2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องการส่งเสริมการตลาดและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ของชุมชน |
2566 |
1. เพื่อยกระดับเศรษฐกิจในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน
2. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งตนเองได้
3. เพื่อนำความรู้ด้านการส่งเสริมการตลาดไปใช้ในการจำหน่ายผลิตภัณฑื |
เชิงปริมาณ : 1. กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ชุมชนต้นแบบได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1 ชุมชน
3. ชุมชนมีผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดออนไลน์ จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 10 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 135,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 135,000/180 = 752.22 บาท |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
250 |
กิจกรรมที่ 3.1.3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และจัดงานประกวดการแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน |
2566 |
1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนมีศูนย์การเรียนรู้ในชุมชนท้องถิ่น
2.เพื่อนำผลิตภัณฑ์ของชุมชนมาจัดแสดงให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
3. เพื่อสร้างจุดเด่นของชุนชนต้นแบบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่าง
|
- เชิงปริมาณ : 1.กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 100 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 แห่ง
- เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 1 เครือข่าย
3. มีผลิตภัณฑ์ชุมชนร่วมงานจัดแสดงสินค้าอย่างน้อย 5 ผลิตภัณฑ์
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 74,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 74,900/100 = 749 บาท
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
251 |
กิจกรรมที่ 3.1.4 ลงพี้นที่ติดตามความก้าวหน้า |
2566 |
1. เพื่อประเมินผลการดำเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
2. เพื่อสามารถนำผลจากการติดตามความก้าวหน้ามาปรับปรุงและพัฒนา
3. นำผลที่ได้จากการปรับปรุงและพัฒนา เสนอต่อชุมชนและเทศบาลโคกม่วง
|
1. เชิงปริมาณ : - ลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
- รายงานผลการติดตามความก้าวหน้าอย่างน้อย 1 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ : - เทศบาลโคกม่วงสามารถนำผลรายงานการติดตามความก้าวหน้าไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาต่อไป
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/2 = 7,450 บาท
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
252 |
จัดงานคัดเลือกนักศึกษาต้นแบบเกษตร |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ให้กับนักศึกษา
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความกล้าแสดงออก มีบุคลิกภาพที่ดี พร้อมที่จะเป็นตัวแทนเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของคณะเทคโนโลยีการเกษตร
|
- เชิงปริมาณ - นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
- มีตัวแทนนักศึกษาในการประชาสัมพันธ์ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร
ไม่น้อยกว่า 2 คน
- เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ
มีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา - สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45400/100 =454 บาท |
เป้าหมายที่ 4 |
253 |
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม
|
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา
3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
254 |
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
|
3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้
3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
255 |
กิจกรรมที่ 3.5.1 กาแฟสินค้าอัตลักษณ์ (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. พัฒนากาแฟเป็นสินค้าอัตลักษณ์
ชุมชน โดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
|
1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช
และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน
1 นวัตกรรม
2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน
ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15
|
เป้าหมายที่ 17 |
 |
256 |
กิจกรรมที่ 3.5.2 อนุรักษ์คลองหลา (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อพัฒนาการเลี้ยงปลาในกระชัง
และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ให้มี
ประสิทธิภาพและอนุรักษ์ธรรมชาติ
|
1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากสัตว์
และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ
จำนวน 1 นวัตกรรม
2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15
|
เป้าหมายที่ 9 |
 |
257 |
กิจกรรมที่ 3.5.4 ยุวเกษตรรักษ์ถิ่น (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร
สำหรับนักเรียน โรงเรียนวัดปักคล้า
|
ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน
ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
|
เป้าหมายที่ 9 |
 |
258 |
กิจกรรมที่ 3.5.5 เกษตรผสมผสานเพื่อเสริมรายได้ (เกษตรผสมผสานเกาะแต้ว) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อจัดการแปลงเกษตรผสมผสาน
ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่นา พืชสวน
และพืชไร่ เพื่อเสริมรายได้
|
ระหว่างดำเนินการ |
เป้าหมายที่ 9 |
 |
259 |
กิจกรรมที่ 3.5.6 ผลิตและแปรรูปข้าวพื้นเมือง (เกษตรผสมผสานเกาะแต้ว) |
2566 |
1 เพื่อเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพื้นเมืองและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม |
1.นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืชและวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐ์กิจ จำนวน 1 นวัตกรรม
2.ชุมชนตันแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 |
เป้าหมายที่ 17 |
 |
260 |
กิจกรรมที่ 3.5.9 ยกระดับการผลิตส้มจุกเชิงพาณิชย์ (เกษตรพหุวัฒนธรรม ต.แค และพื้นที่ใกล้เคียง) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
|
1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช
และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ
จำนวน 1 นวัตกรรม
2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15
|
เป้าหมายที่ 17 |
 |
261 |
กิจกรรมที่ 3.5.10 ผลิตปุ๋ยอินทรีย์เสริมรายได้ (เกษตรพหุวัฒนธรรม ต.แค และพื้นที่ใกล้เคียง) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อพัฒนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุ
เหลือทิ้งในชุมชนเพื่อใช้เองและ
จำหน่าย
|
1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช/
สัตว์และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ
จำนวน 1 นวัตกรรม
2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15
|
เป้าหมายที่ 17 |
 |
262 |
กิจกรรมที่ 3.5.12 สัมมนาเครือข่ายชุมชนเกษตร พอเพียง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างดำรงชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ในชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
2 เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การผลิตและการแปรรูปกาแฟ การทำเกษตรผสมผสาน การปลูกส้มจุก และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์
|
- เชิงปริมาณ
ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
- เชิงคุณภาพ
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การผลิตและการแปรรูปกาแฟ การทำเกษตรผสมผสาน การปลูกส้มจุก และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,000/45 = 1,000 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 9 |
 |
263 |
กิจกรรมที่ 3.6.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาที่ยั่งยืนผ่านการยกระดับสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนตำบลเขาขาว |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชนที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2. เพื่อพัฒนาและการยกระดับผู้ประกอบการชุมชนในการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 มีการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มุ่งสู่ความเป็นอัตลักษณ์ชุมชนตำบลเขาขาว จำนวน 8 กลุ่ม
1.2 เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเขาขาว เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.3 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15
3.เชิงเวลา
3.1 สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
264 |
กิจกรรมที่ 3.6.2 จัดงานและสัมมนาเชิงปฏิบัติการกระบวนการทำข้าวเม่าในพื้นที่ตลาดวัฒนธรรมเขาขาว |
2566 |
1.เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเขาขาว สู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2.พื่อพัฒนากิจกรรมสำหรับการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตำบลเขาขาว สู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบบูรณาการ
3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านวัฒนธรรมชุมชนที่เข้มแข็ง
|
เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
1. ตลาดวัฒนธรรมเขาขาวสู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบบูรณาการ 1 ต้นแบบ
เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
1.ชุมชนสามารถสร้างรายได้เพิ่มจากพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเพื่อการยกระดับเศรษฐกิจวัฒนธรรมชุมชนแบบบูรณาการเขาขาว
2. นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการประยุกต์ใช้องค์ความรู้สู่การพัฒนาท้องถิ่น
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
265 |
กิจกรรมที่ 3.7.3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการรวัตกรชุมชนกับการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม |
2566 |
เพื่อพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยนวัตกรชุมชนให้มีศักยภาพพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยว |
1.เชิงปริมาณ
1.1 เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.3 เกิดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกาะยอ อย่างน้อย 1 กิจกรรม
2.เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.3 เกิดนวัตกรชุมชน อย่างน้อย 5 คน
3.เชิงเวลา
3.1 สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
266 |
กิจกรรมที่ 3.7.4 จัดงานเทศกาลปลากระพง |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเกาะยอสู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลเกาะเกาะยอโดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน
|
1.เชิงปริมาณ
1.1 มีเกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.2 เกิดชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชน ที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน
1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเกาะยอ เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3.เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
267 |
กิจกรรมที่ 3.7.5 จัดงานเทศกาลจำปาดะ |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเกาะยอสู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลเกาะเกาะยอโดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน
|
1.เชิงปริมาณ
1.1 มีเกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.2 เกิดชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชน ที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนา อย่างยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน
1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเกาะยอ เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
268 |
กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ |
2566 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดียนให้กับนักเรียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
2.2 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาสำหรับแสดงประกอบวงเมโลเดียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ 1 นวัตกรรม
5.1.2 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 1 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 สามารถนำการแสดงใช้เป็นกิจกรรมส่งเสริมเมืองสงขลาสู่เมืองมรดกโลกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
5.2.3 สามารถนำการแสดงที่สร้างสรรค์ไปใช้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลาสร้างรายได้สู่ชุมชน เพื่อขึ้นร้อยละ 5
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,200/30 = 540 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
269 |
กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ |
2566 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการคณะเพื่อยกระดับรายได้ของชุมชน
2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม
5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 261,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 261,700 /200 = 1,308.5 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 11 |
 |
270 |
กิจกรรมที่ 6.2 อบรมเรื่องเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคตแก่นักศึกษา |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ในการเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
2. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
3. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4. เพื่อให้นักศึกษาที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาทราบถึงแนวทางต่าง ๆ หลังจากจบการศึกษาและมีความพร้อมในการทำงาน
5. เตรียมความพร้อมของนักศึกษาและพัฒนาบุคลิกภาพให้พร้อมในการเข้าสู่อาชีพตลอดจนเข้าใจสภาพแวดล้อมในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
|
1. เชิงปริมาณ :
1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่สนใจเข้าร่วม ชั้นปีที่ 4 - 5
จำนวน 566 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 จำนวนบัณฑิตครูสามารถสอบบรรจุได้สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศร้อยละ 25
2. เชิงคุณภาพ :
2.1 นักศึกษาครูได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.2 นักศึกษาครูมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.3 นักศึกษาครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 199,680 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 199,680 /566 = 352.79 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
271 |
กิจกรรมที่ 7.2.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และสตูล |
2566 |
เพื่อพัฒนาศักยภาพการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน
|
1. เชิงปริมาณ
1.1.ได้ขยายกลุ่มภาคีเครือข่ายโดยครอบคลุมทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่นภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน จำนวนอย่างน้อยภาคละ 1 เครือข่ายต่อ 1 ชุมชนต้นแบบ
1.2 เกิดองค์ความรู้นวัตกรรมด้านการยกระดับการใช้ทรัพยากรของชุมชน SDG อย่างยั่งยืน จังหวัด ๑ องค์ความรู้
1.3 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมพัฒนาต่อจังหวัด จังหวัดละ 10 คน รวม 30 คน
2.เชิงคุณภาพ
2.1ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 17 |
 |
272 |
กิจกรรมที่ 7.2.2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาท้องถิ่นตามโครงการพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย กรณีชุมขนต้นแบบตะโหมดกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน |
2566 |
เพื่อจัดงานโครงการพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย กรณีชุมชนต้นแบบ ตะโหมดกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน |
1.เชิงปริมาณ
1.1ได้โมเดลชุมชนต้นแบบที่มีการพัฒนาท้องถิ่นตามพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 1 โมเดล
1.2 เกิดนวัตกรชุมชน จำนวน 5 คน
1.3 คนในชุมชนเกิดเครือข่ายการอนุรักษ์ ดูแล ทรัพยากรของชุมชนทั่วประเทศ จังหวัด 10 คน รวม 30 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3.เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
273 |
กิจกรรมที่ 7.2.3 จัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมขน การท่องเที่ยวชุมขน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย |
2566 |
เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยการใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย |
1.เชิงปริมาณ
1.1 ได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 8 ชุมชนต้นแบบ
1.2 คนในชุมชนเกิดเครือข่ายการอนุรักษ์ ดูแล ทรัพยากรของชุมชนทั่วประเทศ จังหวัดละ 10 คน รวม 30 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
274 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและการปฏิบัติศาสนกิจตามหลักศาสนา" และร่วมถวายเทียนพรรษา สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2566 |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้หลักธรรมทางศาสนาและเข้าใจวิธีฝึกปฏิบัติธรรมเพื่อพัฒนาตนเองอย่างถูกต้อง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักธรรมและกิจกรรมพิธีกรรมทางศาสนา |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 364 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการฝึกปฏิบัติศาสนกิจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 9,050 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 9,050 /364 เท่ากับ 24.86 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
275 |
กิจกรรมที่ 3 เข้าค่ายลูกเสือเนตรนารี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 |
2566 |
1. เพื่อให้มีความรู้และทักษะในกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ตามหลักสูตรที่กำหนด
2. เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัย เกิดความรักและสามัคคีในหมู่่คณะ
3. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการดำรงตน นำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จำนวน 129 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมต่างๆ ของการเข้าค่ายพักแรมลูกเสือเนตรนารี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมึความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นุทนต่อหน่วยกิจกรรม 61,900 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 61,900 / 129 เท่ากับ 479.84 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
276 |
กิจกรรมที่ 4 ทัศนศึกษา |
2566 |
1. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและโบราณสถานโบราณวัตถุ เกิดความรัก ชื่นชมหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
2. เพื่อได้ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในท้องถิ่น
4. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ตรง จากการศึกษาหาความรู้นอกสถานที่
5. เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ชมสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ๆ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสมแก่วัย
6. เพื่อให้นักเรียนมีความสามัคคีในหมู่คณะ |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 383 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการไปทัศนศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 208,200 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 208,200/383 เท่ากับ 543.60 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
277 |
กิจกรรมที่ 5 ทัศนศึกษา |
2566 |
1. เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสได้ออกไปศึกษานอกสถานที่
2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้จากประสบการณ์ตรง
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักการสังเกตและสอบถาม
4. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักสถานที่สำคตัญในชุมชน
5. เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกที่ดี |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) จำนวน 216 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการไปทัศนศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการตมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
278 |
ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
2566 |
เพื่อเสริมสร้างทักษะการบริหารงานและการจัดการที่เป็นระบบของสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
5.1 เชิงปริมาณ อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ กรรมการสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
จำนวน 46 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการบริหารงานกิจกรรมนักศึกษาและการจัดการสโมสรนักศึกษาที่เป็นระบบ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 41,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 947.72 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
279 |
แข่งขันทักษะการโต้วาที เรื่อง การใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน |
2566 |
1. นักศึกษาในมหาวิทยาลัยได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ได้แสดงทรรศนะและแสดงเหตุผลในฐานะเยาวชนได้อย่างถูกต้อง
2. ผู้เข้าร่วมการแข่งขันได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และได้เห็นมุมมองความคิดเห็นของฝ่ายตรงกันข้ามอย่างสร้างสรรค์ |
เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 8 ทีม
เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมการแข่งขันได้รับการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและได้เรียนรู้
มุมมองความเห็นอย่างสร้างสรรค์ ร้อยละ 87.35
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย 4.35
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 12,300 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : 1,537.50 บาท/ทีม
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
280 |
กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดการทำ บูดู สืบสานวัฒนธรรมด้านอาหาร ปักษ์ใต้ (8,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ผ่านการทำงานร่วมกับผู้อื่นในการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมไทย
2 เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมมีนิทรรศการเผยแพร่ความเป็นมาของขนมไทยปักษ์ใต้และการทำน้ำบูดู
|
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2565 คณะครุศาสตร์เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 280 คน
2) จำนวนอาหารไทยที่นำมาแสดงไม่น้อยกว่า 15 ชนิด
3) จำนวนทีมที่เข้าร่วมโครงการประกวดทำน้ำบูดูมีทั้งหมด 9 ทีม
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,000บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,000/330 = 24.24 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
281 |
กิจกรรมที่ 3 ค่ายครูอาสาพัฒนา โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (47,900 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปใช้ในการผลิตสื่อมอบให้กับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
บ้านหาดทราย
2.2 เพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหาดทราย
2.3 เพื่อพัฒนาภูมิทัศน์ของโรงเรียนและจัดห้องสมุดให้เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้
|
5.1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนสื่อการเรียนการสอนระดับประถมศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ชิ้น
3) มีห้องสมุดที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้จำนวน 1 ห้อง
4) ภูมิทัศน์โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 3 พื้นที่
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
282 |
กิจกรรมที่ 2 ค่ายเกษตรอาสา สร้างฝายชะลอน้ำ (54,100 บาท) |
2566 |
1 เพื่อสร้างฝายชะลอน้ำให้กับชุมชน
2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของฝายชะลอน้ำ
|
1 เชิงปริมาณ (1) นักศึกษา จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
(2) มีฝายชะลอน้ำจำนวน 1 แหล่ง
2 เชิงคุณภาพ (1) ผู้เข้าร่วมมีความรู้เรื่องประโยชน์ของฝายชะลอน้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
(2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ มีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
(3) นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 54,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 54,100 /70 = 772.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
283 |
กิจกรรมที่ 2 ค่ายจิตอาสาพัฒนา โรงเรียนบ้านดอนขี้เหล็ก (22,800 บาท) |
2566 |
เพื่อพัฒนาภูมิทัศน์ของโรงเรียนวัดเจริญราษฎร์ |
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 โรงเรียนวัดเจริญราษฎร์มีภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่
ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,800/40 = 570 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
284 |
กิจกรรมที่ 1 การแข่งขัน E-sports Arena of Valor HUSO ประจำปีการศึกษา 2565 (15,000 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ใช้ศักยภาพด้านกีฬา E-sport |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาเข้ารวมการแข่งขันจำนวน 12 ทีม จาก 16 ทีม คิดเป็น 75%
เชิงคุณภาพ : - ผู้จัดโครงการมีประสบการณ์ในการจัดการแข่งขันกีฬา E-sport คิดเป็นร้อยละ 86.75
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.62
เชิงเวลา : ดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
285 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง มนุษย์มดเรียนรู้ อยู่อย่าง- พอเพียง (11,400 บาท) |
2566 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต
|
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อย 92.5
เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลังจากการเข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 96.75
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการดังกล่าว คิดเป็นร้อยละ 4.72
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 11,400 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : 285 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
286 |
กิจกรรมที่ 9 จัดงานบายศรีสู่ขวัญ สานสัมพันธ์น้องพี่สู่ครอบครัว HUSO ปีการศึกษา 2566 (13,900 บาท) |
2566 |
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาใหม่ รุ่นพี่ และคณาจารย์ |
5.1 เชิงปริมาณ - นักศึกษาใหม่ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาใหม่ รุ่นพี่ และคณาจารย์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
287 |
กิจกรรมที่ 10 พัฒนาศักยภาพผู้นำ นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2566 (10,700 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้สโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการเขียนโครงการ จัดโครงการ และสรุปโครงการได้อย่างถูกต้อง
2. เพื่อให้สโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สามารถใช้งบประมาณเงินค่ากิจกรรมนักศึกษา ภาคปกติ ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีความสัมพันธ์ที่ดีและทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
|
เชิงปริมาณ
- กรรมการสโมสรนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีแผนการจัดกิจกรรมที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
288 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษา ประจำปีการศึกษา2566 (16,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการเป็นผู้นำที่ดี
2 เพื่อเตรียมความพร้อม ให้กับผู้นำกิจกรรมนักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจและสามารถเป็นผู้นำกิจกรรมนักศึกษาได้ค่าเฉลี่ย
ไม่น้อยกว่า 3.51
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,000/70 = 228.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
289 |
กิจกรรมที่ 4 จัดงานบายศรี รับขวัญ น้องใหม่ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ประจำปีการศึกษา 2566 (5,500 บาท) |
2566 |
1 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้กับนักศึกษาใหม่ และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างอาจารย์ รุ่นพี่ และเพื่อน ๆ ในคณะ
2 เพื่อสืบสานและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมของไทย
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 375 คน เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100
5.2 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่ รุ่นพี่ และอาจารย์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย 4.50
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4.52
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,500/350 = 15.71 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
290 |
กิจกรรมที่ 5 จัดงานสานสัมพันธ์ ต้อนรับน้องใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ประจำปีการศึกษา 2566 (61,100 บาท) |
2566 |
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่กับนักศึกษารุ่นพี่ |
1 เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 623 คน เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100
2 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2. จำนวนกิจกรรมที่นักศึกษาทำร่วมกันไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรม
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 61,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 61,100/350=174.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
291 |
กิจกรรมที่ 1 จัดงานประกวดผู้นำ กิจกรรมคณะศิลปกรรมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2565 (34,100 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถด้านศาสตร์และศิลป์ที่กำลังศึกษา
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์
|
1 เชิงปริมาณ : 1. นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. จำนวนผลงานการแสดงของนักศึกษาและกิจกรรมจิตอาสา ไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนน
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,040 บาท
5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,040 / 200 = 170.20 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
292 |
กิจกรรมที่ 3 จัดงานศิลปกรรมสัญจร ประจำปีการศึกษา 2565 (27,200 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ได้แสดงศักยภาพทางด้านศิลปะ และวัฒนธรรมท้องถิ่นที่กำลัง
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ |
1 เชิงปริมาณ : 1. นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67
2. ผลงานการแสดงรวมศาสตร์และศิลป์ จำนวน 1 ชุด
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ ร้อยละ 93.80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,200 /120 = 226.66 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
293 |
กิจกรรมที่ 4 จัดงานแลโด้ โหม๋ศิลปกรรมศาสตร์ ประจำปี การศึกษา 2565 (29,200 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงผลงานสร้างสรรค์และเผยแพร่สู่สาธารณชน
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาแต่ละสาขาวิชาในคณะศิลปกรรมศาสตร์ได้บูรณาการร่วมกันอย่างเป็นระบบ
|
1 เชิงปริมาณ : 1. นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 คน
2. ผลงานการแสดงรวมศาสตร์และศิลป์ด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นจำนวน 1 ชุด
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต :
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 29,175 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 29,175 / 150 = 194.50 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
294 |
แข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 48 ณ จังหวัดอุดรธานี(รอบมหกรรม) |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 48
2 เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬาของนักศึกษา
3 เพื่อสร้างชื่อเสียงด้านกีฬาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 75 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 1,782,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,782,500 บาท /75 = 23,766.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
295 |
โครงการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 48 รอบคัดเลือกโซนภาคใต้ ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 48
2 เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬาของนักศึกษา
3 เพื่อสร้างชื่อเสียงด้านกีฬาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 95 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 476,400 บาท
5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 476,400/95 = 5,014.73 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
296 |
จัดงานพิธีฝึกซ้อมบัณฑิต ประจำปี พ.ศ. 2565 |
2566 |
เพื่อฝึกซ้อมบัณฑิต ประกอบการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตริ ประจำปี พ.ศ. 2565 |
1. เชิงปริมาณ บัณฑิตม.ราชภัฏสงขลา ที่สำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2560 - 2562 จำนวน 3695 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2. เชิงคุณภาพ บัณฑิตของม.ราชภัฏสงขลา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและถูกต้อง ไมน้อยกว่าร้อยละ 95
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 2657825 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 2657825/3695 = 719.30 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
297 |
กิจกรรมที่ 20 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ "สานสายใย ศศ.บ. ภาษาไทย ประจำปีการศึกษา 2565" (10,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับรู้และตระหนักในสายใยความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ศศ.บ.ภาษาไทย
2. เพื่อให้นักศึกษามีการปรับตัวที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในหลักสูตรและในระดับมหาวิทยาลัย
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ชั้นปีที่1 และผู้เข้าร่วม รวมจำนวน 65 คน
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับรู้และตระหนักในสายใยความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ศศ.บ.ภาษาไทยและสามารถปรับตัวได้ดีอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 10,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 10,900/65 บาท = 167.69 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
298 |
โครงการพัฒนา Soft Skills ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม กิจกรรมที่ 1 สร้างแกนนำวิศวกรสังคม |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม
2. เพื่อสร้างกลไกการพัฒนากระบวนการศึกษาเพื่อเข้าสู่กระบวนการวิศวกรสังคม |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาม.ราชภัฏสงขลา จำนวน 450 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาม.ราชภัฏสงขลา มีความรู้และทักษะในการเป็นวิศวกรสังคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 270,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 270,800/450 = 601.77 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
299 |
ประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก(30,000) |
2566 |
2.1 เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ให้แก่โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัย
2.2 เพื่อให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบมีข้อมูลในการตัดสินใจ
2.3 เพื่อสร้างเครือข่ายทางการศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัย
2.4 เพื่อให้นักศึกษาแรกเข้าเป็นไปตามแผนการรับนักศึกษาของแต่ละหลักสูตรที่กำหนดไว้
|
- เชิงปริมาณ : ได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ให้แก่
นักเรียนในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 10 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ : เพิ่มโอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เข้าสอบคัดเลือกตรงโควตาของ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 30,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 30,000 บาท/300 คน = 100 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
300 |
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) เพื่อพัฒนาครูสู่การพัฒนาผู้เรียน จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565(153,600 บาท) |
2566 |
1 เพื่อทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โดยทำงานร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน หน่วยงานในพื้นที่และเอกชนที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยี ไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนภาษาไทยและคณิตศาสตร์ โดยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
2 เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีส่วนร่วมในการพัฒนาครูสู่ผู้เรียน เพื่อแก้ปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดเลขไม่เป็นของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้โดยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
3 เพื่อให้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน และสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรมการส่งเสริมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ด้านภาษาไทย และคณิตศาสตร์โดยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
|
เชิงปริมาณ
- จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 15 โรงเรียน
- จำนวนครูและผู้บริหาร จำนวน 75 คน
- จำนวนนักเรียน 90 คน
- ครูมีนวัตกรรมแก้ปัญหาการอ่าน การเขียนอย่างน้อย 15 นวัตกรรมและแก้ปัญหาการคิดคำนวณอย่างน้อย 15 นวัตกรรม
เชิงคุณภาพ
- ครูสามารถพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ได้อย่างมีคุณภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่านการเขียน การคิดคำนวณ ได้รับการช่วยเหลือให้สามารถอ่านออกเขียนได้ร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
301 |
โครงการประกวดวงดนตรี SKRU MUSIC |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางด้านดนตรี
2. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะทางด้านดนตรี และสร้างประสบการณ์ในการประกวดวงดนตรี
|
1. เชิงปริมาณ จำนวนวงดนตรีที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 6 วง (วงละ 5 คน)
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและประสบการณ์ทางด้านดนตรีเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 65,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 65,200/6 = 10,866.66 บาท/วง
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
302 |
โครงการพัฒนาโรงเรียนบ้านห้วยโอน |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาชมรมไทยศาสตร์ศิลป์มีความรู้ในการจัดทำสื่อการเรียนการสอน
2. เพื่อให้ความรู้ผ่านสื่อการเรียนการสอนแก่นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยโอน
3. เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ให้กับโรงเรียนบ้านห้วยโอน
|
1. เชิงปริมาณ
-นักศึกษาชมรมไทยศาสตร์ศิลป์ จำนวน 105 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- จำนวนสื่อการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า 5 สื่อ/ชิ้นงาน
- ภูมิทัศน์ของโรงเรียนบ้านห้วยโอน ได้รับการปรับปรุงไม่น้อยกว่า 2 พื้นที่
2. เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาชมรมไทยศาสตร์ศิลป์มีความรู้ในการจัดทำสื่อการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยโอนมีความรู้จากสื่อการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประมาณเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลิต 15,100/105 = 143.81 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
303 |
โครงการสัมมนา เรื่อง LGBTQ+ กับสังคมไทยในปัจจุบัน |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง LGBTQ+ กับสังคมไทยในปัจจุบัน |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ LGBTQ+ กับสังคมไทยในปัจจุบัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการโดยภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,100/200 = 20.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
304 |
โครงการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนบ้านปูยู |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง และประชาชนในชุมชนบ้านปูยู ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวเบื้องต้น
2. เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ประสบการณ์ และความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงให้กับนักศึกษาชมรมสุขภาพสัมพันธ์
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชมรมสุขภาพสัมพันธ์ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง และประชาชนในชุมชนบ้านปูยู มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) นักศึกษาชมรมสุขภาพสัมพันธ์มีทักษะ ประสบการณ์ และความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 83,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 83,200/120 = 693.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
305 |
โครงการบรรยายเรื่องการใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบันอย่างไรให้มีความสุข |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะการใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบันอย่างมีความสุข |
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบัน โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมโดยภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000/200 = 75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
306 |
โครงการพัฒนาโรงเรียนวัดเกษมรัตน์ |
2566 |
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการทำกิจกรรมจิตอาสาแก่นักศึกษาชมรมสังคมพัฒนา
2. เพื่อปรับปรุงห้องเรียน ห้องน้ำ สนามเด็กเล่น และภูมิทัศน์ให้กับโรงเรียนวัดเกษมรัตน์
|
เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาชมรมสังคมพัฒนา จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) พื้นที่ของโรงเรียนวัดเกษมรัตน์ได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 4 พื้นที่
เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการทำกิจกรรมจิตอาสาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,500 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,500/120 = 137.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
307 |
โครงการเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566 |
2566 |
1 เพื่อเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ใช้สิทธิเสรีภาพและปฏิบัติตามระบอบประชาธิปไตย
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ภาคปกติ ไม่น้อยกว่า 4,000 คน ได้ใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566
2. เชิงคุณภาพ
1. นักศึกษาเกิดการเรียนรู้หลักประชาธิปไตย โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 41,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 41,000/4,000 = 10.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
308 |
โครงการอบรมพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับนักศึกษา |
2566 |
เพื่อให้ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการเรียนและการทำงานแก่นักศึกษา |
เชิงปริมาณ นักศึกษาทุกชั้นปี จำนวน 1,500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในแต่ละหัวข้อ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 25,200 บาทต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 25,200/1,500 = 16.80 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
309 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข่อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ |
2566 |
1.เพื่อให้อาจารย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะ จากแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก
2. เพื่อให้อาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการเขียนวิจัยไปขอรับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกและพัฒนางานตนเองได้
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 มีอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2. เชิงคุณภาพ
2.1 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือ หัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.3 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้น ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000 / 50 = 360 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
 |
310 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัย สำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้ครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเกิดแรงบันดาลใจในการพัฒนาเสริมสร้างสมรรถนะ
นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43
|
- เชิงปริมาณ.
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ
ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเกิดแรงบันดาลใจในการพัฒนาเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา เสร็จสิ้นในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมจำนวนงบประมาณ/จำนวน 68,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,700/30 = 2,290 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
311 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางด้านการเรียนการสอน
ระดับปฐมวัยให้กับครูปฐมวัยและศิษย์เก่า
2. เพื่อพัฒนาแนวทางการผลิตสื่อวีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนผ่านสถานีโทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก
|
- เชิงปริมาณ.
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนสื่อวิดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระปฐมวัย จำนวน 1 เรื่อง (5 ตอน)
- เชิงคุณภาพ
1. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีแนวทางการสอนและการจัดประสบการณ์กิจกรรมเกมการศึกษาสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครูผู้สอนระกับปฐมวัยและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้พัฒนาตนเองและพัฒนาผู้เรียนได้ร้อยละ 80
- เชิงเวลา เสร็จสิ้นในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมจำนวนงบประมาณ/จำนวน 66,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 66,200/30 = 2,206.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
312 |
กิจกรรมที่ 10 โครงการวันราชภัฏ ประจำปี 2566(80,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อถวายราชสักการะพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
5.1 เชิงปริมาณ : คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จำนวน 2,500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 2,400 คน ได้ทราบประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ สงขลา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 80,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 80,000/2,500 = 32 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
313 |
โครงการแข่งขันกีฬา E - Sport SKRU RoV ครั้งที่ 1 |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงศักยภาพด้านการแข่งขันกีฬา E - Sport |
1 เชิงปริมาณ จำนวนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่า 20 ทีม (ทีมละ 5 คน)
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและประสบการณ์ด้านกีฬา E - sport ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการโดยภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,000/20 = 2,250 บาท/ทีม
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
314 |
โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว |
2566 |
เพื่อปลูกต้นไม้ให้กับมหาวิทยาลัย |
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 118 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้ร่วมกันปลูกต้นไม้ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาไม่น้อยกว่า 100 ต้น
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,300/118 = 53.39 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
315 |
โครงการจัดงานการประเมินและคัดเลือกนักศึกษารางวัลพระราชทาน ระดับอุดมศึกษา เขตภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2565 |
2566 |
เพื่อประเมินและคัดเลือกนักศึกษาทั่วไป นักศึกษาพิการ เข้ารับรางวัลพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2565 |
เชิงปริมาณ
1) สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เขตภาคใต้ จำนวน 22 สถาบัน เข้าร่วม
โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาทั่วไปและนักศึกษาพิการของสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา เขตภาคใต้ เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 16 คน
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 250,000 บาท
เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 250,000/16 = 15,625 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
316 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับเด็กปฐมวัย |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางด้านการเรียนการสอน
ระดับปฐมวัยให้กับครูปฐมวัยและศิษย์เก่า
2. เพื่อพัฒนาแนวทางการผลิตสื่อวิดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนผ่านสถานีโทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก
|
- เชิงปริมาณ.
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนสื่อวิดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระปฐมวัย จำนวน 1 เรื่อง (5 ตอน)
- เชิงคุณภาพ
1. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีแนวทางการสอนและการจัดประสบการณ์กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครูผู้สอนระกับปฐมวัยและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้พัฒนาตนเองและพัฒนาผู้เรียนได้ร้อยละ 80
- เชิงเวลา เสร็จสิ้นในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมจำนวนงบประมาณ/จำนวน 66,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (66,200/30 = 2,206.66)
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
317 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัย สำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (กิจกรรมที่ 2.2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนตำรจตระเวนชายแดน) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้ครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะ EF
บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43
|
- เชิงปริมาณ.
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนแผนการจัดการเรียนรู้ที่นำทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรม เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 แผน
3. จำนวนกิจกรรมที่นำทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรม เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 ห้องต่อ 1 กิจกรรม
- เชิงคุณภาพ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนมีความรู้ความเข้าใจและนำทักษะ EF
บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมจำนวนงบประมาณ/จำนวน 93,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 93,300/30 = 3,110 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
318 |
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและความงาม หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ.2567(งบพัฒนาหลักสูตร 1,570,000 บาท:912) |
2566 |
1.เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา แต่ละหน่วยงานที่ใช้บัณฑิตที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและความงาม
2.เพื่อปรับปรุงหลักสูตร เนื้อหาสาระ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ และ สหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน
|
- เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสุขภาพและความงามตามเกณฑ์มาตรฐานที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กำหนด จำนวน 1 หลักสูตร
- เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและความงาม ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจนเสร็จสมบูรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100
- เชิงเวลา : สามารถปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและความงาม เสร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
319 |
จัดงานประกวด Huso Talent Contest |
2566 |
นักศึกษาที่เข้าประกวดได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์ หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการเต้น การร้อง ฯลฯ |
เชิงปริมาณ 1. นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เข้าร่วมโครงการจำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 100
2. นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เข้าร่วมแสดงศักยภาพของตนเอง จำนวน 9 ผลงาน จากเป้าหมาย 10 ผลงาน คิดเป็น 90%
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย 4.59
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
320 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการอนุรักษ์ป่าชายเลน |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาชมรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และพัฒนาคุณธรรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ป่าชายเลน
2 เพื่อปลูกป่าชายเลน
|
1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาชมรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และพัฒนาคุณธรรม จำนวน 120 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาชมรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และพัฒนาคุณธรรมได้ร่วมกันปลูกต้นโกงกาง ไม่น้อยกว่า 800 ต้น
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าชายเลน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 21,700บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 21,700/120 = 180.83 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
321 |
ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา (อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน (น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง) |
2566 |
เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุล และได้เรียนรู้วิธีการ หลักการ และขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง และโครงการนี้เป็นการต่อยอดการผลิตให้มีจำนวนมากขึ้น และปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่เพื่อให้ดีกว่าเดิม |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา ดำเนินกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 41,350 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 41,350/30 = 1,378.33 บาท/ครัวเรือน
|
เป้าหมายที่ 1 |
 |
322 |
บริหารจัดการและติดตามการดำเนินโครงการ กิจกรรมรับการตรวจเยี่ยมเพื่ิติดตามผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
2566 |
2.1 เพื่อรับการตรวจเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ของ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี
2.2 เพื่อรับฟังการบรรยายสรุป โครงการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา
2.3 เพื่อจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร นักศึกษา บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 270 คน
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการทราบผลการติดตามผลการดำเนินงานโครงการยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 366,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 366,000 / 270 = 1,355.55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 |
 |
323 |
โครงการจิตอาสาสร้างฝายชะลอน้ำรักษ์สิ่งแวดล้อม |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาชมรมรักษ์สิ่งแวดล้อมได้รับความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
2. เพื่อสร้างฝายชะลอน้ำ
|
1. เชิงปริมาณ
1) สมาชิกชมรมรักษ์สิ่งแวดล้อม จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) มีการสร้างฝายชะลอน้ำจำนวน 1 แห่ง
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างฝายชะลอน้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3) พื้นที่ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโตนงาช้าง ณ น้ำตกโตนปลิว มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,580 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,550/120 = 138.16 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
324 |
โครงการแข่งขันกีฬากรีฑา - กีฬาปาริฉัตรสัมพันธ์ ปีการศึกษา 2565 |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 1,200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : 1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 558,600 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 558,600 /1,200 = 465.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
325 |
โครงการศึกษาดูงานการพัฒนานักศึกษาและวิศวกรสังคม |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและวิศวกรสังคม |
1 เชิงปริมาณ :
1) นักศึกษาและบุคลากร จำนวน 55 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนานักศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 293,300 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 293,300/42 = 6,983.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
326 |
โครงการค่ายอาสาพัฒนาโรงเรียนบ้านนนท์ ประจำปีการศึกษา 2565 |
2566 |
1. เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ให้กับโรงเรียนบ้านนนท์
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับนักศึกษาชมรมมุสลิม
|
1. เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาชมรมมุสลิม จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ภูมิทัศน์ของโรงเรียนเรียนบ้านนนท์ได้รับการปรับปรุงไม่น้อยกว่า 2 พื้นที่
3) จำนวนกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรม
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,600/120 = 396.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
327 |
โครงการค่ายอาสาพัฒนาโรงเรียนบ้านทุ่งชุมพล |
2566 |
1. เพื่อปรับปรุงอาคารเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งชุมพล
2. เพื่อสร้างที่เก็บปุ๋ยหมักของโรงเรียนบ้านทุ่งชุมพล
|
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาชมรมวิศวกรปันรอยยิ้มเพื่อท้องถิ่นจำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) อาคารเรียนของโรงเรียนบ้านทุ่งชุมพลได้รับการปรับปรุง จำนวน 1 หลัง
3) โรงเรียนบ้านทุ่งชุมพลมีที่เก็บปุ๋ยหมัก จำนวน 1 แห่ง
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 105,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 105,800/200 = 529 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
328 |
กิจกรรม 1.3.3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 28 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อทำงานในอนาคนได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
329 |
กิจกรรม 1.3.5 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- เชิงคุณภาพ 1. คะแนนการประเมินคุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิตปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 4.5 คะแนน
2. คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 3.2 และ 5.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2 คะแนน
3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและใช้ความรู้ทั้งทางทฤษฎี และปฏิบัติได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้สำเร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 900 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
330 |
กิจกรรม 1.3.6 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิชาชีววิทยา(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้นักศึกาาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2.เพื่อให้บัณพิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต |
-เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 28 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
-เชิงคุณภาพ 1.คะเเนนประเมินคุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิต ไม่ต่ำกว่า 4.5 คะแนน
2.คะแนนประเมินองคืประกอบที่3.2 และ 5.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน
3.นักศึกษามีความเข้าใจและใช้ความรู้ทั้งทางทฤษำีและปฏิบัติได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
-เชิงเวลา สามรถจัดโครงการได้ในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,800 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลิต 2800 บาท /คน เท่ากับ 100บาทต่อคน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
331 |
กิจกรรม 1.3.8 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิชาคณิตศาสตร์(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษระที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2.เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 142 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,250 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,250/142 = 79.22 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
332 |
กิจกรรม 1.4.1 สัมมนาหน่วยฝึกประสบการณ์ทางสาธารณสุข(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อสรุปและถอดบทเรียนให้ครูพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์ฯ และอาจารย์นิเทศก์ ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา รายวิชา 4954902 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน และรายวิชา 4954903 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านการจัดบริการสาธารณสุขชุมชน ประจำภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 หลังออกฝึกประสบการณ์ฯ
2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และบทเรียนระหว่างกันทั้งของอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์ฯ ของนักศึกษา
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 44 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,500/44 = 102.27 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
333 |
กิจกรรม 1.5.1 สัมมนาก่อนฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เรื่องภารกิจและความมุ่งหมายปฏิบัติการในสถานศึกษา 1 : รอบรู้งานครู
2.เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน และเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครู
3.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาบรรลุผลในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,130 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,130/45 = 114 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
334 |
กิจกรรม 1.5.2 สัมมนาก่อนฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เรื่องภารกิจและความมุ่งหมายปฏิบัติการในสถานศึกษา 2 : ผู้ช่วยสอน
2. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน และเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครู
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 83 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาบรรลุผลในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,460 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,460/83 = 101.93 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
335 |
กิจกรรม 1.6.1 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 (เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เรื่องภารกิจและความมุ่งหมายปฏิบัติการในสถานศึกษา 1 : รอบรู้งานครู
2.เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาบรรลุผลในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,130 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,130/45 = 114 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
336 |
กิจกรรม 1.6.2 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เรื่องภารกิจและความมุ่งหมายปฏิบัติการในสถานศึกษา 2 : ผู้ช่วยสอน
2.เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน และเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครู
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 83 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาบรรลุผลในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,460 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,460/83 = 101.93 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
337 |
กิจกรรมที่ 3.1.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ตลาด by MGT |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน
2. เพื่อให้ผู้ประกอบการและนักศึกษาร่วมกันหาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
3. เพื่อส่งเสริมช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในชุมชน
4. เพื่อนำผลิตภัณฑ์ในชุมชนมาจัดจำหน่ายและจัดแสดงในคณะวิทยาการจัดการ |
เชิงปริมาณ : 5.1.1 กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 มีการบูรณาการในรายวิชา จำนวน 2 รายวิชา
5.1.3 มีนักศึกษาเข้าร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน จำนวน 5 คน
5.1.4 ชุมชนมีศูนย์เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ชุมชน จำนวน 1 ศูนย์
เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการในชุมชนมีผลิตภัณฑ์พัฒนาสู่ตลาด จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์
5.2.2 ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 81,100 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 81,100/20 = 4,055 บาท |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
338 |
อบรมและสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในการสัมมนาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขา
วิชาเฉพาะ 2
2. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู วัดจากการทำแบบสอบถามการนำไปใช้ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไปจาก 5 ระดับ
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 35,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 35,200/180 = 195.55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
339 |
อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู |
2566 |
1.เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทและคุณลักษณะของครูมืออาชีพ
2.เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการกำหนดเป้าหมาย
3.เพื่อร่วมแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการศึกษาและเกิดความภาคภูมิใจในความสำเร็จทางการศึกษา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 85,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 85,600/180 = 475.55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
340 |
โครงการสันทนาการเรียนรู้และพัฒนาโรงเรียนจะนะวิทยา |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาชมรมสันทนาการอาสาพัฒนา ได้รับความรู้จากกิจกรรมสันทนาการ
2 เพื่อพัฒนาโรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิ
|
1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาชมรมสันทนาการอาสาพัฒนา จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) พื้นที่ของโรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิได้รับการพัฒนา จำนวน 4 พื้นที่
2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากกิจกรรมสันทนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33,400/120 = 278.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
341 |
โครงการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานสำหรับนักศึกษาพิการในระดับอุดมศึกษา |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติตนเพื่อการเตรียมความพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาพิการได้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงานและเตรียมความพร้อมสู่การทำงาน
ในอนาคต
3. เพื่อให้นักศึกษาพิการได้รับประสบการณ์ตรงในสถานประกอบการที่จ้างงานคนพิการเข้าทำงาน
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,560 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,560 /34 = 663.52 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
342 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เสริมสร้างความปลอดภัยทางน้ำ |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาพิการได้มีทักษะการว่ายน้ำ และพัฒนาศักยภาพของกล้ามเนื้อ
2. เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้หากมีภัยพิบัติทางน้ำ
3. เพื่อให้นักศึกษาพิการได้รับประสบการณ์ตรงในการเรียนว่ายน้ำ
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 30,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 30,600/30 = 1,020 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
343 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสำหรับนักศึกษาพิการ |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในยุคปัจจุบัน
2. เพื่อให้นักศึกษาพิการได้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
3. เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ปรับใช้ในด้านการเรียนได้
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 21,360 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 21,360 /34 = 628.23 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
344 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพสำหรับนักศึกษาพิการ |
2566 |
1. เพื่อให้มีทักษะการเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพในอนาคต
2. เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถประกอบอาชีพในสังคมได้
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,760 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,760/34 = 698.82 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
345 |
กิจกรรมที่ 9 ศึกษาดูงานในรายวิชา ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม(เลขที่โครงการ:810)(69,500 บาท) 9.2 การจัดการสิ่งแวดล้อม และนวัตกรรม (65,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้แนวทางการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันจากกรณีตัวอย่าง
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับนวัตกรรมทางสิ่งแวดล้อม
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 16 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจสามารถนำความรู้และองค์ความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
346 |
โครงการสัมมนาเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา และสาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา(91,200 บาท)(ปรับปรุงและ พัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา(งบพัฒนาหลักสูตร 1,570,000 บาท:912) |
2566 |
1. เพื่อมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับครูดนตรีและครูนาฏศิลป์
2. เพื่อมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ทักษะด้านดนตรีและนาฏศิลป์ สามารถนำไปประกอบอาชีพครูหรือศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นไปได้
|
1. เชิงปริมาณ : อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 22 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำหลักสูตรตามเกณฑ์ผลลัพธ์การเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 91,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 91,200/22 = 4,145.45 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
347 |
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการและค่ายพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษา |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการได้
2 เพื่อเพิ่มศักยภาพความเป็นผู้นำให้กับนักศึกษา
3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการจัดกิจกรรม
4 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การทำงานระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน
|
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษา จำนวน 95 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาสามารถเขียนโครงการได้ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ
3) นักศึกษาสามารถจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการทำงานโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมิน
เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สาามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 282,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 282,500/95 = 2,973.68 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
348 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้บริการและช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ (IFSP) |
2566 |
1 เพื่อทราบข้อมูลเชิงลึกของเด็ก ครอบครัวและความเป็นอยู่ของเด็ก
2 เพื่อให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
3 จัดบริการและการช่วยเหลือที่เหมาะสมแก่ครอบครัวเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
|
เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด
โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,400 บาท
: ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,400/30 = 180 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
349 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาผู้บริหารด้านเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลและประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 5/2566(108,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ และพัฒนาทักษะของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยก้าวสู่สถานศึกษายุคดิจิทัล
2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยภายใต้การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และการบริหารเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับสถานศึกษา
3 เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาครั้งที่ 5/2566
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 51 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000 บาท/43 = 2,511.63 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
350 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการ ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาคณะครุศาสตร์ (57,800 บาท)(เลขที่โครงการ:684) 2.1 สัมมนาการจัดการความรู้ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร(ฝ่ายประกัน)(26,500 บาท) |
2566 |
1 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้จากการจัดการความรู้ด้านต่าง ๆ ของคณะ
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการนำฐานความรู้จากการจัดการความรู้สู่แนวปฏิบัติที่ดี และสามารถนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานของตนเอง
3 เพื่อให้บุคลากรคณะครุศาสตร์ได้รับความรู้ความเข้าใจ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการนำระบบต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้กับการทำงาน
4 เพื่อให้บุคลากรคณะครุศาสตร์ได้รับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ
5 เพื่อให้คณะครุศาสตร์ดำเนินงานตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการอาจารย์ประจำหลักสูตร 12 หลักสูตรรวมจำนวน 60 คน
เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ เกิดแนวปฏิบัติและสามารถนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานด้านวิจัยของตนเองที่มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยู่ในระดับดี
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 19,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 19,900/60 = 331.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
351 |
จัดทำชุดวิชาและนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนออนไลน์สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสุขภาพและความงาม ภายใต้หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต |
2566 |
1. เพื่อจัดทำชุดวิชาสาขาการจัดการธุรกิจสุขภาพและความงาม ภายใต้หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประกอบการและบริหารธุรกิจสุขภาพและความงาม
3. เพื่อออกแบบและพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ในสาขาวิชาการจัดการธุรกิจสุขภาพและความงามของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1. เชิงปริมาณ : - ผู้บริหาร อาจารย์และบุคลากรผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- จัดทำชุดวิชาสาขาการจัดการธุรกิจสุขภาพและความงาม ภายใต้หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จำนวน 1 ชุดวิชา
- จัดทำนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ อย่างน้อย 1 รายวิชา ในสาขาวิชาการจัดการธุรกิจสุขภาพและความงามของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
- จัดทำระเบียบและข้อบังคับว่าด้วยแนวทางการดำเนินงานระบบธนาคารหน่วยกิตในการผลิตหลักสูตรร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคใต้ ในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 1 ฉบับ
2. เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75
3. เชิงเวลา : - สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 397,740 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 397,740/34 = 11,698.23 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
352 |
โครงการตรวจสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปี 2566 |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อสืบค้นความบกพร่องและความผิดปกติของโรค
2. เพื่อให้บุคลากรได้รับสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี |
1. เชิงปริมาณ : บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 348,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 348000/400 = 870 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 3 |
 |
353 |
ค่ายพัฒนาศักยภาพหลักสูตรและครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาในระบบการศึกษาด้วยแนวทางเชิงสมรรถนะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 |
2566 |
2.1 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของครู/อาจารย์ในโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามในการให้ความร่วมมือกับภาครัฐภายใต้มิติด้านการพัฒนาการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
2.2 เพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการจัดการศึกษาผ่านค่ายพัฒนาศักยภาพหลักสูตรและครูผู้สอนสอนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาในระบบการศึกษา ด้วยแนวทางจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เสริมสมรรถนะ
ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามฐานสมรรถนะ
2.3 เพื่อติดตามและให้คำปรึกษาการสอนจริงในชั้นเรียนผ่านการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสอน
ในชั้นเรียน |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการสอนด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 537,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 537,500 /70 = 7,678.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
354 |
จัดงานการประเมินและคัดเลือกนักศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษา ระดับเขตภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2565 |
2566 |
เพื่อประเมินและคัดเลือกนักศึกษาทั่วไป นักศึกษาพิการ เข้ารับรางวัลพระราชทานประจำปีการศึกษา 2565 |
1. เชิงปริมาณ 1) สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เขตภาคใต้ จำนวน 22 สถาบัน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2) นักศึกษาทั่วไปและนักศึกษาพิการของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เขตภาคใต้ เข้าร่วมโครงการจำนวน 18 คน
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 250,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 250,000/16 = 15,625 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
355 |
จัดงานการประเมินและคัดเลือกนักศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษา ระดับเขตภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2565 |
2566 |
เพื่อประเมินและคัดเลือกนักศึกษาทั่วไป นักศึกษาพิการ เข้ารับรางวัลพระราชทานประจำปีการศึกษา 2565 |
1. เชิงปริมาณ 1) สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เขตภาคใต้ จำนวน 22 สถาบัน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2) นักศึกษาทั่วไปและนักศึกษาพิการของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เขตภาคใต้ เข้าร่วมโครงการจำนวน 18 คน
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 250,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 250,000/16 = 15,625 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
356 |
ยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การออกแบบและเลือกใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ |
2566 |
1) เพื่อให้ครูได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูความสามารถทางการศึกษา (re-skill)
2) เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางการศึกษาและศาสตร์การสอนให้กับครูประจำการและศิษย์เก่า
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูในโรงเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาน้อยที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาสมรรถนะครู ประจำการ จำนวน 50 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนได้รับความรู้ในการสร้างนวัตกรรมและเครื่องมือสำหรับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนครูประจำการและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการ re-skill up-skill and new skill ศาสตร์วิชาการทางการศึกษาและศาสตร์วิชาการทางการศึกษาและโรงเรียน ร้อยละ 80
3) โรงเรียนกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาน้อย ได้รับการพัฒนาระบบกลไกการยกระดับสมรรถนะครูประจำการโดยการพัฒนาสมรรถนะครูประจำการ จำนวน 50 โรงเรียน
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 158,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 158,000/78 = 2,025.64 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
357 |
จัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา(70,220 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา
2 เพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ร่วมเฉลิมพระเกียรติและแสดงออกถึงความจงรักภักดีแด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบมราชินี
|
.1 เชิงปริมาณ : คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จำนวน 200 คน ได้ร่วมถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 70,220 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 70,220 /200 = 351.1 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
358 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน
3) เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
2) มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการ
อ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
3) จำนวนโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาเข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา อย่างน้อย 10 แห่ง
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนภาษาไทยได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ความพึงพอใจของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการด้านความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้ ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 |
 |
359 |
การแข่งขันกีฬาประเพณีสานสัมพันธ์บุคลากรราชภัฏเขตภาคใต้ ครั้งที่ 5(233,200 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของตนเองระหว่างบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาราชภัฏเขตภาคใต้ที่เข้าร่วมการแข่งขัน
2.2 เพื่อเสริมสร้างความรักความสามัคคีสำหรับบุคลากรภายในและเครือข่ายบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาโดยใช้การแข่งขันกีฬาเป็นสื่อกลาง
|
5.1 เชิงปริมาณ
บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ผู้บริหาร สายวิชาการ สายสนับสนุน และพนักงานจ้างเหมาบริการ จำนวน 54 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 233,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 233,200/54 = 4,318.52 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
360 |
โครงการบรรยายพิเศษและศึกษาประวัติศาสตร์เมืองสงขลา 4 ยุค (สทิงพระ เขาแดง แหลมสน บ่อยาง)(114,905 บาท) |
2566 |
เพื่อเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมา โบราณคดี และโบราณสถานต่าง ๆ อันจะนำไปสู่การพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนประวัติศาสตร์เมืองสงขลา 4 ยุค (สทิงพระ เขาแดง แหลมสน บ่อยาง) |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในประวัติศาสตร์เมืองสงขลา 4 ยุค
(สทิงพระ เขาแดง แหลมสน บ่อยาง) อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 114,905 บาท (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นสี่พันเก้าร้อยห้าบาทถ้วน)
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 114,905/45 = 2,553.44 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
361 |
บรรยายเรื่อง รู้หลักประกันสังคม |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้เกี่ยวกับหลักประกันสังคม |
1. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
1.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาทุกชั้นปีที่ 4 จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 เชิงคุณภาพ 1. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับหลักประกันสังคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
1.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
1.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 1,200 บาท
1.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,200 /500 = 2.40 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
362 |
สัมมนาเชิงปฏิบัติการการปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2567)ในรูปแบบผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์(ออนไลน์)และรูปแบบปกติ(Onsite)(กิจกรรมที่ 11 ปรับปรุงและ พัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา (งบพัฒนาหลักสูตร) (1,570,000 บาท)(เลขที่โครงการ:912))(40,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
2. เพื่อปรับเปลี่ยนรายวิชาให้ทันสมัยกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
|
- เชิงปริมาณ : หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า มีการปรับปรุงหลักสูตร ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กำหนด จำนวน 1 หลักสูตร
- เชิงคุณภาพ : หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า ได้รับการปรับปรุงตามแนวปฏิบัติเกณฑ์มาตรฐาน
ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจนเสร็จสมบูรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นตามเวลากำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000/5 = 8,000 บาท /คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
363 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การออกแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ (Creative Learning) |
2566 |
1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์
2. เพื่อนำความรู้ไปใช้ในการออกแบบรายวิชาและจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร |
- เชิงปริมาณ : - อาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านการทดสอบตามกระบวนการที่วิทยากรกำหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงเวลา : - สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 116,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 116,100/40 = 2,902.50 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
364 |
โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ พัฒนาศักยภาพบัณฑิตสู่ตลาดแรงงาน |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาและศิษย์เก่าได้รับความรู้ที่เหมาะสมต่อการสอบเข้าสมัครงานหน่วยงานต่างๆ และให้นักศึกษาและศิษ์เก่ามีแนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น |
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาและศิษย์เก่า จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาและศิษย์เก่ามีความรู้ และเทคนิคการคิด วิเคราะห์ข้อสอบได้เพิ่มขึ้น
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 28,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 286 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
365 |
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก |
2566 |
2.1 เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุล
และเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบและส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน
2.4 เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้วิสาหกิจข้าวพื้นถิ่นระหว่างชุมชนต้นแบบ
|
5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนไม่น้อยกว่า 48 คน (ร้อยละ 80)
5.1.2 มีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 3 ชุมชน
5.1.3 มีช่องทางการตลาด อย่างน้อย 1 ช่องทาง
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ชุมชนต้นแบบได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ชุมชน
5.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเกณฑ์ความยากจน
ร้อยละ 60
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 170,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 170,400/60 = 2,840 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 |
 |
366 |
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : คิดสร้างสรรค์โค้ดสร้างเสริม |
2566 |
1. เพื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โดยทำงานร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน หน่วยงานในพื้นที่และเอกชนที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยี ไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และวิทยาการคำนวณ เพื่อให้ใช้ทักษะการโค้ดเพื่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณสู่ผู้เรียน ผู้เรียนเกิดทักษะการโค้ดเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
3. เพื่อให้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ และสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรมการสอนวิทยาการคำนวณให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
|
เชิงปริมาณ
- จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 7 โรงเรียน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา และจังหวัดพัทลุง
- จำนวนครูและผู้บริหาร จำนวน 31 คน
- จำนวนนักเรียน 600 คน
เชิงคุณภาพ
- ครูสามารถพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เรียนสามารถใช้สื่อหุ่นยนต์และระบบสมองกลฝังตัวในการพัฒนาโครงงานแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
367 |
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล |
2566 |
1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ดูแลและผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
2. เพื่อประเมินผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืนและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับการยอมรับในด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับชาติ
|
- เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ดูแลภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,000/30 = 1,433.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 |
 |
368 |
โครงการจัดงานพิธีอัญเชิญตราและมอบเข็มเครื่องหมายสัญลักษณ์ |
2566 |
1. เพื่อมอบเข็มเครื่องหมายสัญลักษณ์ให้แก่นักศึกษาใหม่
2. เพื่อให้ความรู้เรื่องตรามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาแก่นักศึกษาใหม่ |
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาใหม่ประจำปีการศึกาา 2566 จำนวน 2550 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับเข็มเครื่องหมายสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่ร้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตรามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ค่าเฉลี่ย 3.15
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 132700 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลิต 132700/2550 = 52.04 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
369 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง โคก หนอง นา โมเดล |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชา |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 40 คน
2. เชิงคุณภาพ 1) นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 10,900/40 = 272.50 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
370 |
โครงการจัดงานสืบสานศิลป์บายศรีสู่ขวัญ ประจำปีการศึกษา 2566 |
2566 |
1 เพื่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของไทย
2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับนักศึกษาใหม่
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 2,550 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่ด้วยกัน รุ่นพี่ และคณาจารย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 97,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 97,500/2,550 = 38.2 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
371 |
โครงการเพิ่มศักยภาพความสามารถนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (แข่งขันกีฬาบาสเกตบอล Yala Basketball League 2023) |
2566 |
1) ส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2) สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา รายละเอียดดังเอกสาร |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 53 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬาเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 45,990 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 45,990/18 = 2,555 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
372 |
โครงการเพิ่มศักยภาพความสามารถนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (กีฬาฟุตบอลสมัครเล่น รายการไทยแลนด์ อเมเจอร์ ลีก ประจำปี 2566) |
2566 |
1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2) เพื่อสร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 53 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬาเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 8,840 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 8,840/33 = 267.88 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
373 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเขียนโครงการสำหรับชมรมนักศึกษา |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการได้
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการจัดโครงการ/กิจกรรม
|
1. เชิงปริมาณ 1) นักศึกษา จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาสามารถเขียนโครงการได้ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ
3) นักศึกษาสามารถจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาชมรมได้ตามแผน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการจัดโครงการโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000/60 = 300 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
374 |
โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน
3) เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 ที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
2) มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการ
อ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
3) จำนวนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา อย่างน้อย 10 แห่ง
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนภาษาไทยได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ความพึงพอใจของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการด้านความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้ ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 129,850 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 129,850 /30 = 4,328 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
375 |
กิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสร้างฝายชะลอน้ำ |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังให้นักศึกษาอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีจิตอาสา และจิตสาธารณะ
2 เพื่อสร้างฝายชะลอน้ำ
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000/60 = 250 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
376 |
โครงการจัดงานประกวดร้องเพลงไทยลูกกรุง |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมศักยภาพและทักษะในการร้องเพลงไทยลูกกรุง
2 เพื่ออนุรักษ์และสืบสานการขับร้องเพลงไทยลูกกรุง
|
เชิงปริมาณ
1. มีผู้เข้าร่วมเข้าร่วมประกวดเพลงไทยลูกกรุง ไม่น้อยกว่า 10 คน
2. จำนวนผู้เข้าร่วมชมการร้องเพลงไทยลูกกรุงผ่านทางช่องทางต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 200 คน
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
1. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 9,800 บาท
2. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 9,800 /10 = 980 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
377 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง อบรมการพัฒนานวัตกรรมจากความคิดสร้างสรรค์สู่การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน |
2566 |
1. เพื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โดยทำงานร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน หน่วยงานในพื้นที่และเอกชนที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยี ไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และวิทยาการคำนวณ เพื่อให้ใช้ทักษะการโค้ดเพื่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณสู่ผู้เรียน ผู้เรียนเกิดทักษะการโค้ดเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
3.เพื่อให้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ และสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรมการสอนวิทยาการคำนวณให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
|
เชิงปริมาณ
- จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 7 โรงเรียน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา และจังหวัดพัทลุง
- จำนวนครูและผู้บริหาร จำนวน 31 คน
- จำนวนนักเรียน 600 คน
เชิงคุณภาพ
- ครูสามารถพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เรียนสามารถใช้สื่อหุ่นยนต์และระบบสมองกลฝังตัวในการพัฒนาโครงงานแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
378 |
จัดงานสานสัมพันธ์ต้อนรับนักศึกษาใหม่ "มนุษย์มด 66" |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ทุกหลักสูตรมีความสัมพันธ์ที่ดีร่วมกัน มีความสนิทสนมกลมเกลียวกัน มีความรักและสามัคคี รู้จักคณะและสถาบันการศึกษาของตนดียิ่งขึ้น
2. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ทุกคนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับรุ่นพี่แต่ละหลักสูตร มีความสนิทสนมกลมเกลียวกันมีความรักและสามัคคีพร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกันมีความเคารพและสามารถดูแลกันได้
3. เพื่อให้นักศึกษาใหม่มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ให้กับมหาวิทยาลัย
|
เชิงปริมาณ
- นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 730 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 730 คน มีความสัมพันธ์ภายในคณะที่ดีต่อกัน และได้ทำประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
379 |
โครงการเพิ่มศักยภาพความสามารถนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (การแข่งขันกีฬาฟุตบอลสมัครเล่น รายการไทยแลนด์ อเมเจอร์ ลีก ประจำปี 2566) |
2566 |
1) ส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2) สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 33 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬาเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 8840 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 8840/33 = 267.88 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
380 |
โครงการส่งเสริมประเพณีวันสำคัญ กิจกรรมวันแม่ |
2566 |
1. เพื่อให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม
2. เพื่อเป็นการสร้างสายใยรักแห่งครอบครัวสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
|
- เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 51 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,825 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,825/51 = 75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
381 |
โครงการค่าใช้จ่ายในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช กิจกรรมที่2 อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสูตรขนมพริกไทยสุไหงอุเปและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ขนมพริกไทยสุไหงอุเป |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสูตรขนมพริกไทยสุไหงอุเป
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกแบบบรรจุภัณฑ์ขนมพริกไทยสุไหงอุเป |
เชิงปริมาณ มีผลงานแปรรูปขนมจากพริกไทยสุไหงอุเปจำนวน 1 ชนิด และได้บรรจุภัณฑ์ขนมพริกไทยสุไหงอุเปจำนวน 1 แบบ
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้การพัฒนาสูตรขนมพริกไทยสุไหงอุเป และบรรจุภัณฑ์ขนมพริกไทยสสุไหงอุเป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
382 |
โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สื่อเพื่อน้องเรียนรู้ภาษาไทย |
2566 |
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต |
- เชิงปริมาณ
นักศึกษา ที่เข้าร่วมโครงการสามารถน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ประการ จำนวน 90 คน
- เชิงคุณภาพ
นักศึกษามีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 68,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,000/60 = 1,133.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
383 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย |
2566 |
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต |
- เชิงปริมาณ
นักศึกษา ที่เข้าร่วมโครงการสามารถน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ประการ จำนวน 120 คน
- เชิงคุณภาพ
นักศึกษามีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 83,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 83,000/120 = 691.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
384 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการตรวจติดตามคุณภาพภายในของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ |
2566 |
1 เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดหรือมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
2 เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ
3 เพื่อให้เห็นว่ากิจกรรมต่างๆในระบบคุณภาพมีผลลัพธ์สอดคล้องกับแผนหรือเกณฑ์ที่กำหนด
4 เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการกระทำที่สอดคล้องกับเอกสารของระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการปรับปรุงเอกสารระบบคุณภาพให้มีความสอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,800 /30 = 793.33 บาท /คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
385 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน การเขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่าน ออก เขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 204,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 204,700/300 = 682.34 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
386 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1.3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน เขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) นักเรียนมีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 129,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 129,300/180 = 718.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
387 |
ยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 11 ประชุมเพื่อทบทวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน(43,800 บาท) |
2566 |
1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูความสามารถทางการเรียนรู้ (learning recovery)
2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สูงขึ้น
|
- เชิงปริมาณ
1) คณะครุศาสตร์มีนวัตกรรมในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน 3 นวัตกรรม
2) ครูที่เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
- เชิงคุณภาพ
1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษามีพัฒนาการที่สูงขึ้นร้อยละ 3
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,800/78 = 561.53 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
388 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 8 โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา |
2566 |
เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางด้านการเรียนการสอน
ระดับปฐมวัยให้กับครูประจำการและศิษย์เก่า
|
- เชิงปริมาณ.
ครูประจำการและศิษย์เก่า จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ
1. มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนานักเรียนในระดับปฐมวัย อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
2. ครูประจำการและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้พัฒนาตนเองและผู้เรียนได้ ร้อยละ 80
- เชิงเวลา เสร็จสิ้นในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมจำนวนงบประมาณ/จำนวน 25,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 25,800/30 = 860 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
389 |
กิจกรรมที่ 1 โครงการจัดงานสานสัมพันธ์ชบาน้อยช่อใหม่และบายศรีสู่ขวัญ ประจำปีการศึกษา 2566 |
2566 |
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาใหม่ รุ่นพี่ และคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาใหม่ประจำปีการศึกษา 2566 คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 682 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาใหม่ประจำปีการศึกษา 2566 มีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 50,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 50,600/682 = 82.11 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
390 |
โครงการเพิ่มศักยภาพความสามารถนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ ( แข่งขันกีฬาว่ายน้ำ TRANG SWIMMING CHAMPION SHIP 2023) |
2566 |
1. เพื่อเพิ่มทักษะ และส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ
2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬาแก่นักศึกษา
3. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 53 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬาเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 9,496 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 9,496/5 = 1,899.2 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
391 |
กิจกรรมงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา(72,980 บาท) |
2566 |
เพื่อถวายราชสดุดีและถวายพระพรชัยมงคลแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา |
1. เชิงปริมาณ
1.1 บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 1,000 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 500 คน ได้ร่วมกันพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 72,980 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 72,980 / 1,000 = 72.98 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
392 |
โครงการเพิ่มศักยภาพความสามารถนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (การแข่งขันกีฬาบาสเกตบอล Land Of The Knight 4th Open 2023) |
2566 |
1) ส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2) สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 53 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬาเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 33,640 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 33,640/15 = 2,243 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
393 |
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นพี่เลี้ยง : คิดสร้างสรรค์ โค้ดสร้างเสริม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566(2,830 บาท) |
2566 |
1 เพื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โดยทำงานร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน
หน่วยงานในพื้นที่และเอกชนที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยี ไป
ช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรง
ตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และวิทยาการคำนวณ เพื่อให้ใช้ทักษะการ
โค้ดเพื่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2 เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณสู่ผู้เรียน ผู้เรียน
เกิดทักษะการโค้ดเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไข
ปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
3 เพื่อให้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ และสร้างสรรค์สื่อ
นวัตกรรมการสอนวิทยาการคำนวณให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและ
เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน |
เชิงปริมาณ
- จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 7 โรงเรียน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา และจังหวัดพัทลุง
- จำนวนครูและผู้บริหาร จำนวน 31 คน
- จำนวนนักเรียน 600 คน
เชิงคุณภาพ
- ครูสามารถพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เรียนสามารถใช้สื่อหุ่นยนต์และระบบสมองกลฝังตัวในการพัฒนาโครงงานแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจำวันได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการด้านความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
394 |
โครงการประชุมทำความเข้าใจระบบกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และลงนามในสัญญาและ แบบยืนยันการเบิกเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาผู้กู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษารายใหม่ รายเก่าย้ายสถานศึกษา และผู้ปกครอง ทราบขั้นตอนการดำเนินงานเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาและลงนามในเอกสารที่เกี่ยวข้อง |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาผู้กู้รายใหม่ รายเก่าย้ายสถานศึกษา และผู้ปกครอง จำนวน 3,200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดำเนินการด้านเอกสารของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 / 3,200 = 4.69 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
395 |
โครงการจัดงานพิธีไหว้ครูและรำลึกพระคุณครู ประจำปีการศึกษา 2566 |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงออกถึงความเคารพต่อครูบาอาจารย์
2 เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย
|
1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาจำนวน 2,550 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทยและได้แสดงออกถึงความเคารพต่อ2 2 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการโดยภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 25,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 25,800/๒,๕๕๐ = 10.12 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
396 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร ประจำปีการศึกษา 2566 |
2566 |
1 เพื่อให้ความรู้ทางด้านความเป็นผู้นำแก่นักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร ประจำปีการศึกษา 2566
2 เพื่อเพิ่มทักษะการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร ประจำปีการศึกษา 2566
|
1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตรสามารถจัดกิจกรรมได้ไม่น้อยกว่า 1 กิจกรรม
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ด้านความเป็นผู้นำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 130,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 130,800/60 = 2,180 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
397 |
จัดงานประกวดการทำแกงสมรมและขนมต้มสืบสานวัฒนธรรมวันสารทเดือนสิบ |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาและบุคลากรได้ร่วมอนุรักษ์การทำแกงสมรมและขนมต้มในเทศกาลวันสารทเดือนสิบ |
1. เชิงปริมาณ 1) มีทีมเข้าร่วมประกวดการทำแกงสมรมและขนมต้ม ไม่น้อยกว่า 10 ทีม
2) มหาวิทยาลัยได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์อาหารพื้นถิ่นสงขลาให้สาธารณชนได้รู้จักไม่น้อยกว่า 2 ช่องทาง
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 42,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 42,400 /10 = 4,240 บาท/ทีม
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
398 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง จิตตปัญญาเพื่อการพัฒนาตน |
2566 |
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตนให้มีสติในการดำเนินชีวิต |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการ เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่า 80 คน
2. เชิงคุณภาพ 1) นักศึกษาได้สะท้อนความคิดและมีแนวทางในการใช้จิตตปัญญาพัฒนาตน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200 /80 = 15 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
399 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถังขยะไม่มีวันเต็ม |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาชมรมรักษ์สิ่งแวดล้อมมีความรู้ในการคัดแยกขยะอินทรีย์ภายในสำนักงานและครัวเรื่อน
2. นักศึกษาชมรมรักษ์สิ่งแวดล้อมสามารถจัดทำถังขยะไม่มีวันเต็มได้ |
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาชมรมรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
1.2 มีถังขยะไม่มีวันเต็ม ไม่น้อยกว่า 5 ถัง
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะอินทรีย์ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,000/50 = 240 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
400 |
โครงการเปิดโลกกิจกรรมชมรม ประจำปีการศึกษา 2566 |
2566 |
1 เพื่อให้ชมรมนักศึกษาได้แนะนำและแสดงผลงานของชมรม
2 เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้เลือกชมรมตามความสนใจ
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาใหม่ จำนวน 2,550 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 มีบูธแนะนำชมรมไม่น้อยกว่า 10 บูธ
1.3 นักศึกษาใหม่เป็นสมาชิกชมรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2 เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 99,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 99,500/2,550 = 39.02 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
401 |
โครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนา นักศึกษาครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 |
2566 |
เพื่อเป็นการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
ปี พ.ศ. 2566
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือ
หัวข้อที่จัดโครงการ ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้
ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
5.3 เชิงเวลา ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,200/9 = 1,800 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
402 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 2.3 ติดตาม นิเทศครูปฐมวัยในการนำทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2566 |
1. เพื่อติดตาม นิเทศ ครูปฐมวัยในการนำทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียน
ระดับปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
|
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและนำทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรม เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัยไม่
น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. ครูปฐมวัยได้มีแนวทางเพิ่มในการจัดกิจกรรมเสริมสมรรถนะเด็กปฐมวัย
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
403 |
โครงการเพิ่มศักยภาพความสามารถนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (การแข่งขันกีฬาฟุตบอลสมัครเล่น รายการไทยแลนด์ อเมเจอร์ ลีก ประจำปี 2566) |
2566 |
1) ส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2) สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 53 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬาเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 11,840 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 11,840/28 = 422.86 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
404 |
โครงการเพิ่มศักยภาพความสามารถนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล “สาวเหล็ก” No L Cup By Thai PBS ) |
2566 |
1 เพื่อเพิ่มทักษะ และส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ
2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬาแก่นักศึกษา
3 เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 53 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2 เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬาเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 4,592 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 4,592/12 = 382.67 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
405 |
โครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ระยะการเข้าสู่วิชาชีพ (Induction Period) รุ่นที่ 6 (บรรจุปี พ.ศ. 2564) |
2566 |
2.1 เพื่อให้ครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่นระยะการเข้าสู่วิชาชีพ (Induction Period) รุ่น 6 (บรรจุปี พ.ศ.2564) มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ ในการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2.2 เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้พบปะระหว่าง ครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่นระยะการเข้าสู่วิชาชีพ (Induction Period) รุ่นที่ 6 (บรรจุปี พ.ศ.2564) และอาจารย์นิเทศก์
|
เชิงปริมาณ
ครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่นระยะการเข้าสู่วิชาชีพ (Induction Period) รุ่นที่ 6 (บรรจุปี พ.ศ.2564) พื้นที่จังหวัดสตูล จำนวน 17 คน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
ครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่นระยะการเข้าสู่วิชาชีพ (Induction Period)
รุ่นที่ 6 (บรรจุปี พ.ศ.2564) มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการจัดทำบทความวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา
สามารถดำเนินการได้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,280 บาท ดังนี้
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 33,280/17 = 1,957.64 บาท/ต่อ
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
406 |
ประกวดและแสดงผลงาน : วิศวกรสังคมร่วมสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างความยั่งยืน แก่ชุมชน |
2566 |
1. เพื่อสร้างกลไกและ Platform ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสนับสนุน “วิศวกรสังคม” เพื่อยกระดับ Soft Skills ของนักศึกษาและบัณฑิตในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมเพื่อสังคมชุมชน
2. เพื่อให้นักศึกษามีบทบาทและส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคมชุมชนท้องถิ่นรวมไปถึงการพัฒนา Social Enterprise และสถานประกอบการท้องถิ่น
|
1 เชิงปริมาณ : 1) จำนวนผลงานของวิศวกรสังคมที่เข้าร่วมประกวด ไม่น้อยกว่า 9 ผลงาน
2) จำนวนผลงานที่นักศึกษามีบทบาทและส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคมชุมชน
ท้องถิ่น รวมไปถึงการพัฒนา Social Enterprise และสถานประกอบการท้องถิ่น
ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน
3) นวัตกรรมเพื่อสังคม/นวัตกรรมชุมชนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการรับรอง
การนำผลงานไปใช้ประโยชน์หรือการสร้างผลกระทบที่ชัดเจนต่อสังคม/ชุมชน/
ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,000/25 = 560 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
407 |
แข่งขันกีฬาภายในคณะ 7 คณะ (คณะครุศาสตร์) |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพและการแข่งขัน
2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ให้กับนักศึกษาภายในคณะ
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ : 1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2) นักศึกษามีความสัมพันธ์ที่ดีภายในคณะโดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
3.เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 4,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 4,200 /200 = 21 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
408 |
งานแสดงมุฑิตาจิต บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่เกษียณอายุราชการ ประจำปี 2566 |
2566 |
2.1 เพื่อยกย่อง เชิดชูเกียรติ และชมเชยบุคลากรที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
2.2 เพื่อสืบสานประเพณีและแสดงถึงความรักความสามัคคีระหว่างบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนผู้ที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
|
- เชิงปริมาณ : 1. บุคลากรสายวิชาการที่ครบวาระเกษียณอายุราชการจำนวน 6 คน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาในโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 229,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 229,500/500 = 459 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 16 |
 |
409 |
โครงการพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปี พ.ศ.2566(165,900 บาท) |
2566 |
เพื่อดำเนินการให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2563 - 2564 เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ประจำปี พ.ศ. 2566 |
1. เชิงปริมาณ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่สำเร็จการศึกษา ภาค กศ.บป. ในปีการศึกษา 2563 - 2564 จำนวน 204 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรได้ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 165,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 165,900/204 = 813.24 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
410 |
โครงการจัดงานน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 13 ตุลาคม 2566 |
2567 |
เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาได้น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต |
1 เชิงปริมาณ บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 1,100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการทราบพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 55,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 55,500/1,100 = 50.45 บาท/คน
|
|
 |
411 |
พัฒนานักศึกษา: สโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์ |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการจัดกิจกรรมและความรู้ด้านการผลิตสื่อการเรียนการสอนให้กับโรงเรียน
2.2 เพื่อคัดเลือกนักศึกษาต้นแบบ “เพชรครุศาสตร์”
|
- เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาใหม่คณะครุศาสตร์จำนวน 324 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนสื่อการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า 9 สื่อการสอน
3) จำนวนนักศึกษาต้นแบบ “เพชรครุศาสตร์” ไม่น้อยกว่า 7 คน
- เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 61,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 61,400/967 = 63.49 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
412 |
กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่องส่งเสริมและพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสำหรับนักศึกษาพิการ(5,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้และทักษะเรื่องการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในยุคปัจจุบัน
2. เพื่อให้นักศึกษาพิการได้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
3. เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถนำความรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนได้
|
1.เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,800/30 = 193.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
413 |
กิจกรรมที่ 3 บรรยายเรื่องการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพสำหรับนักศึกษาพิการ(5,800 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพหลังจากสำเร็จการศึกษา
2 เพื่อให้นักศึกษาพิการได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญของการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานในอนาคต
|
1 เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,800/30 = 193.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
414 |
กิจกรรมที่ 4 แนะแนวศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ(22,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา
2. เพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา
3. เพื่อสร้างเครือข่ายการทำงานด้านการศึกษาพิเศษ
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,200 /120 = 185 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
415 |
กิจกรรมที่ 5 บรรยายเรื่องพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับคนพิการ(5,800 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับคนพิการ
2 เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถนำความรู้เกี่ยวกับกฎหมายของคนพิการนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
5.1 เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา - สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,760 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,760/30 = 192 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
416 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้ความรู้ ทักษะ การปฏิบัติเครื่องดนตรีไวโอลิน วงเครื่องสาย Satit String Ensemble(162,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างความรักความสามัคคีขึ้นภายในองค์กร โดยมีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
2. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมยามว่าง สร้างความสุขความจรรโลงใจด้วยดนตรี และศิลปะการแสดง
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงต่อหน้าสาธารณชนได้อย่างมีความสุข
4. เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทาด้านดนตรีให้กับนักเรียน |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่มีความสนใจ จำนวน 70 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 853
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเล่นเครื่องดนตรีไวโอลิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 162,600 บาท
ต้่นทุนต่อหน่วยผลผลิต 162,600 /70 เท่ากับ 2,322.86 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
417 |
กิจกรรมที่ 3 จัดงานคอนเสิร์ต วงเครื่องสาย Satit String Ensemble (60,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงต่อหน้าสาธารณชนได้อย่างมีความสุข
2. เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีให้กับนักเรียน
3. เพื่อจัดหารายได้พัฒนาส่งเสริมด้านการศึกษาของโรงเรียน |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่เป็นสมาชิกวงเครื่องสาย Satit String Ensemble จำนวน 70 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้เข้าร่วมแสดงคอนเสิร์ตวงเครื่องสาย Satit String Ensemble ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 60,300 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 60,300 / 70 = 861.43 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
418 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตและ การเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน (546,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ความสามารถทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี (หุ่นยนต์) ให้กับนักเรียน
2. เพื่อพัฒนาศักยภาาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงต่อหน้าสาธารณะชนได้อย่างมีคใามสุข |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่มีความสนใตจเรียนเสริมทักษะ จำนวนทั้งสิ้น 270 คน (จำนวน 135 คนต่อ 1 ภาคเรียน)
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 546,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 546,500 / 270 เท่ากับ 2,024.07 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
419 |
กิจกรรมที่ 8 กีฬาครอบครัว อนุบาลสัมพันธ์ ปีการศึกษา 2566 (21,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) และนักเรียนระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) ได้ทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว
2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนผู้ปกครอง และส่งเสริมความอบอุ่นภายในครอบครัว |
เชิงปริมาณ นักเรียนและผู้ปกครองระดับชั้นเตรียมอนุบาล และนักเรียนชั้นอนุบาล 1-3 จำนวน 416 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีระเบียบวินัย ความสามัคคี อดทน การปฏิบัติตามกฎกติกาและข้อตกลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 20,925 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,925 / 415 เท่ากับ 50.30 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
420 |
กิจกรรมที่ 10 รับสมัคร นักเรียนเข้าเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) และระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) (23,700 บาท) |
2567 |
เพื่อให้การรับสมัครนักเรียนใหม่นักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) และระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) จำนวน 108 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนเข้าสมัครเรียนในระดับชั้นที่เปิดรับสมัคร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 23,680 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,680 / 108 เท่ากับ 219.26 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
421 |
กิจกรรมที่ 11 ปฐมนิเทศสร้าง ความเข้าใจสำหรับผู้ปกครอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา (15,225 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ครุและผู้ปกครองร่วมกันพัฒนานักเรียนให้ไปในทิศทางเดียวกัน
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง
3. เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักเรียนในทุก ๆ ด้าน
|
เชิงปริมาณ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) และระดับชั้นประถมศึกษาปีที 1-6 จำนวนทั้งสิ้น 579 คน
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ความเข้มใจในเนื้อหาวาระการประชุมปฐมนิเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,255 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,255 / 579 = 26.30 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
422 |
กิจกรรมที่ 12 ศึกษาดูงาน นวัตกรรมปฐมวัยภาคกลาง และภาคเหนือ สำหรับครูผู้สอน ปฐมวัย (77,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ครูได้นำความรู้มาต่อยอดสร้างสรรค์นวัตกรรมที่จะนำมาพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสาธิตฯ
2. เพื่อให้ครูได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการอบรมและศึกษาดูงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในศตวรรตที่ 21
3. เพื่อให้ครูโรงเรียนสาธิตฯ ได้สร้างความสัมพันธ์กันระหว่างองค์กร โดยการเชื่อมสัมพันธ์ ไมตรีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน |
เชิงปริมาณ ครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ทักษะกระบวนการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาโรงเรียนจากการศึกษาดูงาน โรงเรียนชั้นำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 77,780 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 77,780 / 10 เท่ากับ 7,778 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
423 |
กิจกรรมที่ 14 สัมมนาวิชาการ การนำเสนองานวิจัยและ นวัตกรรมของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (3,810 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ครูได้สร้างองค์ความรู้ใหม่และเรียนรู้สิ่งต่างๆ จากการทำวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา
2. เพื่อให้ครูได้นำเสนองานวิจัยและนวัตกรรมรูปแบบใหม่ๆ
3. เพื่อให้โรงเรียนสาธิตมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
|
เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 44 คน เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาการทำวิจัยหรือนวัตกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีผลงานวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อยกลุ่มสาระการเรียนรู้ละ 1 เรื่อง
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 3,810 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,810 /44 = 86.59 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
424 |
กิจกรรมที่ 15 ปัจฉิมสาธิต รุ่นที่ 34 สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6(12,850 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา
2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในความสำเร็จ
3. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างครู นักเรียน และผู้ปกครอง
4. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียนรุ่นต่อไป |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 58 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 12,850 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,850 /50 = 221.55 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
425 |
กิจกรรมที่ 16 ประชุมเชิง ปฏิบัติการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(6,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อทบทวนผลการดำเนินงานแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
2. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
3. เพื่อให้ผู้บริหาร และบุคลากรได้รับทราบและมุ่งปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันเพื่อตอบสนองต่อวิสัยทัศน์พันธกิจของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 44 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการคารดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
426 |
กิจกรรมที่ 17 บรรยายพิเศษ เรื่อง อย.น้อย (4,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
|
- เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 66 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
- เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง อย.น้อย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,600 ÷ 66 เท่ากับ 69.69 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
427 |
กิจกรรมที่ 18 บรรยายพิเศษ เรื่อง ออกกำลังกายลดภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์(1,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย ลดภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถภาพทางกายแข็งแรง สมบูรณ์ สุขภาพดี
3. เพื่อปรับเปลี่ยน และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนและบุคลากรในสถานศึกษา
4. เพื่อให้สถานศึกษาเป็นต้นแบบและมีโภชนาการที่ดีต่อผู้บริโภคในสถานศึกษา |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 จำนวน 130 คน เข้าร่วมฟังบรรยาย เรื่องออกกำลังกายเพื่อลดภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง ออกกำลังกายเพื่อลดภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท
ต้นทุนต่อหน่ายผลผลิต 1,800/130 = 13.85 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
428 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน(5,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทุักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนโรงพยาบาล
2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 57 คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยเหลือขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รัรบไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,600 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,600 / 57 = 98.28 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 3 |
 |
429 |
กิจกรรมที่ 20 บรรยายพิเศษ เรื่อง ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด (1,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ ทราบปัญหา และพิษภัยของยาเสพติด
2. เพื่อสร้างผู้นำในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ต่าง ๆ
3. เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล และร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 66 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อบละ 85
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมความรู้ ความเข้าใจ เรื่องต้านภัยยาเสพติด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
430 |
กิจกรรมที่ 21 บรรยายพิเศษให้ความรู้สำหรับผู้ปกครอง เรื่อง การประเมินพัฒนาการลูกน้อยสู่การปฏิบัติของผู้ปกครองในการประเมินพัฒนาการ DSPM ของนักเรียน(1,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 1 - 4 ปี มีความรู้เรื่องของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐษนและป้องกันโรค
2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 1-4 ปี สามารถประเมินส่งเสริมพัฒนาการและดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานของบุตรตามอายุ
3. เพื่อใ้หนักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์พัฒนาการ DSPM |
เชิงปริมาณ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมว้ัยตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200 / 30 = 40 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
431 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา(130,500 บาท) |
2567 |
1.เพื่อพัฒนาระบบงานบุคลากรและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้ครูได้รับการพัฒนาตนเองโดยการอบรมสัมมนาและแสวงหาความรู้จากสื่อต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
3. เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ ความสัมพันธฤ์อันดีต่อกันของครูและบุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่
4. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีแผนในการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
5. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community)
่6. ส้่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนได้จัดทำรายงานผลการประเมินตนเงอ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ |
เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรโรงเรียนรสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 46 คน เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลการทางการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 120,780 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 120,780 /46 = 2,625.65 |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
432 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(24,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
|
กระบวนการปฏิบัติการการสอนของนักศึกษาปฏิบัติการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ผ่านการประเมินการรับรองปริญญาทางการศึกษา หลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) ตามประกาศ คุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาตามมาตรฐานวิชาชีพ หลักสูตร 4 ปี พ.ศ. 2563 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
433 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(25,100 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2.2 เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2.3 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
|
5.1 เชิงปริมาณ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ จำนวน 145 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 100 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51
คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย
3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,100 / 145 = 173.10 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
434 |
กิจกรรมที่ 4 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(26,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษาปฏิบัติการสอน
2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาปฏิบัติการสอนชั้นปีที่ 3 จำนวน 317 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 279 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
นักศึกษาปฏิบัติการสอนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้น
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,400 / 317 = 83.28 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
435 |
กิจกรรมที่ 5 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(26,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2.2 เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาปฏิบัติการสอน จำนวน 285 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 228 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
นักศึกษาปฏิบัติการสอนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,400 /317 = 83.28 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
436 |
กิจกรรมที่ 6 สัมมนาผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(31,200 บาท) |
2567 |
1 เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2 เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
3 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4
|
1 เชิงปริมาณ : ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษาปฏิบัติการสอน รหัส 64 จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวน 160 คน
2 เชิงคุณภาพ :
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวทางและเข้าใจกระบวนการในการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวทางในการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 1 แนวทาง
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 31,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 31,200/200 = 156 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
437 |
กิจกรรมที่ 7 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 (26,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4
2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษาปฏิบัติการสอน
3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 313 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวน 250 คน
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,400/313 = 84.35 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
438 |
กิจกรรมที่ 9 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1(27,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตนของครูฝึกสอน
2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดี
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 318 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (จำนวน 254 คน)
2 เชิงคุณภาพ :
1) นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2) นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตนของครูฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 27,375 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 27,375/318 = 86.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
439 |
กิจกรรมที่ 10 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2(27,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตนของครูฝึกสอน
3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดี
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 322 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (จำนวน 258 คน)
2 เชิงคุณภาพ : 1. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตนของครูฝึกสอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,400/322 = 81.99 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
440 |
กิจกรรมที่ 11 สัมมนาระหว่างปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(26,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2 เพื่อให้นักศึกษาได้สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโครงการและการวิจัยในชั้นเรียน
3 เพื่อให้นักศึกษาได้รับแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน
4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 313 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวน 250 คน
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 26,400/313 = 84.35 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
441 |
กิจกรรมที่ 12 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1(27,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดี
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 319 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (จำนวน 255 คน)
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 27,375 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 27,375/319 = 85.82 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
442 |
กิจกรรมที่ 13 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2(27,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนความคิดเห็นประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดี
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 322 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (จำนวน 258 คน)
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 27,375 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 27,375/322 = 85.02 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
443 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างจิตวิญญาณความเป็นครูและประกันคุณภาพการศึกษา(65,700 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษาครูมีความรู้ความเข้าใจและเข้าถึงจิตวิญญาณของความเป็นครู
2.2 เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความรักและศรัทธาในอาชีพครู
2.3 เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาตามวงจรคุณภาพ PDCA
2.4 เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและมีแนวทางการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2567 มีแนวทางในการวางแผนการเรียนและดำเนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ตามวงจร PDCA โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.4 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 65,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 65,700/360 = 182.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
444 |
กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างอัตลักษณ์พัฒนาทักษะการคิดและเพิ่มศักยภาพนักศึกษาครูด้านเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21(57,100 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้นักศึกษามีจิตอาสา เสียสละ และบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม
3 เพื่อส่งเสริมทักษะทางปัญญาในการเตรียมความพร้อมด้านภาวะผู้นำทั้งในด้านความรู้ ทัศนคติ และทักษะการทำงาน
4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
5 เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน
|
5.1 เชิงปริมาณ: ตัวแทนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 170 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 57,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 57,100 /170 = 335.88 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
445 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้น(45,900 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาครุศาสตร์มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้น
2.2 เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม อุดมการณ์ของลูกเสือให้แก่นักศึกษาคณะครุศาสตร์เพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
2.3 เพื่อให้นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ผ่านการอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้น โดยมีวุฒิทางการลูกเสือและสามารถทำหน้าที่ผู้กำกับลูกเสือตามพระราชบัญญัติลูกเสือแห่งชาติได้
2.4 เพื่อให้นักศึกษาคณะครุศาสตร์มีทักษะทางปัญญาในการบูรณาการกิจกรรมลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้นกับการประกอบอาชีพในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 45,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 45,900 /360 = 127.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
446 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคตแก่นักศึกษาครุศาสตร์ (ปัจฉิม)(133,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ในการเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
2. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
3. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
4. เพื่อให้นักศึกษาที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาทราบถึงแนวทางต่าง ๆ หลังจากจบการศึกษาและมีความพร้อมในการทำงาน
5. เตรียมความพร้อมของนักศึกษาและพัฒนาบุคลิกภาพให้พร้อมในการเข้าสู่อาชีพตลอดจนเข้าใจสภาพแวดล้อมในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
|
1. เชิงปริมาณ: ตัวแทนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ:
2.1 จำนวนบัณฑิตครูสามารถสอบบรรจุได้สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศร้อยละ 25
2.2 นักศึกษาครูได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.3 นักศึกษาครูมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.4 นักศึกษาครูคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 132,925 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 132,925/300 = 443.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
447 |
กิจกรรมที่ 19 สัมมนาแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการและอบรมเชิงปฏิบัติการ "การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูภาษาไทยในอนาคต"(17,700 บาท) |
2567 |
2.1 เพี่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.2 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย จำนวน 32 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ ที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
448 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการค่ายสร้างสรรค์สื่อภาษาเปิดโลกทัศน์วรรณคดีไทย(35,200 บาท) |
2567 |
2.1 เพี่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.2 เพี่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย จำนวน ๔๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
449 |
กิจกรรมที่ 21 ศึกษาดูงานการเรียนรู้สู่การเป็นครูปฐมวัยเชิงรุก ในยุคศตวรรษที่ 21(61,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษาปฐมวัยชั้นปีที่ 4 มีส่วนร่วมในการเรียนรู้กับหน่วยงานภายนอกที่เป็นต้นแบบดีเด่นทางการศึกษาปฐมวัย
2.2 เพื่อให้นักศึกษาปฐมวัยชั้นปีที่ 4 ได้รับความรู้และประสบการณ์โดยตรงจากนอกห้องเรียน
2.3 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรปฐมวัยมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
|
เชิงปริมาณ:
นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 24 คน
เชิงคุณภาพ:
1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมี คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 190,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 190,000 /30 = 6,333.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
450 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือคืนชีพ CPR(17,600 บาท) |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จำนวน 35 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 31 คน
2 เชิงคุณภาพ 1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาองค์ความรู้ที่ได้รับจากโครงการในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนนขึ้นไป
2 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 นักศึกษาคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 17,600
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 17,600/35 = 502.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
451 |
กิจกรรมที่ 23 ศึกษาดูงานเรื่องการจัดการเรียนการสอนด้านการศึกษาพิเศษ สำหรับครูการศึกษาพิเศษ(9,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีการสอนและเทคนิคการสอนบุคคลที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการเรียนการสอนสำหรับบุคคลที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษได้
|
1. เชิงปริมาณ:
นักศึกษาสาขาการศึกษาพิเศษ - ภาษาไทย ชั้นปีที่ 2 จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ:
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 9,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 9,100 /29 = 313.79 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
452 |
กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การผลิตสื่อภาษาไทยสำหรับครูการศึกษาพิเศษ-ภาษาไทย(15,000 บาท) |
2567 |
เพื่อพัฒนาความรู้การผลิตสื่อในการสอนทักษะภาษาไทยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ |
1. เชิงปริมาณ:
นักศึกษาสาขาการศึกษาพิเศษ – ภาษาไทย ชั้นปีที่ 3 จำนวน 26 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ:
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 15,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 15,000 /26 = 577 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
453 |
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบกิจกรรมและการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ (ครูวิทยาศาสตร์ภาคสนาม)(16,000 บาท) |
2567 |
ท่ามกลางการเรียกร้องจากกระแสสังคม ความต้องการปฏิรูปการศึกษาไปสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการมุ่งเน้นเศรษฐกิจที่พึ่งพาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทำให้การพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ได้รับความสนใจเป็นอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน เนื่องจากครูวิทยาศาสตร์จะต้องเป็นทั้งผู้จุดประกาย จุดเริ่มต้น และหัวใจสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการศึกษาเพื่อสร้างคนและสังคมแห่งความรู้และนวัตกรรม และเตรียมคนเหล่านั้นให้เข้าสู่เศรษฐกิจในยุคไทยแลนด์ 4.0
การพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ให้เป็นครูและผู้นำการเรียนรู้ตามการปฏิรูปการศึกษานั้น นักวิชาการและฝ่ายต่าง ๆ ในสังคมต่างเรียกร้องให้มุ่งเน้นการพัฒนาครูแบบ “ฝึกคิดและปฏิบัติในสถานที่จริง” นอกจากนี้นักการศึกษาและนักจิตวิทยาการเรียนรู้ยังพยายามบ่งชี้ถึงการสร้างความรับผิดชอบ และความรักในวิชาชีพเพื่อเป็นพื้นฐานของการเป็นครูวิทยาศาสตร์ก่อนที่นักศึกษาเหล่านั้นจะเรียนรู้ความรู้ของครู (Teacher knowledge) ดังนั้นคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไปจึงได้กำหนดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดค่ายและการออกแบบกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ขึ้น และวางแผนที่จะสอดแทรกการพัฒนาครูแบบ “ฝึกคิดและปฏิบัติในสถานที่จริง” ในระหว่างกระบวนการผลิตครูตั้งแต่ช่วงแรก เพื่อให้นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์มีโอกาสค้นหาตนเอง มีใจรักในวิชาชีพ และค่อย ๆ พัฒนานักศึกษาเหล่านั้นไปสู่ครูผู้ฝึกคิด จนกระทั่งกลายเป็นผู้ชำนาญในการออกแบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามความต้องการของสังคมและประเทศชาติ โดยใช้โรงเรียนและสถานที่จริงในการพัฒนา (School and Contextual based activities) เพื่อให้กระบวนการผลิตครูสอดคล้องและเป็นไปตามข้อกำหนด นโยบาย และกระแสสังคมไปพร้อม ๆ กัน
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ จำนวน 48 คน
เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 38 คน
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะการสื่อสาร และการวิเคราะห์เพื่อสร้าง
ความเข้าใจให้กับผู้เรียน ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการสื่อสารในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า
3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการคิด และทักษะเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 16,000
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 16,000/48 = 333.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
454 |
กิจกรรมที่ 26 อบรมเชิงปฏิบัติการ "การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21" (42,100 บาท) |
2567 |
1. เสริมสร้างสมรรถนะของนักศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาและความต้องการของสังคม
2. นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับทักษะเสริมสมรรถนะการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อนำไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคต
3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการบูรณาการใช้สื่อการสอนกับการเรียนการสอนได้
4. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกประยุกต์ใช้ทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการจัดการเรียนรู้ภาษาสู่ชุมชนได้
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีบูรณาการกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 80 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 42,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 42,100/100 = 421 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
455 |
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการและค่ายสร้างผู้นำพลเมืองสำหรับครูสังคมศึกษา(41,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อพัฒนาและสร้างทักษะการเป็นภาวะผู้นำพลเมืองสำหรับครูยุคใหม่ (Active Citizen Leadership) ให้กับนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2 เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในศาสตร์เฉพาะสาขา
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ชั้นปีที่ 1- 4 จำนวน 130 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 ขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 41,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 41,400/130 = 318.46 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
456 |
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Coundelor ในศตวรรษที่ 21(42,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีความรู้ความเข้าใจในการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Counselor
2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีทักษะในการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Counselor ในศตวรรษที่ 21 อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบริการวิชาการโดยการถ่ายทอดการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว ชั้นปีที่ 2, 3 จำนวน 56 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมีคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 42,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 42,100/56 = 751.78 บาท
|
เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 17 |
 |
457 |
กิจกรรมที่ 29 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในสถานศึกษา(52,900 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF)
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามมาตรฐานสากล
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และวิชาคณิตศาสตร์ที่เป็นภาษาอังกฤษได้
4. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการเรียนรู้ และทักษะอาชีพ
เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ในอนาคต
5. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ตามมาตรฐานสากล
6. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถด้านวิชาชีพครูให้กับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์
7. เพื่อเพิ่มความมั่นใจและประสบการณ์ให้กับนักศึกษาคณะครุศาสตร์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
8. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งการเรียนรู้ในด้านทักษะการสื่อสารสารสนเทศ รู้เท่าทันสื่อ บูรณาการ STEM
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 62 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 52 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 24,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 24,400 / 62 = 393.54 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
458 |
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา Growth Mindset สำหรับนักศึกษาครูคณิตศาสตร์(25,700 บาท) |
2567 |
1.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF)
2. เพื่อพัฒนาทัศนคติและแนวคิดแบบยืดหยุ่นเพื่อเติบโตในวิชาชีพครูและเชื่อในศักยภาพของตน
3.พื่อเพิ่มความมั่นใจและประสบการณ์ให้กับนักศึกษาคณะครุศาสตร์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
|
1. เชิงปริมาณ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 58 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 47 คน
2. เชิงคุณภาพ
นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3.เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,700 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,700 / 58 = 443.103 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
459 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดทำหลักสูตรแนวใหม่ด้านครุศาสตร์(65,200 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรแบบมุ่งผลลัพธ์
การเรียนรู้ Outcomes based Education (OBE)
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจแนวคิดของการจัดทำหลักสูตรแนวใหม่ ด้านครุศาสตร์
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรแนวใหม่ ด้านครุศาสตร์ ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
460 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์
2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ หลังของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (เมษายน - กันยายน 2567)
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 89 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,300/89 = 295.50บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 |
 |
461 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของคณะครุศาสตร์(111,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์แนวคิดใหม่ๆและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงานให้แก่บุคลากรของคณะให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครการ มีการเสริมสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความสามัคคี และเกิดการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ประสบการณ์ที่ดีระหว่างบุคลากรของคณะ
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 20 คน
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 106,750 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 106,750 /25 = 4,270 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
462 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างและพัฒนาผู้นำสู่การเปลี่ยนแปลงภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)(48,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ข้อมูลเบื้อต้นเกี่ยวกับ SDGs
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างจิตสำนักและเรียนรู้วิธีเบี้ยงต้นในการป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ
2.3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักปรับตัวและสามารถทำงานร่วมกับชุมชน |
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 สโมสรนักศึกษาและตัวแทนนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ฯ เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน
5.1.2 สโมสรนักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานอุปกรณ์ป้องกันภัยพิบัติอย่างน้อย 1 วิธี
ให้แก่ 1 ชุมชน
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 สโมสรนักศึกษาและตัวแทนนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ฯ มีความรู้เข้าใจ
เกี่ยวกับ SDGs ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 หลังจากที่เข้าร่วมโครงการแล้ว
5.2.2 สโมสรนักศึกษาและตัวแทนนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ฯ ที่เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 48,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 1,210 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 13 |
 |
463 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมสู่วัยทำงานและปัจฉิมนิเทศ ประจำปีการศึกษา 2566(84,700 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่จำเป็นในการทำงาน
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และสามารถเขียนเรซูเม่ได้อย่างถูกต้อง
2.3 เพื่อยกย่องนักศึกษาที่มีคุณสมบัติเด่นตามอัตลักษณ์ของคณะเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษารุ่นน้อง
|
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 500 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาได้รับความรู้และทราบถึงคุณสมบัติที่จำเป็นและสามารถเขียนเรซูเม่
ได้อย่างถูกต้องในการใช้สมัครงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 84,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 169.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
464 |
กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนางานพัฒนานักศึกษา(159,200 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้ตัวแทนนักศึกษา ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการดำเนินกิจกรรมนักศึกษา ของกลุ่มราชภัฏ
2.2 เพื่อนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาดูงานกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
2.3 เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์การดำเนินงานด้านพัฒนานักศึกษา |
5.1 เชิงปริมาณ ตัวแทนสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรม เพื่อมาวางแผนจัดกิจกรรมให้นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทีแ่ตกต่างจากเดิมมากขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 181,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : 181,100 / 34 = 5,326.40 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
465 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างทักษะอาชีพสู่การเป็นผู้ประกอบการอิสระ(15,200 บาท) |
2567 |
๒.๑ เพื่อให้นักศึกษาภายในคณะมีความรู้และทักษะอาชีพเพิ่มขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในการเรียนและชีวิตประจำวัน
|
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการในแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 8๐
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.๒.๑ นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีการประเมินความสามารถของตน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความสามารถของตน ก่อน-หลัง
5.๒.๒ นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความพึงพอใจ
5.2.3 นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีทักษะอาชีพเพิ่มขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือไปต่อยอดในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 15,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : 15,200 = 76 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
466 |
กิจกรรมที่ 5 ศึกษาดูงานด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(490,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจได้เปิดมุมและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้องเรียน
2. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พบงานที่ตนเองต้องการทำเมื่อจบการศึกษา
3. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ตลาดแรงงาน และเตรียมคุณสมบัติเพื่อให้สอดคล้องกับงาน
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2. เชิงคุณภาพ :
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านต่าง ๆ ตามศาสตร์ของแต่ละหลักสูตรได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเตรียมความพร้อมก่อนออกสู่ตลาดแรงงานได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
2.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 952,020 บาท
2.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (ครั้งที่ 1) : 307,750 บาท = 4,215.75 บาท/คน
73
(ครั้งที่ 2) : 146,920 บาท = 4,897.33 บาท/คน
30
(ครั้งที่ 3) : 100,000 บาท = 2,857.14 บาท/คน
35
(ครั้งที่ 4) : 46,650 บาท = 1,794.23 บาท/คน
26
(ครั้งที่ 5) : 111,700 บาท = 2,376.59 บาท/คน
47
(ครั้งที่ 6) : 31,350 บาท = 1,959.37 บาท/คน
16
(ครั้งที่ 7) : 125,250 บาท = 1,439.65 บาท/คน
87
(ครั้งที่ 8) : 82,400 บาท = 1,791.30 บาท/คน
46
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
467 |
กิจกรรมที่ 6 ปฐมนิเทศก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(49,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบายและประเมินทักษะ ความพร้อมของตนเองก่อนฝึกงาน
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ในการฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
|
เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
เชิงคุณภาพ : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดแนวทางการนำทักษะไปใช้สำหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบอาขีพในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
468 |
กิจกรรมที่ 7 สัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(14,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสรุปผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและฝึกปฏิบัติได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาตนเองให้กับรุ่นน้องได้เป็นอย่างดี |
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ :
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสรุป และประเมินทักษะความพร้อมของตนเองหลังจากฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกิจกรรมคาดว่าจะนำแนวทางที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
469 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฎิบัติการสวัสดิการสังคมระดับพื้นที่ชุมชน(29,500 บาท) |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะการปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมในระดับพื้นที่ชุมชน |
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 85 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ :
2.1นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมในระดับพื้นที่ชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 29,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 29,200/85 บาท = 343.53 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
470 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการเป็นนักสวัสดิการสังคม(37,900 บาท) |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรสวัสดิการสังคมได้ฝึกปฏิบัติเป็นนักสวัสดิการสังคมจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในสถานการณ์จริงจนเกิดทักษะการเป็นนักสวัสดิการสังคมได้ต่อไป |
1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 274 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : 2.1 นักศึกษาเข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือ
หัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการเรียน
และประกอบอาชีพได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 37,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 37,900 = 138.32 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
471 |
กิจกรรมที่ 10 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างคุณลักษณะนักศึกษาจิตภัฏพัฒนาชุมชน(206,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อปลูกฝังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับการปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนโดยใช้จิตอาสาเป็นฐาน
2.2 เพื่อสร้างลักษณะเด่นเฉพาะหลักสูตรผ่านคำว่า “นักศึกษาจิตภัฏ”
2.3 เพื่อสร้างกลไกในการสำนึกในปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรในฐานะบรมครูพัฒนาชุมชน
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจิตอาสาจากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน
การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 206,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 206,000 = 457.78 บาท/คน
450
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
472 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างโอกาสและทางเลือกโลกแห่งการทำงานของนักศึกษาเอกภาษาอังกฤษ(23,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเปิดมุมมองให้นักศึกษาได้เห็นถึงเส้นทาง โอกาสและทางเลือกอาชีพต่างๆทั้งอาชีพในชุมชนและสากลของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ
2. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาในการเลือกเส้นทางอาชีพและการทำงานในอนาคตที่หลากหลายทั้งในส่วนของสถานประกอบการภาครัฐและเอกชนและการเป็นผู้ประกอบการ
|
- เชิงปริมาณ
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 105 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดทำวิดีโอคลิปสรุปเส้นทางอาชีพของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษและการนำเสนออาชีพในชุมชนหรือท้อง
ถิ่น จำนวนไม่น้อยกว่า 8 ชิ้น
- เชิงเวลา
สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
23,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
23,400/ 105 = 222.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
473 |
กิจกรรมที่ 12 อบรมเชิงปฏิบัติการ "การเตรียมความพร้อมสู่สากลวิวัตน์"(50,700 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษสู่สากลวิวัตน์
2. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษตามคุณลักษณะบัณฑิตอันพึงประสงค์
|
เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดทำแบบสะท้อนคิดและแผนการเตรียมพร้อมสู่สากลวิวัตน์อยู่ในเกณฑ์ที่สามารถปฏิบัติให้เห็นผลเป็นรูปธรรมได้
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
474 |
กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเทคนิคการถ่ายวีดิทัศน์สำหรับสื่อสารประวัติศาสตร์ท้องถิ่น(7,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะ และพัฒนาเทคนิคการถ่ายวีดิทัศน์การสื่อสารสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. เพื่อปลูกฝังและพัฒนานักศึกษาให้มีความรัก มีจิตสำนึกและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสำนึกรักบ้านเกิดและทุนทางวัฒนธรรม
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ 1-2
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ 1-2
มีความรู้ สามารถผลิตผลงานสื่อสารสังคมที่ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
475 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์ความรู้ประวัติศาสตร์สู่โลกแห่งบอร์ดเกมส์ : ปฐมบทนวัตกรรมนักสร้างสรรค์บอร์ดเกมส์เพื่อการเรียนรู้เมืองเก่าสงขลา(10,000 บาท) |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ความรู้ทางประวัติศาสตร์ เพื่อสร้างนวัตกรรมสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่21
เพื่อปลูกฝังและพัฒนานักศึกษาให้มีความรัก มีจิตสำนักและหวงแหนนศิลปวัฒธรรม ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น สำนึกรักบ้านเกิด และทุนทางสังคม
|
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ 1-2 จำนวน
30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ 1-2 มีความรู้ สามารถผลิตบอร์ดเกมที่ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 10,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 10,000 = 333.33 บาท/คน
30
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
476 |
กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะ "สิงห์วิศวกรสังคม"(194,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างทักษะสิงห์วิศวกรสังคม
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติการทางด้าน “สิงห์วิศวกรสังคม”
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ รหัส 6๕4110
และ 6๖4110 จำนวน ๕๒3 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ รหัส 6๕41101 และ
6๖41101 มีความรู้เกี่ยวกับการสร้างทักษะสิงห์วิศวกรสังคม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 194,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 194,400 = 372 บาท/คน
523
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
477 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการสิงห์สมิหลาเพิ่มทักษะการเขียนและการนำเสนอผลงานทางรัฐประศาสนศาสตร์(41,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มทักษะเกี่ยวกับการเขียนฝึกปฏิบัติการ การเขียน และการนำเสนอผลงานทางวิชาการ
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการวิเคราะห์ การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหาได้ รวมไปถึงหลักสูตรมีผลงานวิชาการเพิ่มขึ้น
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค ปกติ. รหัส 6341101 และ 6441105 จำนวน 139 คน และมีผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 25 ผลงาน
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค ปกติ รหัส 6231101 และ 6441105 มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนผลงานวิชาการ สามารถปฏิบัติการเขียน และการนำเสนอผลงานได้เป็นอย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 40,980 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 40,980 = 294.82 บาท/คน
139
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
478 |
กิจกรรมที่ 17 สัมมนาเชิงปฏิบัติการสานสายใยศิลปศาสตร์ ภาษาไทย(28,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับรู้และตระหนักในสายใยความสัมพันธ์ที่ดีในหลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัย
2. เพื่อให้นักศึกษามีการปรับตัวที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในหลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัย
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จำนวน 205 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับรู้ และตระหนักในสายใยความสัมพันธ์ที่ดีในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทยและสามารถปรับตัวได้ดีอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 28,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 28,300/205 บาท = 138.05 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
479 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำและการบริการเครื่องดื่มเบื้องต้น(21,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการทำเครื่องดื่มเบื้องต้นได้
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการบริการเครื่องดื่มในธุรกิจบริการเบื้องต้นได้
3. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ด้านการทำและบริการเครื่องดื่มจากผู้มีความเชี่ยวชาญด้านเครื่องดื่มโดยตรง
|
เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสลงมือปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 9 |
 |
480 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิลปวัฒนธรรมจีนเพื่อเสริมศักยภาพครูภาษาจีน(15,600 บาท) |
2567 |
1.เพื่อพัฒนาทักษะด้านศิลปะ วัฒนธรรมจีน ให้แก่นักศึกษาครู
2.เพื่อให้นักศึกษามีความพร้อมด้านศิลปะ วัฒนธรรมจีนในการปฏิบัติงานครู
|
เชิงปริมาณ :
1.นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ชั้นปีที่ 1 – 2 และ 4 จำนวน 69 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85
2.นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน สามารถนำความรู้ ความเข้าใจผลิตชิ้นงานด้านศิลปวัฒนธรรมจีนสำเร็จ คนละ 1 ชิ้น
เชิงคุณภาพ :
1.นักศึกษาเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจศิลปะวัฒนธรรมจีน “พู่กันจีน”และ “ถักเชือกแบบจีน”
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
481 |
กิจกรรมที่ 1 จัดงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ฉันคือมนุษย์มดในราชภัฏสงขลา(104,500 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับหลักสูตร
2.2 เพื่อเชิดชูเกียรติศิษย์เก่าของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2.3 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
|
5.1 เชิงปริมาณ : 1. นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2567 จำนวน 750 คนเข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ศิษย์เก่าของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับการเชิด ชูเกียรติหลักสูตรละ 1 คน
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาใหม่ ชั้นปีที่ 1 มีความเข้าใจในระบบการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะและระดับหลักสูตร ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 104,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 139.34 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
482 |
กิจกรรมที่ 2 จัดงานสานสัมพันธ์มนุษย์มดน้องใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567(133,500 บาท) |
2567 |
๒.๑ เพื่อให้นักศึกษาเกิดสัมพันธ์ภาพที่ดีต่อเพื่อนนักศึกษา คณาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2567 จำนวน 668 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาใหม่ ชั้นปีที่1 มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนนักศึกษา คณาจารย์ ในคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 133,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 199.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
483 |
กิจกรรมที่ 3 จัดนิทรรศการมนุษย์มดวิชาการ(138,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อจัดกิจกรรมทางวิชาการแก่นักศึกษา และหน่วยงานภายนอกในลักษณะของนิทรรศการ การนำเสนอ การประกวด การแข่งขันทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. เพื่อประชาสัมพันธ์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ให้แก่หน่วยงานภายนอก
|
5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 1,000 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘0
5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้แข่งขันทักษะวิชาการเพื่อแสดงศักยภาพ ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ผ่านการจัดกิจกรรม จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.๓ ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่ กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 138,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 138,200 = 138.20 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
484 |
กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์หลักสูตร (Roadshow)( 97,700 บาท) |
2567 |
1. เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้เป็นที่รู้จัก
2. เพื่อรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าเรียนในหลักสูตรต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
5.1 เชิงปริมาณ : นักเรียนจากโรงเรียนต่าง ๆ ในพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : เพิ่มโอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เข้าสอบคัดเลือกตรงโควตา ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 97,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 97,700 บาท = 195.40 บาท/คน
500
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
485 |
กิจกรรมที่ 6 เผยแพร่ผลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการ และเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ(377,600 บาท) |
2567 |
3.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้นำเสนอผลงานทางวิชาการหรืองานวิจัย และการเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ
3.2 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านงานประชุมวิชาการะดับต่าง ๆ และเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 นักศึกษาจำนวน 103 คน ได้ร่วมนำเสนอผลงานวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ไม่น้อยกว่า 13 เรื่อง
5.1.2 นักศึกษามีผลงานเผยแพร่ไม่น้อยกว่า 13 เรื่อง
5.2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับรางวัลในการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 377,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 377,600 บาท = 3,666.02 บาท/คน
103 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
486 |
กิจกรรมที่ 7 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(2,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิต พัฒนานักศึกษาวิชาชีพครู และการปฏิบัติการสอนในวิชาเฉพาะ
2. เพื่อรับทราบปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนจากผู้เกี่ยวข้อง
3. เพื่อสร้างเครือข่ายโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 21 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกำกับดูแลนักศึกษา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
487 |
กิจกรรมที่ 8 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(8,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิต พัฒนานักศึกษาวิชาชีพครู และการปฏิบัติการสอนในวิชาเฉพาะ
2. เพื่อรับทราบปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนจากผู้เกี่ยวข้อง
3. เพื่อสร้างเครือข่ายโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 39 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกำกับดูแลนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
488 |
กิจกรรมที่ 11 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(154,800 บาท) |
2567 |
เพื่อให้การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร สะท้อนผลการจัดการศึกษาและสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมในเรื่องของคุณภาพบัณฑิตและผู้เรียน |
- เชิงปริมาณ หลักสูตรได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จำนวน 10 หลักสูตร
- เชิงคุณภาพ หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 154,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 154,800/120 = 1,290 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
489 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการมนุษย์มดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษา(24,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางที่ดีในการปฏิบัติงานเพื่อความเป็นเลิศ
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ :
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
4. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน อย่างน้อย 1 ระบบ
5. อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 24,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 24,000/60 = 400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
490 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการค่ายผลงานทางวิชาการมนุษย์มด ปีที่ 4(24,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีความรู้ ความเข้าใจถึงแนวทางในการจัดทำผลงานทางวิชาการเพื่อเข้าสู่กระบวนการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
2. เพื่อให้อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีผลงานทางวิชาการที่สามารถเข้าสู่กระบวนการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
|
- เชิงปริมาณ
- อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีผลงานทางวิชาการเพื่อยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการไม่น้อยกว่า 10 ชิ้นงาน
- เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำผลงานทางวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากการประเมิน
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและการปรึกษาหารือ ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากการประเมิน
- เชิงเวลา
- สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 24,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 24,400 = 1,220 บาท/คน
20
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
491 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการสอนเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความยั่งยืนในการจัดการเรียนรู้(27,900 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดความรู้ ความเข้าใจในทักษะการสอนเชิงสร้างสรรค์ได้
2.2 เพื่อให้อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดสมรรถนะในการนำไปใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
|
5.1 เชิงปริมาณ : อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดทักษะการสอนเชิงสร้างสรรค์
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เกิดสมรรถนะในการนำไปใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้อย่าง
ยั่งยืนได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 18,140 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 18,140 = 302.33 บาท/คน
60
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
492 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์กรสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว(33,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้ด้านเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวเพื่อเข้าสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว
2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นำความรู้และเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวไปใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน
|
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 อาจารย์และบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 80 คน
เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน
สีเขียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,800 = 422.50 บาท/คน
80
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 13 เป้าหมายที่ 15 |
 |
493 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาเสริมสร้างศักยภาพผู้นำนักศึกษา การสร้างทีมทำงาน และการประกันคุณภาพ(29,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้นำนักศึกษาให้สามารถบูรณาการการทำงาน และสามารถพึ่งพาตนเองได้
2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ มีภาวะผู้นำ และรู้จักการปรับตัวในสังคม
3. เพี่อให้นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีมกับผู้อื่นได้
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 55 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) อย่างน้อย 3 ด้าน
- นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกับการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 29,280 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 29,280/55 = 532.36 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
494 |
กิจกรรมที่ 3 ประกวดและอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างผู้ประกอบการด้วยแนวคิดนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์(48,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสร้างและเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางในการเป็นผู้ประกอบการให้แก่นักศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ และมีทักษะ สามารถประยุกต์ความรู้ด้านการจัดการทางธุรกิจ และสร้างแนวคิดนวัตกรรมได้
3. เพี่อเปิดพื้นที่ให้นักศึกษาแสดงศักยภาพ และความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ สร้างแรงบันดาลใจ เกิดเป้าหมายในการเรียนรู้เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการ
|
1. เชิงปริมาณ : - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดอย่างน้อย 10 แผนธุรกิจ
- นักศึกษาผ่านการคัดเลือกจากการประกวด จำนวน 8 กลุ่ม
- นักศึกษาสามารถส่งแนวคิดต้นแบบนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์เข้าร่วมประกวดในโครงการอย่างน้อย 8 กลุ่มผลิตภัณฑ์
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 48,025 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 48,025/120 = 400.21 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
495 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการทำงาน กฎหมายแรงงานและการเป็นผู้ประกอบการ (ปัจฉิมนิเทศ)(183,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมทักษะและจุดประกายให้นักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการทำงานอย่างมืออาชีพ และ
เข้าสู่การเป็นผู้ประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
3. เพี่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 3 ได้เข้าใจและเรียนรู้กระบวนการทำงานภายในองค์กรแต่ละองค์กรเบื้องต้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเลือกสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในอนาคต
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 1,049 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการทำงานและการเป็นผู้ประกอบการอยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 182,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 182,000/1,049 = 173.49 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
496 |
กิจกรรมที่ 5 จัดงานสานสัมพันธ์ชบาน้อยช่อใหม่และบายศรีสู่ขวัญคณะวิทยาการจัดการ(165,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาใหม่ รุ่นพี่ และคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ
2. เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมในสถาบันการศึกษา
|
1. เชิงปริมาณ : - นักศึกษาใหม่ชั้นปีที่ 1 ทุกหลักสูตร จำนวน 688 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีกิจกรรมฐานสร้างความสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 10 ฐาน
- มีกิจกรรมกีฬาพื้นบ้านเชื่อมความสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม
- มีกิจกรรมรับขวัญนักศึกษา จำนวน 1 กิจกรรม
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 165,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 165,600/688 = 240.70 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
497 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปีที่ 12(33,500 บาท) |
2567 |
1.เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะทางวิชาชีพให้กับนักศึกษา
2.เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ด้านวิชาชีพนิเทศศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถิ่น
3.เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสามารถสื่อสาร นำเสนอได้อย่างสร้างสรรค์ |
1. เชิงปริมาณ : - นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต ชั้นปีที่ 1 - 3 จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 จัดทำผลงานด้านการถ่ายภาพได้ จำนวน 15 ชิ้นงาน
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 จัดทำผลงานด้านสกู๊ปข่าวได้ จำนวน 10 ชิ้นงาน
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 จัดทำผลงานคลิปวิดีโอได้ จำนวน 5 ชิ้นงาน
2. เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยู่
ในระดับดี 3.51 ขึ้นไป
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สามารถผลิตชิ้นงานที่มีคุณภาพและมีความสร้างสรรค์สะท้อนถึงวิถีชุมชนในมิติต่าง ๆ ตามแนวทางความพอเพียง โดยแต่ละชิ้นงาน คะแนนอยู่ในระดับดี3.51
3. เชิงเวลา: สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,450 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,450/200 = 167.25 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
498 |
กิจกรรมที่ 8 การประกวดทักษะทางวิชาชีพนิเทศศาสตร์ปีที่ 7(51,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างและเพิ่มพูนทักษะทางวิชาชีพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ให้แก่นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต
2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และมีทักษะสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและสื่อสารมวลชนในยุคดิจิทัล
3. เพื่อเปิดพื้นที่ให้นักศึกษาแสดงศักยภาพและความสามารถในเชิงวิชาชีพ สร้างแรงบันดาลใจเกิดเป้าหมายในการเรียนรู้เพื่อก้าวสู่วงการวิชาชีพนิเทศศาสตร์ได้
|
1. เชิงปริมาณ : - นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 - 4 จำนวน 250 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- ผู้เข้าร่วมโครงการส่งผลงานด้านนิเทศศาสตร์ อย่างน้อย 5 ชิ้นงาน ได้แก่ ประกวดภาพถ่าย ประกวดสกู๊ปข่าว ประกวดคลิปวิดีโอ และประกวด project
2. เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- ผลงานของนักศึกษามีคุณภาพและสามารถสะท้อนถึงศักยภาพความสามารถและทักษะทางวิชาชีพนิเทศศาสตร์ของนักศึกษาได้เป็นอย่างดี โดยแต่ละชิ้นงานมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 51,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 51,600/250 = 206.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
499 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเพื่อสร้างนักเศรษฐศาสตร์คุณภาพ(25,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้ประกอบการท้องถิ่นและผู้อื่นได้
3. เพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษาให้สามารถนำเสนอแนวทางในการยกระดับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้ |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต ชั้นปีที่ 1 - 4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเววลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 22,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 22,200/100 = 222 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
500 |
กิจกรรมที่ 10 ศึกษาดูงานเพื่อการเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชน(41,900 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนำแนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ได้
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการเรียนรู้อาชีพจากทักษะของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน
3. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ของนักศึกษาจากแนวทางพัฒนาวิสาหกิจชุมช |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 - 3 จำนวน 37 คน เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการความรู้และประสบการณ์จริงจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ คิดเป็นร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 166,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 166,600/40 = 4,165 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
501 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมและศึกษาดูงานการบัญชีธุรกิจและวิสาหกิจชุมชน(233,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้จริงในการดำเนินงานด้านการเงินการบัญชีต้นทุนของธุรกิจและวิสาหกิจจริงเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงานและความเป็นสากลของอาเซียน
2. เพื่อสร้างประสบการณ์และความเข้าใจระบบงานบัญชีธุรกิจและวิสาหกิจชุมชน เตรียมความพร้อมกลับไปสร้างความเข้มแข็งในชุมชนทิองถิ่นของตนในอนาคต
3. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพความเป็นผู้ประกอบการจากธุรกิจจริง
4. เพื่อถอดบทเรียนประสบการณ์จากพี่สู่น้อง
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต จำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้และประสบการณ์จริง จากเจ้าของสถานประกอบการและวิสาหกิจชุมชน มีความพร้อมที่จะเริ่มประกอบธุรกิจทางการบัญชีและพัฒนาต่อยอดธุรกิจในชุมชนท้องถิ่นของตนเองได้อย่างยั่งยืนไม่น้อยร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 233,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 233,800/45 = 5,195.56 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
502 |
กิจกรรมที่ 12 สัมมนาเชิงปฏิบัติการนักบัญชี 5 G Upskill and Reskill สู่ทักษะเชิงนวัตกรรมนักคิดธุรกิจยุคใหม่อนุรักษ์สินค้าพื้นบ้านไทย (OTOP)(61,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนานักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยบูรณาการด้านการทะนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมกับการบริการวิชาการ การเรียนการสอน โดยการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการดำเนินงานการ จัดตั้งธุรกิจจำลอง ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์ชุมชน
2. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาอาหารพื้นบ้านให้คงอยู่
3. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้จากท้องถิ่นมาบูรณาการด้านวิชาการ
|
- เชิงปริมาณ : วันที่ 3 สิงหาคม 2567- นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีชั้นต้น 1 จำนวน 145 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิตสามารถเขียนแผนธุรกิจจำลอง ได้ไม่น้อยกว่า 4 แผน
วันที่ 4 สิงหาคม 2567 - นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีชั้นต้น 1 จำนวน 145 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
วันที่ 9 สิงหาคม 2567 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีชั้นต้น 1
จำนวน 16 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
วันที่ 13 - 14 สิงหาคม 2567 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีชั้นต้น 1
จำนวน 145 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
วันที่ 23 สิงหาคม 2567 นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาบัญชีชั้นต้น 1
จำนวน 145 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อที่อบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: - นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 61,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : วันที่ 3 สิงหาคม 2567 : 27,875/145 = 192.24 บาท/คน
วันที่ 4 สิงหาคม 2567 : 24,625/145 = 169.83 บาท/คน
วันที่ 9 สิงหาคม 2567 : 8,900/16 = 556.25 บาท/คน
วันที่ 13 - 14 สิงหาคม 2567 : ไม่ใช้งบประมาณ
วันที่ 23 สิงหาคม 2567 : ไม่ใช้งบประมาณ
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
503 |
กิจกรรมที่ 13 ศึกษาดูงานเพื่อเปิดโลก HR : เปิดมุมมองด้านทรัพยากรมนุษย์สู่อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ(90,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้ประสบการณ์การบริหารธุรกิจด้านต่าง ๆ จากสถานประกอบการและนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริง
2. เพื่อบูรณาการศาสนา ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการใช้ชีวิตประจำวันของนักศึกษา |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 99 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจด้านบริหารธุรกิจ และสามารถบูรณาการความรู้จากการศึกษาดูงานกับการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
- นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทยกับการใช้ชีวิต ประจำวันได้อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย 3.5
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 90,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 90,000 /99 = 909.10 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
504 |
กิจกรรมที่ 14 สัมมนาเชิงปฏิบัติการและประกวดทักษะเส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ (HR Coaching by Pro. Coach)(87,400 บาท) |
2567 |
1. นักศึกษาเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และมีคุณสมบัตรตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
2. นักศึกษาสามารถนำประสบการณ์ ความรู้ที่ได้รับมาประกอบธุรกิจอย่างมีทัศนคติที่ดีในการทำงานมีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ต่อไปในอนาคต |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 225 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการให้คำปรึกษา และการเป็นวิทยากร การออกแบบกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรณ์มนุษย์ และการใช้สื่อเพื่อนำเสนอตามหัวข้อที่ได้จัดสัมมนาอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
- นักศึกษาได้มีประสบการณ์เข้าร่วมการแข็งขันกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในวิชาชีพ ทางด้านการเป็นที่ปรึกษา/วิทยากร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 87,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 87,400 /225 = 388.44 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
505 |
กิจกรรมที่ 15 ศึกษาดูงานศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการ(111,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ประกอบอาชีพได้ในอนาคต
2. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้วิธีการพัฒนาทักษะทางอาชีพจากสถานประกอบการจริง
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงการประกอบธุรกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
4. เพื่อให้อาจารย์ในหลักสูตรฯ สาขาวิชาการจัดการ ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์จากสถานประกอบการเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนการสอนได้ |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 89 คน ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ได้รับการพัฒนาให้มี คุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
- เชิงเวลาดำเนิน : การเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 111,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 111600 /89 = 1,253.93 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
506 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(91,900 บาท) |
2567 |
1. นักศึกษามีความเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการ
2. นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากผู้ประกอบการเพื่อสร้างแนวคิดในการเป็นผู้ประกอบการ
3. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)
4. นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดประสบการการทำงานจากรุ่นพี่
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
- คะแนนของผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระดับหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2 คะแนน
- เชิงเวลาดำเนิน : การเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 91,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 91,900/405 = 226.91 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
507 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณลักษณะของนักการตลาด(39,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน TQF
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะที่มุ่งเน้นคุณลักษณะของนักการการตลาด เตรียมความพร้อมในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและประกอบการอาชีพในอนาคต |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 256 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้
- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 39,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 39,200/256 = 153.13 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
508 |
กิจกรรมที่ 19 ศึกษาดูงานด้านการตลาดและส่งเสริมทำนุศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น(43,200 บาท) |
2567 |
1.เพื่อเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้ในหลักการดำเนินงานของธุรกิจด้านการตลาด
2.เพื่อส่งเสริมทำนุศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 3 จำนวน 46 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้จากการเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้ในหลักการดำเนินงานของธุรกิจด้านการตลาดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 105,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 105,900/46 = 2,302.17 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
509 |
กิจกรรมที่ 20 ศึกษาดูงานเปิดโลก ICT เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการเป็นนักคอมพิวเตอร์(109,700 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และพัฒนาความรู้ความสามารถจากการศึกษานอกเหนือจากชั้นเรียน
2. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตและทักษะทางสังคมให้กับนักศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และนำกลับมาประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันและการทำงานได้ในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 37 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 171,520 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 171,520 /37 = 4,635.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
510 |
กิจกรรมที่ 21 อบรมเชิงปฏิบัติการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ(31,100 บาท) |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีแนวคิดในการออกแบบ แรงบันดาลใจในการสร้างชิ้นงาน
2.เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้เครื่องมือ ชิ้นงานด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ
3. เพื่อเพิ่มโอกาสในการสร้างชิ้นงานผลงานของนักศึกษาเครื่องพิมพ์3 มิติ
4 เพื่อฝึกปฏิบัติพร้อมผลิตผลงานจริง |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีที่ 2 และปีที่ 3 จำนวน 220 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ
2. เชิงคุณภาพ : - นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับกหารใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหัวข้ออบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 31,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 31,100 /220 = 141.36 บาท/ |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
511 |
กิจกรรมที่ 22 ปฐมนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพสู่การเป็นบัณฑิตพรีเมี่ยม(175,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสนำความรู้หลักการทฤษฎีที่ได้เรียนรู้ตามหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพเพิ่มเติมจากผู้มีประสบการณ์ตรง ก่อนที่จะสำเร็จการศึกษาและเข้าสู่การประกอบวิชาชีพ
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดทักษะในการปฏิบัติงานและเกิดทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาที่ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีความรู้ ความสามารถ และได้รับทักษะทางวิชาการจากการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพอยู่ในระดับดี มีผลการประเมินไม่ต่ำกว่า 3.50
3. เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 175,260 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 175,260/50 = 3,505.20 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 6 |
 |
512 |
กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการปรับพื้นฐานการเรียนรู้สู่การเป็นบัณฑิตพรีเมี่ยม(7,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถปรับตัวสำหรับการเรียนในระดับอุดมศึกษาได้
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในวิชาพื้นฐานสำหรับการเรียนในมหาวิทยาลัย
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและปรับตัวให้เข้ากับการเรียนแบบ WiL (Work - integrated Learning)
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) อย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้/
ด้านทักษะทางปัญญา/ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
3. เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 7,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 7,200/24 = 300 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
513 |
กิจกรรมที่ 25 ศึกษาดูงานการจัดการนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้(197,700 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาความสามารถจากการเรียนรู้นอกชั้นเรียน
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงานในอนาคตได้
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและเกิดความตระหนักหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีต่อวิชาชีพ
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า มีความรู้ และประสบการณ์จากการศึกษานอกสถานที่ มีความพึงพอใจในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 185,760 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 185,760/50 = 3,715.20 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
514 |
กิจกรรมที่ 1 แนะแนวการศึกษา Road Show(135,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์หลักสูตร และให้ความรู้การจัดการเรียนการสอนและการสร้างภาพลักษณ์ของคณะวิทยาการจัดการ
2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสอบคัดเลือก และให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามหลักสูตรที่ตนเองมีความถนัด
3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนดีในท้องถิ่นได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี
|
- เชิงปริมาณ : ได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรของคณะวิทยาการจัดการให้แก่นักเรียนในโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 10 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ : เพิ่มโอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เข้าสอบคัดเลือกตรงโควตาของ
คณะวิทยาการจัดการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 135,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 135,000/100 คน = 1,350 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
515 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษาปีที่ 1 คณะวิทยาการจัดการ (MGT Orentation)(58,500 บาท) |
2567 |
1.เพื่อเตรียมความพร้อมในการปรับตัวและใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
2.เพื่อให้นักศึกษารู้จักวัฒนธรรมองค์กร |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาใหม่คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 900 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการมีทัศนคติที่ดี และปรับตัวต่อการเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 58,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 58,500 /900=65บาท/คน |
เป้าหมายที่ 6 |
 |
516 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (การทวนสอบ)(25,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้หลักสูตรมีระบบการประเมินผลการเรียนรู้ การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้และ
กระบวนการทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้ของนักศึกษา
2. เพื่อให้วิธีการวัด และประเมินผลมีความตรงประเด็นกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในการประมวล
การสอน และข้อสอบในแต่ละรายวิชาสามารถวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษาได้สอดคล้องกับความ
รับผิดชอบต่อผลการเรียน
3. เพื่อให้การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาแสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร
|
- เชิงปริมาณ : - มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
- มีการทวนสอบรายวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนของแต่ละหลักสูตรในภาคการศึกษาที่ทวนสอบ
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการทวนสอบตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
517 |
กิจกรรมที่ 4 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะวิทยาการจัดการ(135,700 บาท) |
2567 |
เพื่อให้การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร สะท้อนผลการจัดการศึกษาและสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมในเรื่องของคุณภาพบัณฑิตและผู้เรียน |
- เชิงปริมาณ : หลักสูตรได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จำนวน 9 หลักสูตร
- เชิงคุณภาพ : หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี และดีมาก
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 123,740 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 123,740/108 = 1,145.74 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
518 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ (KM) ด้านการบริหารความเสี่ยงของหลักสูตร(9,200 บาท) |
2567 |
1.เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของหลักสูตร
2.เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของหลักสูตรให้เป็นไปตามตัวชี้วัด เช่น ปัญหานักศึกษาตก-ออก ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ ผลงานวิจัย เป็นต้น
|
1. เชิงปริมาณ : บุคลากรจำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในบริหารจัดการความเสี่ยงของหลักสูตรได้แนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างน้อย 1 เรื่อง
3.เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 9,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 9,200/40 = 230 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
519 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำผลงานทางวิชาการอย่างมืออาชีพ(32,400 บาท) |
2567 |
1.เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานทางวิชาการ
2.เพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรจัดทำผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น |
1. เชิงปริมาณ - บุคลากรคณะวิทยาการจัดการได้รับการพัฒนาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ และมีทักษะในการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพที่ดีในการทำงานอย่างน้อย จำนวน 40 คน
- บุคลากรคณะวิทยาการจัดการมีการทำผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 ผลงาน
2. เชิงคุณภาพ - บุคลากรคณะวิทยาการจัดการมีการทำผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา - ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 16,760 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 16,760 /40 = 419 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
520 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ด้านหลักสูตร OBE (AUN-GA)(25,500 บาท) |
2567 |
เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในการทำหลักสูตร ตามหลักของ OBE |
- เชิงปริมาณ : อาจารย์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : อาจารย์ที่เข้าร่วมอบรมสามารถทำหลักสูตรโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ในรูปแบบ OBE ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 25,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 25,500/60 คน = 425 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 7 |
 |
521 |
กิจกรรมที่ 2 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะศิลปกรรมศาสตร์(110,000 บาท) |
2567 |
เพื่อให้การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรสะท้อนผลการจัดการศึกษาและสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมในเรื่องของคุณภาพบัณฑิตและผู้เรียน |
1 เชิงปริมาณ อาจารย์ประจำหลักสูตร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตัวแทนเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ทุกหลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพผ่านองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดีมาก อย่างน้อย 1 หลักสูตร
2.3 มีหลักสูตรรับการประเมินAUN QA ไม่น้อยกว่า 1 หลักสูตร
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
522 |
กิจกรรมที่ 4 จัดงานแสดงผลงานด้านดนตรีไทย(10,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาและฝึกทักษะให้กับนักศึกษาในการจัดการแสดงดนตรีไทย
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำเสนอผลงานและเผยแพร่ผลงานดนตรีไทยสู่สาธารณชน
3. เพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะของนักศึกษา
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 4 สาขาวิชาดนตรีไทย จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,000/25 = 400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
523 |
กิจกรรมที่ 6 จัดงานการแสดงดนตรีสู่สาธารณชน(10,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อพัฒนาและฝึกทักษะให้กับนักศึกษาในการจัดการแสดงดนตรี
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำเสนอและเผยแพร่ผลงานด้านดนตรีสู่สาธารณชน
3 เพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะของนักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ 1.1 นักศึกษาหลักสูตรดุริยางคศิลปะตะวันตก ชั้นปีที่ 1 – 4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 นักศึกษาหลักสูตรดุริยางคศิลปะตะวันตก ชั้นปีที่ 1 – 4 ได้เผยแพร่ผลงานด้านดนตรีออกสู่สาธารชน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
524 |
กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานในสถานประกอบการด้านการออกแบบ |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงด้านการออกแบบจากผู้ประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบ ชั้นปีที่ 1 - 2 จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 นักศึกษาได้มีทักษะและประสบการณ์จากการศึกษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 57,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 57,200/40 = 1,430 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
525 |
กิจกรรมที่ 8 ศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อส่งเสริมศักยภาพทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นนักดนตรีมืออาชีพ(77,900 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการศึกษานอกห้องเรียน
2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษานอกห้องเรียน
3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการประกอบอาชีพทางดนตรีให้กับนักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 นักศึกษาได้ไปศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
526 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม "SMEs Boot camp" และการพัฒนาแผนธุรกิจทางด้านศิลปกรรม(19,200 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำเสนอผลงานทางด้านศิลปกรรม
2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำธุรกิจ SMEs ทางด้านศิลปกรรมและสามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาแผนธุรกิจทางด้านศิลปกรรม
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
527 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานด้านศิลปกรรมและปัจฉิมนิเทศ(17,800 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในรูปแบบของอาชีพและลักษณะการทำงานด้านศิลปกรรม
2 เพื่อแนะแนวทางในการเลือกสาขาอาชีพที่เหมาะสมกับสาขาที่สำเร็จการศึกษา
3 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการทำงาน กาประกอบอาชีพอิสระ การเป็นผู้ประกอบการ และการศึกษาต่อ
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อที่จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
528 |
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะศิลปกรรมศาสตร์ |
2567 |
เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ |
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะฯ จำนวน 1 แผน
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,500/40 = 37.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
529 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการ "การจัดการความรู้ KM (การเรียนการสอนและการวิจัย)"(7,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้อาจารย์มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนและการวิจัย
2 เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอนและการวิจัย
3 เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนและการวิจัยให้บุคคลทั่วไปทราบ
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนและการวิจัย อย่างละ 1 แนวทาง
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
530 |
อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาบุคลากรของคณะให้ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองตามหลักธรรมาภิบาล การบริหาร บุคลิกภาพ และพัฒนาให้เกิดความรัก ความสามัคคี มีเป้าหมายร่วมกัน มีทัศนคติที่ดีต่องาน ผู้บริหาร หัวหน้างานและผู้ร่วมงานมีการสื่อสารที่ดีเข้าใจถึงวัฒนธรรมองค์กร
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความรัก ความสามัคคี และเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ดีระหว่างบุคลากรของคณะ
|
1. เชิงปริมาณ บุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรัก ความสามัคคี และมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่ได้รับ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 124,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 124,800/40 = 3,120 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
531 |
กิจกรรมที่ 2 สร้างเครือข่ายกับโรงเรียนในท้องถิ่นและประชาสัมพันธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงรุก(76,500 บาท) |
2567 |
เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการจัดกิจกรรมของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายทั้งภายในและภายนอกให้กับกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
5.1 เชิงปริมาณ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 10 โรงเรียน สามารถเข้าร่วมได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 76,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 76,500/10 = 7,650 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
532 |
กิจกรรมที่ 3 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการเพื่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยตามระบบ ESPReL(15,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ
4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 12 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ มีห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐานตามระบบ ESPReL จัดการด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
อย่างน้อย 6 ห้อง
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000 /12 = 1,250 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
533 |
กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 17025(15,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อดำเนินการการบริหารการจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ
2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025
3. ปรับปรุงระบบบริหารงานห้องปฏิบัติการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 17025
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1. มีระบบการบริหารการจัดการที่เป็นระบบตามมาตรฐาน ISO 17025 จำนวน 1 ห้อง
2. สามารถให้บริการการตรวจสอบคุณภาพน้ำในภายในและนอกมหาวิทยาลัย อย่างน้อย 5 หน่วยงาน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
534 |
กิจกรรมที่ 5 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(232,200 บาท) |
2567 |
เพื่อให้การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร สะท้อนผลการจัดการศึกษาและสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมในเรื่องของคุณภาพการศึกษาและผู้เรียน
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 213,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 213,200 /180 = 1,184.44 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
535 |
กิจกรรมที่ 1 สัมมนานักศึกษาก่อนฝึกประสบการณ์ฯ(28,900 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้นักศึกษาเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ สถานประกบการต่าง ๆ
2.เพื่อให้นักศึกษาทราบและเข้าใจกฎระเบียบ หลักเกณฑ์การประเมินในรายวิชาฝึกประสบการณ์วิขาชีพ
3.เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต |
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 241 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าฝึกประสบการณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 28,890 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 28,890/241 = 119.88 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
536 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์ฯ(48,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้อาจารย์ได้ประเมินผลหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา
2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ ระหว่างอาจารย์ นักศึกษาที่ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพแล้ว และนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นปีที่ 3
2.3 เพื่อนำองค์ความรู้สมัยใหม่ที่นักศึกษาได้รับระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพมาใช้พัฒนาคุณภาพ |
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 319 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,450 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 39,450/319 = 123.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
537 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาหน่วยฝึกฯ(8,800 บาท) |
2567 |
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางธารณสุขศาสตร์กับครูพี่เลี้ยงประจำหน่วยฝึกประสบการณ์ทางสาธารณสุขศาสตร์ |
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 92 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,722 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,722/92 = 94.80 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
538 |
กิจกรรมที่ 5 สัมมนาก่อนปฏิบัติการสอน 1-4(13,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตร ค.บ. ชั้นปีที่ 1 ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจำชั้นในสถานศึกษา
2.เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตร ค.บ. ชั้นปีที่ 2 ได้รับความรู้ความเข้าใจในหน้าที่ปฏิบัติงานผู้ช่วยครูร่วมกับครูพี่เลี้ยงในสถานศึกษา
3.เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตร ค.บ. ชั้นปีที่ 3 ได้รับความรู้และความเข้าใจในหน้าที่ออกแบบการจัดบรรยากาศชั้นเรียนในสถานศึกษา
4. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตร ค.บ. ชั้นปีที่ 4 ได้รับความรู้และเข้าใจในการปฏิบัติงานในหน้าที่ครูในสถานศึกษา
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 267 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับดีขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 13,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ชั้นปีที่ 1 3,050/58 = 52.58 บาท/คน
ชั้นปีที่ 2 2,400/45 = 53.33 บาท/คน
ชั้นปีที่ 3 4,250/82 = 51.83 บาท/คน
ชั้นปีที่ 4 4,100/82 = 50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
539 |
กิจกรรมที่ 6 สัมมนานักศึกษาระหว่างปฏิบัติการสอน 4(4,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2. เพื่อให้นักศึกษาได้สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโครงการและการวิจัยในชั้นเรียน
4. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 4 จำนวน 82 คน เข้าร่วมโครงการ
2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3.เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,100/82 = 50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
540 |
กิจกรรมที่ 8 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอน 1-4(13,500 บาท) |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตร ค.บ. ชั้นปีที่ 3 ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ในหน้าที่การออกแบบการจัดบรรยากาศชั้นเรียนในสถานศึกษา |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 82 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับดีขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,950 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ชั้นปีที่ 3 5,950/82 = 72.56 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
541 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะของนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ในศควรรษที่ 21(72,800 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะของนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้แก่นักศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและสถานประกอบการ
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ทั้งด้านวิชาการและประสบการณ์การทำงานจริงจากบุคลากรในสายงานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์นอกเหนือจากการเรียนการสอนในชั้นเรียน
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 23 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความพึงพอใจจากการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 72,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 72,800/23 = 3,165 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
542 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ "เทคนิคการออกแบบกิจกรรมเพื่อจัดค่ายคณิตศาสตร์"(38,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และประสบการณ์สู่การออกแบบกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้
2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเทคนิคการออกแบบสื่อมาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์ได้
3 เพื่อให้ได้กิจกรรมการจัดค่ายคณิตศาสตร์สู่การบริการวิชาการแก่หน่วยงานภายนอกได้ |
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 85 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,400/85 = 451.76 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
543 |
กิจกรรมที่ 12 อบรมเชิงปฏิบัติการ "เทคนิคการออกแบบสื่อในศตวรรษที่ 21"(24,300 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้และเทคนิคการออกแบบสื่อและนำใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
2 เพื่อให้ผู้อบรมสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการได้
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 35 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 24,300 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 24,300/35 = 694.28 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
544 |
กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(17,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้และมีทักษะสำหรับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ในสาขาผู้ปะกอบอาหารไทย ทำคะแนนสอบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 17,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 17,200/38 = 452.63 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
545 |
กิจกรรมที่ 15 ศึกษาดูงานในรายวิชาด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม(89,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้นำประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียน |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวิุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
546 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเสริมความเป็นครู นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ที่สมบูรณ์แบบ(49,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการ หลักการและขั้นตอนการจีบผ้า การจัดดอกไม้ เพื่อสร้างงานเพิ่มมูลค่าของผลงานให้เกิดความสวยงาม
2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงบุคลิกภาพที่เป็นจุดเด่นและจุดด้อยของตนเอง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 101 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 49,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 49,400/101 = 489.1 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
547 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมทักษะทางวิชาการชั้นสูงสำหรับการเตรียมสอบใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน(36,700 บาท) |
2567 |
เพื่อเสริมสร้างทักษะทางวิชาการชั้นสูงให้กับนักศึกษาและศิษย์เก่าที่ยังสอบใบประกอบวิชาชีพไม่ผ่านหรือที่จะต้องสอบเพื่อต่ออายุใบประกอบวิชาชีพ |
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 200 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 36,610 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 36,610/200 = 183.05 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
548 |
กิจกรรมที่ 19 ศึกษาดูงานบทบาทของผู้ให้บริการด้านสุขภาพและสปา(13,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้นำประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียน |
- เชิงปริมาณ
นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ
นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกาดูงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
549 |
กิจกรรมที่ 20 ศึกษาดูงานสำหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเคมี(9,700 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานประกอบการ
2.เพื่อให้นักศึกษาได้นำประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียน |
เชิงปริมาณ นักศึกษาเข้าร่วมดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
เชิงคุรภาพ -นักศึกษาเเต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- นักศึกษาได้รับการพัมนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัรฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
550 |
กิจกรรมที่ 21 ศึกษาดูงานในรายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ(10,000 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจ และได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานประกอบการ
2.เพื่อให้นักศึกษาได้นำประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ในการเรียน |
- เชิงปริมาณ นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
-เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
551 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมทักษะเพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพผลลัพธ์การเรียนรู้สำหรับนักศึกษาชีววิทยา(38,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนเริ่มทำโครงการวิจัยและฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้นักศึกษามีความรู้และเพิ่มเติมทักษะการใช้เครื่องมือขั้นสูง
2.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหาเบื้องต้นทางชีววิทยาผ่าน project based learning
|
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาจำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : คะแนนการประเมินองค์ประกอบที่ 3.2 และ 3.3 ของหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน
: นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้กับการทำงานวิจัยได้ โดยได้คะแนนประเมินในรายวิชาวิจัยไม่ต่ำกว่า C และมีผลประเมินจากการปฏิบัติงานคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,000 /34 = 1,117.65 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
552 |
กิจกรรมที่ 23 ศึกษาดูงานชีววิทยา(46,400 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจและได้ประสบการณืตรงจากสถานประกอบการ
2.เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ที่ำด้รับมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน |
เชิงปริมาณ นักศึกษาเข้าร่วมศึกษาดูงานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
เชิงคุณภาพ นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงาานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ(TQF )ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
553 |
กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมทักษะเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะวิชาชีพสำหรับนวัตกรการเกษตร ชั้นปีที่ 1 และ 2(37,900 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และมีทักษะปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง โดยสามารถเชื่อมโยงความรู้จากในห้องเรียนได้
2.เพื่อเพิ่มการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 |
เชิงปริมาณ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 19 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษา มหาวิทยาลัย กับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน อย่างน้อย 1 เครือข่าย
- นักศึกษาสามารถจัดทำร่างโครงการบริการวิชาการในการยกระดับชุมชนได้ อย่างน้อย 1 โครงการโดยใช้หลักการวิศวกรสังคม
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทฤษฎี ไปใช้ในการทำงานในสถานที่จริงจากการประเมินของอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ ร้อยละ 100
เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 |
 |
554 |
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสมรรถนะครูเคมี(1,300 บาท) |
2567 |
1.เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของครูผู้สอนแก่นักศึกษา
2.เพื่อส่งเสริมเจตคติที่ดีทางด้านความเป็นครู
3.เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 |
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 49 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1300 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1300/3 = 49 26.53 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
555 |
กิจกรรมที่ 26 ศึกษาดูงานสำหรับนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี(5,600 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานประกอบการฃ
2.เพื่อให้นักศึกษาได้นำประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน |
- เชิงปริมาณ
นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาเเต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิเเห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา
สามารถดำเนินโครงการตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 307,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 307,000/289 =1062.28 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
556 |
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเสริมสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์(16,300 บาท) |
2567 |
ด้วยสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา มีความต้องการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเสริมสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ ให้กับนักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา เพื่อ ให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 และเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ให้กับนักศึกษาเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี สำหรับครูคอมพิวเตอร์ ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ทั้ง 3 ชั้น ปี ทั้งนี้เพื่อนักศึกษาจะได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันในในด้านต่าง ๆ ได้เหมาะสม |
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 85 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,300 /85 = 191.76 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
557 |
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการเรียนรู้สำหรับครูฟิสิกส์(4,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน |
5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้องกว่าร้อยละ 30
5.2 เชิงคูณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เวร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุรต่อหน่วยกิจกรรม 4000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,000/30-133.33 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
558 |
กิจกรรมที่ 29 อบรมพัฒนาทักษะสู่การสอบใบประกอบวิชาชีพครู(8,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของครูผู้สอนแก่นักศึกษา
2.2 เพื่อส่งเสริมเจตคติที่ดีทางด้านความเป็นครู
2.3 เพื่อส่งเสริมการเข้าสู่อาชีพของนักศึกษา
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 จำนวน 82 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับดีขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,000/82 = 97.56 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 17 |
 |
559 |
กิจกรรมที่ 30 สัมมนาเรื่อง การพัฒนาประสบการณ์วิชาการและวิชาชีพเพื่อก้าวสู่วัยทำงานแก่นักศึกษา(45,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาได้ทราบข้อมูลสำคัญ และเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาชีพ
2 เพื่อให้นักศึกษาได้เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ
3 เพื่อให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเองในการก้าวสู่โลกของการทำงาน
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 331 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ประสบการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในเรื่องการสมัครงาน
การสัมภาษณ์งานและการพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมั่นใจเดินหน้าสู่อาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,000/331 = 135.96 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
560 |
กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการค่ายผู้นำนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(52,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องบทบาทหน้าที่ของผู้นำนักศึกษา
2 เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้นำนักศึกษาในการดำเนินกิจกรรมในปีการศึกษา 2567
3 เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องระบบประกันคุณภาพและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
|
เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 34 คนเข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 52,400 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 52,400 /34 = 1,541.17 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
561 |
กิจกรรมที่ 32 สัมมนานักศึกษาใหม่ 2567 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(57,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาทราบแนวปฏิบัติด้านวิชาการ ด้านกิจกรรมนักศึกษา รวมทั้งข้อมูลสวัสดิการต่าง ๆ
2 เพื่อชี้แนะแนวทางการเรียน และการใช้ชีวิตนักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3 เพื่อให้นักศึกษามีสัมพันธภาพและทัศนคติที่ดีต่อคณะฯ และบุคลากรของคณะฯ เกิดความคุ้นเคยและเกิดความรู้สึกเป็นกันเอง
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการทราบแนวปฏิบัติด้านวิชาการ ด้านกิจกรรมนักศึกษา รวมทั้ง
ข้อมูลสวัสดิการต่าง ๆ สัมพันธภาพและทัศนคติที่ดีต่อคณะฯ และบุคลากรของ
คณะฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 57,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 57,000/450 = 126.66 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
562 |
กิจกรรมที่ 33 สร้างความร่วมมือด้านพัฒนานักศึกษากับหน่วยงานต่างสถาบัน(50,000 บาท) |
2567 |
1 ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา
2 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น
3 เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับหน่วยงานภายนอก
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 6 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.1 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
1.3 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 50,000 บาท
1.4 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 50,000/6 = 8333.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
563 |
กิจกรรมที่ 35 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการ(50,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการและอาคารเรียนรวม
2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการอาคารเรียนรวม
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 350 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1. อัตราคงอยู่ของนักศึกษาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
2. คะแนนการประเมินองค์ประกอบที่ 1.5 ของคณะไม่ต่ำกว่า 4 คะแนน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 50,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 50,000/350 = 142.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
564 |
กิจกรรมที่ 36 สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมระหว่างสถาบัน(65,400 บาท) |
2567 |
1.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านกิจกรรมนักศึกษาระหว่างสถาบัน
2.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาระหว่างสถาบัน
3.เพื่อให้สโมสรนักศึกษาจัดกิจกรรมสอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 16 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 87,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 87,800/16 = 5,487.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
565 |
กิจกรรมที่ 37 มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี "Science and Tech Festival 2024"(42,500 บาท) |
2567 |
1 ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติทั้ง 5 ประการแก่นักศึกษา และครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาอย่างน้อยสะท้อนผลลัพธ์ผู้เรียน
2 ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษาในด้านทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3 เพื่อเสริมสร้างทักษะภาษาต่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพทางภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษา
4 ส่งเสริมให้อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมแข่งขันทำอาหารและขนมไทย
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 1,000 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 42,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 42,500/1,000 = 42.50 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
566 |
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ "ประเมินผลปฏิบัติงานประจำปีปรับแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ"(16,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอนและการบริหารงานของคณะฯให้เป็นไปตามพันธกิจ
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.4 เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพียงพอและเหมาะสม
2.5 เพื่อนำผลการปฏิบัติงานประจำปีมาปรับแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ
|
5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 117 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลากำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,380 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,380/117 = 140 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
567 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการวัดและประเมินผล(38,100 บาท) |
2567 |
1. มีความรู้ความเข้าใจหลักการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
2. สามารถสร้างและใช้เครื่องมือแบบต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถใช้ข้อมูลที่ได้จากการวัดผลประเมินผลในการพัฒนาผู้เรียนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และการสร้างเครื่องมือวัดผลแบบต่าง ๆ ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 38,100 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 38,100/60 = 635 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
568 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาเครือข่ายความร่วมมือ 7 สถาบัน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(52,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อดำเนินงานและบริหารจัดการเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารและการจัดการเรียนการสอน
2. เพื่อสร้างความร่วมมือและสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถานบันศึกษาภายนอกด้านการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและด้านประกันคุณภาพ
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 42 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 52,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 52,200/42 = 1,242.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
569 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมการพัฒนาห้องปฏิบัติการและการเขียนเอกสารตามมาตรฐาน ISO 17025 ครั้งที่ 2(27,900 บาท) |
2567 |
1. เพื่อดำเนินการบริหารจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติ
2. เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้มีขีดความสามารถและคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 17025
3. ปรังปรุงระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 17025
4. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำจากหน่วยงานภายในและภายนอก
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการการพัฒนาห้องปฏิบัติการและการเขียนเอกสารตามมาตรฐาน ISO 17025 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,900/15 = 1,860 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
570 |
กิจกรรมที่ 6 สัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์มุ่งสู่การจัดการเรียนรู้(27,800 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้อาจารย์และบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้
2.2 เพื่อให้อาจารย์มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ มีแนวคิดด้านการจัดการความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,720 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,720/80 = 346.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
571 |
กิจกรรมที่ 2 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 คณะเทคโนโลยีการเกษตร(71,800 บาท) |
2567 |
เพื่อให้การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร สะท้อนผลการจัดการศึกษาและสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมในเรื่องของคุณภาพบัณฑิตและผู้เรียน |
1 เชิงปริมาณ หลักสูตรได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จำนวน 4 หลักสูตร
2 เชิงคุณภาพ หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อยู่ในระดับดี
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 68,820 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,820/48 = 1,433.75 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
572 |
กิจกรรมที่ 1 ศึกษาดูงานในรายวิชาของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร(20,000 บาท) |
2567 |
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นไปตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย |
- เชิงปริมาณ
นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/461 = 43.38 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
573 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างแรงบันดาลใจและทักษะการสร้างนวัตกรรมชุมชน(4,900 บาท) |
2567 |
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจทางด้านนวัตกรรมให้กับนักศึกษา |
1 เชิงปริมาณ.
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
(1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
(2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านนวัตกรรมชุมชนเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
(3) นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,900 /80 = 61.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
574 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเรื่อง Post Training "เตรียมความพร้อมสู่การทำงานอย่างมืออาชีพ"(1,800 บาท) |
2567 |
เพื่อแนะแนวความรู้และประสบการณ์ให้กับนักศึกษา ชั้นปีที่ 4 ก่อนสำเร็จการศึกษา |
1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
(1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
(2) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีประวัติเพื่อใช้สมัครงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
(3) นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,800 /80 = 22.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
575 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีการเกษตร(12,600 บาท) |
2567 |
เพื่อพัฒนาและเพิ่มเติมองค์ความรู้ให้กับศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีการเกษตร |
1 เชิงปริมาณ
ศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
(1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
(2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,600 /30 = 420 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
576 |
กิจกรรมที่ 5 แข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ(153,000 บาท) |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 3 รางวัล
5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ(TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 153,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 153,000/22 = 6,954.55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
577 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประยุกต์ใช้ IOT สำหรับเทคโนโลยีการเกษตรอัจฉริยะ(8,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ IOT ในการควบคุมและบังคับอากาศยานไร้คนขับ (Drone) เพื่อการเกษตรได้
2. เพื่อนักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ IOT ในการจัดการฟาร์มเกษตรอัจฉริยะได้
|
- เชิงปริมาณ
นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 28 คน เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/กิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,100/28 = 289.29 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
578 |
กิจกรรมที่ 7 เสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์อาหาร(10,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การผลิต การจำหน่ายและการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์อาหารแบบครบวงจร
2 เพื่อพัฒนานักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการในศตวรรษที่ 21
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาปี 1-3 หลักสูตร ทล.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการผลิตภัณฑ์อาหารเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย 35 คน ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ :
- นักศึกษาได้องค์ความรู้และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,000/ 36 = 277.78 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
579 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้เครื่องจักรกลการเกษตรอัจฉริยะ(9,100 บาท) |
2567 |
1 เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ด้านเกษตร เทคโนโลยีดิจิตอล เทคโนโลยีการเกษตร
2 เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะสำหรับนักศึกษาในด้านการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครง จำนวน 62 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการตอบแบบสอบถามได้ตามเกณฑ์ผลลัพธ์การเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 9,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 9,100/67 = 135.82 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
580 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การตัดแต่งซากโคแบบสากล(9,100 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการตัดแต่งซากโค
2 เพื่อพัฒนานักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการ
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตสัตว์จำนวน 32 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 9,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 9,100/32 = 284.38 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
581 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามแนวทาง AUN-QA และการจัดทำ มคอ.3 ตามหลัก Outcome-Based Education (OBE)(6,400 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจหลักการประเมินผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกแบบวิธีการประเมินผู้เรียนตามแนวทาง AUN-QA
3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำเอกสาร มคอ.3 ตามแนวทาง Outcome-Based Education (OBE)
|
1 เชิงปริมาณ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ จำนวน 28 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,240 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,240/28 = 222.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
582 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่แนวปฏิบัติที่ดี(77,200 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแนวปฏิบัติที่ดีขององค์กร
2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีภายในองค์กร
|
- เชิงปริมาณ อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา ได้ดำเนินโครงการเสร็จตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 77,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 77,200/38 = 2,031.58 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
583 |
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศนักศึกษาภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2567(41,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้รับความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
|
1.เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และทีมสโมสรนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 315 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ :
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 นักศึกษาได้ความรู้และความเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น รู้จักสถานที่ รู้จักบุคคล และเรียนรู้ระเบียบวินัยเพื่อการปรับตัวในการใช้ชีวิตในคณะ/หลักสูตร และมหาวิทยาลัย อย่างน้อยร้อยละ 70
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 41,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 41,800/315 = 132.70 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
584 |
กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจากมุมมองต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานทั้งในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 208 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
๒. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,050 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
 |
585 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า(10,000 บาท) |
2567 |
1. ให้ความรู้และพัฒนาทักษะเพื่อนำไปใช้สำหรับการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า
2. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายศิษย์เก่า
|
1. เชิงปริมาณ ศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,500/15 = 366.67 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
586 |
กิจกรรมที่ 4 ประกวดโครงงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(68,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน
2. เพื่อบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และพัฒนาต่อยอดสู่การแก้ปัญหาให้ชุมชน หรือท้องถิ่นได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน
|
1. เชิงปริมาณ
1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 3-4 ภาคปกติ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. โครงงานที่ส่งประกวด อย่างน้อย 9 ชิ้นงาน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สามารถสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 68,000 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,0๐๐/20 = 3,400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
587 |
กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(48,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานที่ที่ศึกษาดูงาน
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรต่าง ๆ กับมหาวิทยาลัย
3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาประสบการณ์ในเรื่องระบบการทำงานขององค์กรต่าง ๆ ด้านอุตสาหกรรม และเทคโนโลยี
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 139 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้ความรู้และประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนจากการศึกษาดูงาน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2.2 นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 48,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 48,800/139 = 351.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
588 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมทักษะความเป็นเลิศของนักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติกส์ในศตวรรษที่ 21(33,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้และพัฒนาทักษะทางวิชาชีพที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์และการทำงานเป็นทีม
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ภาคปกติ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม-โลจิสติกส์ จำนวน 140 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 นักศึกษาได้รับความรู้จากศิษย์เก่าหรือสถานประกอบการ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการทำงานในอนาคต อย่างน้อยร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ๓2,89๐ บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ๓2,89๐/๑๔๐ = 234.93 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
589 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติและการใช้โปรแกรมสำหรับวิเคราะห์งานนักศึกษาหลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิตในศตวรรษที่ 21(60,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมทักษะวิชาชีพเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
2. เพื่อพัฒนาวิชาชีพการผลิตบัณฑิตตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 หลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิต จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมต่าง ๆ เพื่อการปฏิบัติและทำงานในด้านเทคโนโลยีการผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 51,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 51,900/25 = 2,076 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
590 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอน(14,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2. เพื่อให้คนในองค์กรมีเจตคติที่ดีในการแบ่งปันความรู้และเผยแพร่ผลงานให้บุคคลทั่วไปได้ทราบ
3. ได้องค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีด้านวิจัย และการเรียนการสอน
|
1. เชิงปริมาณ ผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 35 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแผนจัดการความรู้ด้านวิจัยและการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 แผน
2.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแนวปฏิบัติที่ดีจากการถ่ายทอดองค์ความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน
2.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,800 บาท
2.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,800/35 = 422.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
 |
591 |
กิจกรรมที่ 3 ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(15,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า
2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับอาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า
|
1. เชิงปริมาณ : อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการยกย่องและเชิดชูเกียรติ อย่างน้อย 7 รางวัล อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการยกย่องและเชิดชูเกียรติอย่างเหมาะสม มีความพึงพอใจ มีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน มีความภาคภูมิใจ และเป็นแบบอย่างที่ดีในวิชาชีพร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
592 |
กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568(192,500 บาท) |
2567 |
1 เพื่อทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี
(พ.ศ. 2566 - 2570) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ฉบับปรับปรุงระยะครึ่งแผน) และฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในการทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ฉบับปรับปรุงระยะครึ่งแผน) และฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 เพื่อวางแนวทางในการพัฒนาการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
4 เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาครั้งที่ 3 / 2567
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 65 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
: มหาวิทยาลัยมีแผนยุทธศาสตร์ที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม จำนวน 1 ฉบับ
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการร่วมทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 279,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 279,300/65 = 4,296.92 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
593 |
ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 และแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 |
2567 |
1 เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดีให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและแผนกลยุทธ์ทางการเงินของมหาวิทยาลัย
2 เพื่อให้หน่วยงานภายในสำนักงานอธิการบดีนำแผนยุทธศาสตร์ไปเป็นกรอบในการดำเนินงานและทำให้บรรลุวิสัยทัศน์ของสำนักงานอธิการบดีที่กำหนดไว้
3 เพื่อบุคลากรของสำนักงานอธิการบดีมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดี
4 เพื่อให้สำนักงานอธิการบดีมีแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดีระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2670)
ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 และแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
: มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 1 แผ่น
: แผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ของมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 1 แผน
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 6,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 6,300 /50 = 126 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 16 |
 |
594 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การกำหนดราคากลางงานก่อสร้างของราชการและการใช้ค่า K(52,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการทำราคากลางงานก่อสร้างของราชการ
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจเรื่องงานหลักเกณฑ์ราคากลางงานก่อสร้างของราชการและการใช้
ค่า K สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ราคากลางงานก่อสร้างของราชการและการใช้ค่า K ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 19,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 19,000 / 100 = 190 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
595 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน(60,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้หน่วยงานเกิดการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตกในสถานการณ์ฉุกเฉิน
2. เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
3. ดำเนินการตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
|
- เชิงปริมาณ
บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับความรู้ความเข้าใจ เกิดการตระหนักและมีความพร้อมสามารถระงับเหตุ รวมทั้งช่วยเหลือตนเองได้อย่างปลอดภัย เมื่อเกิดอัคคีภัยอย่างมีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 60,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 60,500/60 = 1,008.33 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
596 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้งานระบบผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์(76,000 บาท) |
2567 |
1.ส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานทดแทนตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ
2.ส่งเสริมให้บุคลากร นักศึกษาและประชาชนได้เข้าถึงการใช้พลังงานทดแทน
3.ขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน SDGs
4.ขับเคลื่อนเพื่อการเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว |
เชิงปริมาณ บุคลการ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับความเข้าใจสามารถเข้าร่วมกันดำเนินโครงการและนำไปสู่ องค์กรที่มีประสิทธิภาพด้านการอนุรักษ์พลังงาน และการใช้ทรัพยากรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 6 |
 |
597 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างผลงานทางวิชาการด้านรับใช้ท้องถิ่นและสังคม(74,800 บาท) |
2567 |
- เพื่อให้บุคลากรสายวิชาการมีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างผลงานทางวิชาการด้านรับใช้ท้องถิ่นและสังคม
- เพื่อให้บุคลากรสายวิชาการสามารถเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เขาร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการผลิตผลงานทางวิชาการ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ได้จริง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 |
 |
598 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเรื่อง การจัดซื้อจ้ดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐให้สามารถนำไปปฏิบัติงานได้จริง(66,200 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่องการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับทราบหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติ
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับทราบแนวทางปฏิบัติ
4. เพื่อสร้างทำความเข้าใจและไขข้อข้องใจในแนวทางปฏิบัติ
|
- เชิงปริมาณ
1) บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุจากทุกหน่วยงาน จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้สนใจจากหน่วยงาน องค์กรภายนอก จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุจากทุกหน่วยงาน มีทักษะการปฏิบัติงานด้านพัสดุไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้สนใจจากหน่วยงาน องค์กรภายนอก ได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการอบรมด้านพัสดุไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 65,880 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 65,880/120 = 549 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
599 |
กิจกรรมที่ 12 อบรมเรื่อง การเสริมสร้างทักษะและเพิ่มประสิทธิภาพเกี่ยวกับระเบียบการเงินการคลัง(36,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติด้านการเงินการคลัง
2.เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทัศนคติและประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหารทุกระดับ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเงินการคลังภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
จำนวน 140 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้บริหารทุกระดับ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเงินการคลังภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 |
 |
600 |
กิจกรรมที่ 13 บรรยายพิเศษ เรื่อง ธรรมาภิบาลกับการบริหารมหาวิทยาลัย ยุคใหม่และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 12/2566 และประชุมทบทวนแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (138,150 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้บุคลากรในระดับผู้บริหารมีความเข้าใจหลักแห่งธรรมาภิบาลและสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและองค์กรเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้โดยมีหลักธรรมาภิบาลกับการบริหาร
3. เพื่อความเป็นหนึ่งเดียวตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
4. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาครั้งที่ 12/2566
5. เพื่อประชุมทบทวนแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจหลักแห่งธรรมาภิบาล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 121,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 121,000 บาท/42 = 2,880.95 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 16 |
 |
601 |
กิจกรรมที่ 16 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น(407,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อประชุมคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการสภาวิชาการ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการ
เพื่อระดมความคิดเห็น เรื่อง “ทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น”
2. เพื่อนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
3. เพื่อจัดประชุมสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 4/2567
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 93 คน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวคิด เรื่อง “ทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” จำนวน 1 เรื่อง
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 664,280 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 664,280/93 = 7,142.79 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
602 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง รู้เท่าทันการทุจริตคอร์รัปชัน(26,400 บาท) |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชันและโทษของการทุจริตคอร์รัปชัน |
1. เชิงปริมาณ 1) นักศึกษา จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชั่นและโทษของ
การทุจริตคอร์รัปชั่นไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดกิจกรรมรณรงค์ต้านทุจริตคอร์รัปชันได้อย่างน้อย 1 กิจกรรม
3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมิน
เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,575 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,575 /100 = 75.75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
603 |
กิจกรรมที่ 19 จัดงานพัฒนาศักยภาพสู่เส้นทางอาชีพ ประจำปีการศึกษา 2566(145,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทราบและเข้าใจทิศทางตลาดแรงในอนาคต
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการเงินเพื่ออนาคตก่อนออกสู่ตลาดแรงงาน
3. เพื่อแสดงความยินดีกับนักศึกษาที่จะสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566 |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566 จำนวน 1,200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจทิศทางตลาดแรงงาน ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการเงินเพื่ออนาคต ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
604 |
กิจกรรมที่ 21 จัดงานแสดงดนตรีในสวน H.M. Song อว. บรรเลงเพลงของพ่อ(89,960 บาท) |
2567 |
1 เพื่อแสดงความจงรักภักดีและน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
2 เพื่อเผยแพร่พระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
|
1. เชิงปริมาณ บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบพระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพด้านดนตรี ในพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 89,960บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 89,960/300 = 299.87 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
605 |
กิจกรรมที่ 23 จัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา(70,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา
2 เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ร่วมเฉลิมพระเกียรติและแสดงออกถึงความจงรักภักดีแด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบมราชินี
|
1 เชิงปริมาณ : บุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 70,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 70,000/200 = 350 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
606 |
กิจกรรมที่ 27 พัฒนานักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567(5,353,800 บาท) |
2567 |
การเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาส่งผลให้นักศึกษาส่วนใหญ่ต้องจากบ้าน ครอบครัว ชุมชน เข้ามาใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย ถือเป็นก้าวที่สำคัญของชีวิตนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาต้องพบกับสภาพแวดล้อมใหม่ที่มีความแตกต่างไปจากการศึกษาระดับมัธยม กระแสสังคมหรือค่านิยมของสังคมปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว กลุ่มเพื่อนที่มีความหลากหลาย พื้นฐานด้านครอบครัว สังคม นอกจากนี้การดำเนินชีวิตจากระบบการเรียนแบบมัธยมศึกษา ซึ่งมีพ่อ แม่ ครูอาจารย์ ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด แต่เมื่อเข้ามาสู่การเรียนในระบบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาจะต้องรับผิดชอบตนเอง ต้องพบกับการเรียนที่มีความเข้มข้นและมีความซับซ้อนของเนื้อหามากขึ้น นอกจากนี้การดำเนินชีวิตที่ค่อนข้างอิสระ มีเสรีภาพเต็มที่ ก็อาจส่งผลให้นักศึกษาปรับตัวได้ยากลำบากในการเข้าเรียนในระยะแรก หากนักศึกษาไม่มีทักษะชีวิต หรือการเตรียมความพร้อมที่ดีเพียงพออาจทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้ |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 2,950 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ 1) นักศึกษาใหม่ได้ร่วมกันทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาใหม่ได้ทราบกฎ ระเบียบ แนวทางการเรียนทั้งวิชาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร และสามารถนำไปปรับใช้ได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3) นักศึกษาใหม่ มีความรู้และทักษะในการเป็นวิศวกรสังคมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
607 |
กิจกรรมที่ 26 ประชุมจัดทำแผนพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568(3,200 บาท) |
2567 |
เพื่อจัดทำแผนพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 |
1 เชิงปริมาณ 1) ผู้บริหาร บุคลากรกองพัฒนานักศึกษา และนักศึกษา จำนวน 22 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) มีแผนพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน จำนวน 1 แผน
2 เชิงคุณภาพ องค์กรกิจกรรมนักศึกษา คณะ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถนำแผนพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ. 2566 – 2570 ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
608 |
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาแกนนำสุขภาพ(37,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แกนนำสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตอาสาช่วยเหลือกิจกรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้และทักษะด้านการปฐมพยาบาลไปช่วยงานกิจกรรมของมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 37,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 37,200 /80 = 465 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
609 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน7(2,900 บาท) |
2567 |
เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน |
1 เชิงปริมาณ : เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 21 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : สามารถจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของสำนักส่งเสริมวิชากรและงานทะเบียน เสร็จสิ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ตามวัน เวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
610 |
กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (SKRU OPEN HOUSE) ประจำปีการศึกษา 2567(263,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567
2. เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาให้กับนักเรียนได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักสูตร คณะ การจัดการเรียนการสอนและการรับสมัครนักศึกษา เป็นแนวทางในการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
3. เพื่อสร้างเครือข่ายครูแนะแนวระหว่างโรงเรียนกับมหาวิทยาลัย |
- เชิงปริมาณ : - นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว จำนวน 2,000 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - นักเรียน นักศึกษา สมัครสอบและเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
เป็นไปตามจำนวนแผนรับและคุณสมบัติการรับสมัครนักศึกษาของหลักสูตรและมหาวิทยาลัยกำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักเรียน นักศึกษา ครู/อาจารย์แนะแนว จากโรงเรียนมัธยมศึกษา หรือวิทยาลัยอาชีวศึกษา ได้รับทราบข้อมูลการประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 263,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 263,800/2,000 = 131.90 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
611 |
กิจกรรมที่ 7 ประชุมเตรียมความพร้อมด้านวิชาการและงานทะเบียน สำหรับผู้ปกครอง ประจำปีการศึกษา 2567(4,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศต่า ๆ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย
2. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ทุกคนมีการปรับตัวในการเรียนรู้การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย และสามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ต่างสถาบัน ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีซึ่งกันและกัน |
-เชิงปริมาณ : นักศึกษาใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระดับปริญญาตรี ที่เข้าศึกษาปีการศึกษา 2567 และผู้ปกครอง เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากจำนวน 6,200 บาท
-เชิงคุณภาพ : ผู้ปกครองและนักศึกษาใหม่ มีความรู้ ความเข้าใจด้านวิชาการและงานทะเบียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
-เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 4,400 บาท
-ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 4,400/6,200 = 0.70 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
612 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนสำหรับอาจารย์ผู้สอน(86,100 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจด้านวิชาการและเทคนิคการสอน ในรูปแบบต่างๆ
2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนให้อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา
3 เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพและทักษะการสอนของอาจารย์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4 เพื่อเพิ่มทักษะระดมความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
|
- เชิงปริมาณ : อาจารย์ จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : อาจารย์สามารถนำความรู้ เทคนิคไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
613 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ (KM) ปีการศึกษา 2566(32,300 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการจัดการความรู้ (KM)
2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ทั่วทั้งมหาวิทยาลัยอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร
|
- เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัย จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ หน่วยงานมีแผนการจัดการความรู้ (KM) ครบถ้วนถูกต้องตามที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,480 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,480/120 = 195.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
614 |
กิจกรรมที่ 11 ประกวดแนวปฏิบัติที่ดี(49,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ เพื่อนำไปสู่การค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี
3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานจัดการความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นระบบและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหน่วยงานอย่างยั่งยืน
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : มหาวิทยาลัยมีองค์ความรู้/แนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย และการพัฒนางาน ไม่น้อยกว่า 1 ด้าน
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 49,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 49,000/120 = 408.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
615 |
กิจกรรมที่ 12 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2566 ระดับหลักสูตร(3,600 บาท) |
2567 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566 ระดับหลักสูตร |
- เชิงปริมาณ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 230 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. หลักสูตร มี (ร่าง) รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระดับหลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 จำนวน 1 เล่ม
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566 ระดับหลักสูตร อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 3,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 3,600/286 = 12.59 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
616 |
กิจกรรมที่ 15 อบรมผู้ประเมิน AUN QA Assessor training(91,800 บาท) |
2567 |
1. ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการสำคัญของระบบ AUN-QA และความสอดคล้องของ OBE กับเกณฑ์ AUN-QA ผู้เข้าอบรมสามารถเตรียมการ
2. ประเมินและทำการประเมินหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA และหลักการ PDCA
3.ผู้เข้าอบรมสามารถให้ข้อมูลป้อนกลับตัดสินผลการประเมินและเขียนรายงานการประเมินแก่หลักสูตรที่รับการประเมินได้
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าอบรมผ่านการอบรมผู้ประเมิน AUN QA Assessor training ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 187,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 187,200/40 = 4,680 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
617 |
กิจกรรมที่ 17 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสำนัก/สถาบัน ปีการศึกษา 2566(86,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2562 และกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
2 เพื่อตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานของสำนัก/สถาบัน
3 เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
|
1 เชิงปริมาณ : สำนัก/สถาบัน ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จำนวน 5 สำนัก/สถาบัน
2 เชิงคุณภาพ : สำนัก/สถาบัน มีโครงร่างองค์กร และแผนพัฒนาคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 63,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 63,500/82 = 774.39 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
618 |
กิจกรรมที่ 21 ปฐมนิเทศนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา(82,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยและสถานประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับงานตามความรู้ ความสามารถ อีกทั้งสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้ศึกษามาใช้ในการปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาได้
4. เพื่อให้นักศึกษามีความมั่นใจในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา |
- เชิงปริมาณ นักศึกษาจำนวน 1,300 คน เข้าร่วมโครงการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ คาดว่านักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- เชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 23,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,100/1,300 = 17.77 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
619 |
กิจกรรมที่ 24 ประกวดผลงานนักศึกษาสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานระดับมหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2567(79,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้ การคิดค้น การพัฒนาผลงานสหกิจศึกษา และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการดำเนินงานสหกิจศึกษา
2. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ ยกย่อง ชมเชยหน่วยงานหรือสถานประกอบการสหกิจศึกษา และนักศึกษาผู้นำเสนอการประกวดผลงานสหกิจศึกษา
3. เพื่อเป็นเวทีให้นักศึกษานำเสนอและเผยแพร่ผลงานสหกิจศึกษา ตลอดจนแสดงศักยภาพของนักศึกษาสหกิจศึกษา |
- เชิงปริมาณ : - นักศึกษาสหกิจศึกษาเข้าร่วมการโครงการ จำนวน 160 คน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาสหกิจศึกษาร่วมส่งผลงานเข้าประกวด ไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน
- มหาวิทยาลัยสามารถส่งผลงานนักศึกษาสหกิจศึกษาที่มีคุณภาพแต่ละด้าน
เข้าร่วมการประกวดผลงานสหกิจศึกษาฯ ระดับเครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานภาคใต้ตอนล่าง ไม่น้อยกว่า 6 ผลงาน
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ แนวคิดและทักษะการนำเสนอผลงานสหกิจศึกษา ถ่ายทอดประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และมีผลงานสหกิจศึกษานำเสนออย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากความพึงพอใจของนักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมนำเสนอผลงานทั้งหมด
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 79,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 79,000/160 = 493.75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
620 |
กิจกรรมที่ 25 ปัจฉิมนิเทศและสัมมนาเรื่อง การเสริมสร้างศักยภาพนักศึกษาสหกิจศึกษาสู่โลกแห่งการทำงาน(76,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและทักษะการทำงานที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาสหกิจศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาสหกิจศึกษาสามารถเรียนรู้และปรับตัวสู่การทำงานจริงได้ทันทีหลังจากสำเร็จการศึกษา
|
- เชิงปริมาณ : - นักศึกษาสหกิจศึกษา จำนวน 570 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม หรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : - สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 76,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 76,600/570 = 134.38 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
621 |
กิจกรรมที่ 26 สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานสถานประกอบการร่วมดำเนินงานสหกิจศึกษาบูรณาการกับการทำงาน(47,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อแนะนำและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการร่วมจัดการเรียนการสอนระบบสหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงาน
2. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานสหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงานกับหน่วยงานและสถานประกอบการ
3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านสหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงานกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
4. เพื่อสร้างการรับรู้และเผยแพร่ผลงานและการดำเนินงานสหกิจศึกษาและบูรณาการกับการทำงานของมหาวิทยาลัย
|
- เชิงปริมาณ : - ผู้บริหารหน่วยงาน หัวหน้าฝ่ายงานจากหน่วยงาน/สถานประกอบการสหกิจศึกษาในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ จำนวน 195 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ลงทะเบียนรายวิชาการเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา จำนวน 800 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- หน่วยงาน/สถานประกอบการสหกิจศึกษาร่วมกิจกรรมออกบูธ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน
- เชิงคุณภาพ : หน่วยงาน/สถานประกอบการผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิง
บูรณาการกับการทำงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 และมี
ความพึงพอใจ ต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,800/995 = 48.04 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
622 |
กิจกรรมที่ 27 งานราชภัฏสงขลาวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2567(1,135,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อจัดแสดงนิทรรศการผลงานนวัตกรรมของคณาจารย์และนักศึกษา
2. เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด องค์ความรู้ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการแก่ผู้เข้าร่วมงาน
3. เพื่อจัดการประกวด แข่งขัน ทักษะ เสวนากิจกรรมทางวิชาการของคณะและหลักสูตร
4. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการและชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยสู่สังคมภายนอก
|
- เชิงปริมาณ : - อาจารย์ นักศึกษา/บุคลากรและบุคคลภายนอก เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 1,000 คน
- จัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม
- หน่วยงานเอกชน/ราชการ และองค์กรภายนอกสนใจเข้าร่วมออกบูธ/จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยงาน
- คณะและหลักสูตร สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมการประกวด แข่งขันทักษะ ตอบปัญหาทางวิชาการ อบรม/สัมมนา นิทรรศการทางวิชาการ และกิจกรรมการแสดงบนเวที ไม่น้อยกว่า 20 กิจกรรม
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีความรู้ความเข้าใจ มีส่วนร่วมและสามารถจัดกิจกรรมทางวิชาการได้
- นักเรียน ครูอาจารย์ และผู้เข้าร่วมงาน มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,135,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,135,000/1,000 = 1,135 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
623 |
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาองค์ความรู้บุคลากรสายวิชาการด้านการวิจัยและการเรียนการสอนในต่างประเทศ (1,076,400 บาท) |
2567 |
เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอนระหว่างบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลากับบุคลากรต่างประเทศ |
5.1 เชิงปริมาณ บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านการทำวิจัยและการจัดการเรียนการสอน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,076,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,076,400/15 = 71,760 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
624 |
กิจกรรมที่ 4 ARIT English Talent ประกวดแข่งขันทักษะความสามารถทางภาษาอังกฤษ(35,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาทักษะด้านการพูดภาษาอังกฤษให้แก่นักศึกษา
2. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และกระตุ้นความสนใจในการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศให้แก่นักศึกษา
ผ่านกิจกรรมประกวดความสามารถทางภาษาอังกฤษ
|
เชิงปริมาณ
ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
625 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนองานวิชาการและงานวิจัยในระดับนานาชาติ(33,600 บาท) |
2567 |
เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้แก่บุคลากรสายวิชาการในการนำเสนองานวิชาการและงานวิจัยในระดับนานาชาติ |
1 เชิงปริมาณ: ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา: สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 29,620 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: 29,620 /40 = 740.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
626 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเกณฑ์การพัฒนาสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว : เพื่อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ(10,800 บาท) |
2567 |
1 เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้แก่ผู้บริหารและบุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงพนักงานจ้างเหมาบริการและพนักงานภูมิทัศน์ เกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว
2 เพื่อเป็นแนวทางดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 32 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลา
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,640 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 10,640/32 = 332.50 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
627 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมการจัดการขยะด้วยวิธีการ 3R (Reduce Reuse Recycle)(10,800 บาท) |
2567 |
2.1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะด้วยวิธี 3R
2.2. เพื่อเป็นแนวทางการจัดการขยะ
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร บุคลากรสำนักวิทยบริการ รวมถึงพนักงานจ้างเหมาบริการ และพนักงาน
ภูมิทัศน์ จำนวน 32 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลา
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,780 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 10,780/32 = 336.88 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
628 |
กิจกรรมที่ 14 การประกวด Speech Contest ห้องสมุดมนุษย์(7,500 บาท) |
2567 |
2.1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และกระตุ้นความสนใจในการพัฒนาทักษะการพูดให้แก่นักศึกษาผ่าน กิจกรรมการประกวด
2.2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 20 คน เข้าร่วมประกวดในโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,500/20 = 375 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
629 |
กิจกรรมที่ 15 ARIT Talent ประกวดคลิปวิดีโอแนะนำห้องสมุดมุมที่ใช่ หนังสือที่ชอบ(7,500 บาท) |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมการใช้ห้องสมุด
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการส่งผลงานไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน และเข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,500 /100= 75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
630 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเรียนรู้สื่อสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และแข่งขันสร้าง Book to Board game หนังสือเล่มโปรดสู่บอร์ดเกมส์เพื่อการเรียนรู้(17,700 บาท) |
2567 |
2.1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาผ่านการสื่อสารการเรียนรู้ที่หลากหลาย
2.2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถผลิตบอร์ดเกมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ทุกคณะ ทุกชั้นปีจำนวน 20 คน เข้าร่วม โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างบอร์ดเกม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลา
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 17,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 17,700/70 = 253 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
631 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้นการเขียนบรรณานุกรม และการสอบ การคัดลอกผลงานทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ(9,200 บาท) |
2567 |
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการทำผลงานทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ |
- เชิงปริมาณ : บุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 9,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: 9,200/30 = 306.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
632 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเสริมสร้างทักษะในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567(63,600 บาท) |
2567 |
เพื่อให้ผู้บริหาร อาจารย์ และบุคลากร มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน |
- เชิงปริมาณ 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 130 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 15 หน่วยงาน มีร่างแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน
หน่วยงานละ 1 แผน รวม 15 แผน
- เชิงคุณภาพ 1. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงโดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม ร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 62,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 62,800/130 = 483.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
633 |
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนแผนประจำปีและระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ(4,500 บาท) |
2567 |
1 เพื่อรับฟังแนวคิดของผู้บริหารและบุคลากรเกี่ยวกับระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ
2 เพื่อรับฟังแนวคิดจากผู้มีส่วนได้เสียซึ่งเป็นบุคคลภายนอกหน่วยงาน
3 เพื่อนำข้อคิดเห็นจากการระดมความคิดเห็น มาปรับปรุงและวางแผนกลยุทธ์ในการดำเนินงาน
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานและแผนประจำปีของระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 1 แผน
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,500 /25 = 180 บาท /คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
634 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินจากการทำงานในห้องปฏิบัติการ(20,200 บาท) |
2567 |
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของการโต้ตอบสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดจากการทำงานในห้องปฏิบัติการ
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้วิธีการปฏิบัติตัวเมื่อได้รับเหตุอันตรายและลดความสูญเสียที่ร้ายแรง
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 35 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีผลการทดสอบความรู้เป็นที่พอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 19,550 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 19,550 /35 = 558.57 บาท /คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
635 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)(30,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการวิจัย โครงการบริการวิชาการ และโครงการอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้
|
- เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน
เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม
จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 151,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 151,500/120 = 1,262.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 17 |
 |
636 |
กิจกรรมที่ 8 จัดงานน้อมรำลึกพระคุณครูครุศาสตร์(คคศ.)(141,100 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาเชิดชูเกียรติและระลึกถึงพระคุณครูอาจารย์
2.2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม และตระหนักในความสำคัญของวิชาชีพครู
2.3 เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและประพฤติปฏิบัติตนให้สมกับที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นปูชนียบุคคล
2.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF
2.5 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะทางปัญญา และทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 คณะครุศาสตร์ จำนวน 970 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 776 คน
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพครูและปฏิบัติตนได้เหมาะสม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 141,040 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 141,040/970 = 145.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
637 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการศิลปะการจับจีบผ้า และการจัดดอกไม้ในงานพิธีประเพณีนิยมต่าง ๆ (คคศ.)(70,500 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในศิลปะการจับจีบผ้าและจัดดอกไม้ในการจัดงานพิธีต่าง ๆ
2.2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม
2.3 เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะทางปัญญาในกระบวนการผูกผ้างานพิธีต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต
2.4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะการใช้ชีวิตและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.5 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน |
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 9 หลักสูตร จำนวน 150 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 120 คน
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 70,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 70,500/150 = 470 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
638 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครูในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธและอิสลาม (คคศ.)(23,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธและอิสลาม
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความสำคัญ ความเป็นมาของประเพณีรวมถึงเรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการเกี่ยวกับพิธีกรรมงานทำบุญศาสนาพุทธและอิสลาม
2.3 เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีและมีความสนิทสนมกลมเกลียวกันมากขึ้น อันก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 185 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 23,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 23,000/185 = 124.32บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 16 |
 |
639 |
กิจกรรมที่ 11 จัดงานสืบสานประเพณีวันสงกรานต์ (คคศ.)(17,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี วันสงกรานต์ของไทย
2.2 เพื่อให้บุคลากรได้เรียนรู้ความสำคัญ ความเป็นมาของประเพณีรวมถึงเรียนรู้ขั้นตอน
กระบวนการเกี่ยวกับพิธีกรรมวันสงกรานต์ของคนไทย
2.3 เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีและมีความสนิทสนมกลมเกลียวกันมากขึ้น อันก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 76 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 17,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 17,000 /76 = 223.68 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 11 |
 |
640 |
กิจกรรมที่ 12 จัดงานพัฒนาศักยภาพด้านทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมมนุษย์มดและการประกวดคลิปวีดีโอ "ชาวปักษ์ใต้" season 4 (คมส.)(97,800 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิถีชาวใต้จากการเรียนรู้ในพื้นที่จริง
2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้สร้างผลงานโดยใช้สื่อเทคโนโลยีตัดต่อเป็นคลิปวีดีโอในการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิถีชาวใต้อย่างน้อยหลักสูตรละ 1 ชิ้นงาน
2.3 เพื่อให้นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้เรียนรู้และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและวิถีชาวใต้จากคลิปวีดีโอและการจัดงานวิถีเราชาวปักษ์ใต้
2.4 เพื่อให้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีคลิปวีดีโอ
เพื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมด้านวัฒนธรรมและวิถีชาวใต้ไม่น้อยกว่า 10 ชิ้นงาน |
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ไม่น้อยกว่า 200 คน ได้เรียนรู้และ
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และการละเล่นของชาวภาคใต้จากคลิปวีดีโอและการจัดงานประกวดคลิปวีดีโอ “ชาวปักษ์ใต้” Season 4
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศตัดต่อคลิปวีดีโอเป็นชิ้นงานอย่างชัดเจน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่เข้าร่วมในวันประกาศผลรางวัลคลิปวีดีโอฯ เข้าใจและมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และการละเล่นของชาวภาคใต้เพิ่มมากขึ้น
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 97,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
641 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ตลาดนัดวัฒนธรรมท้องถิ่น By MGT (ควจ.)(63,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
3. เพื่อให้นักศึกษาร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน)
4. เพื่อบูรณาการด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์คณะโดยฝึกปฏิบัติเป็นผู้ประกอบการท้องถิ่น ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) รวมทั้งบูรณาการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 63,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 63,000 /200 = 315 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
642 |
กิจกรรมที่ 15 อบรมเรื่อง การส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ (ควจ.)(66,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์วัฒนธรรม
2. เพื่อให้ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม
3. เพื่อให้นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
|
1. เชิงปริมาณ : - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : - นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษามีจิตสำนำในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น และมีคุณลักษณะบัณฑิต
ที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์ ในระดับ 3.50
3. เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 66,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 66,100/500 = 132.20 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
643 |
กิจกรรมที่ 16 สัมมนาเชิงปฏิบัติการสืบสานสร้างสรรค์วัฒนธรรมองค์กรบุคลากรและนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ (ควจ.)(25,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธภาพที่ดีระหว่างอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาทุกหลักสูตร
2. เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาทุกหลักสูตร ได้มีโอกาสทำกิจกรรมร่วมกัน
3. เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และศิษย์เก่าของคณะร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ความเป็นมาของคณะวิทยาการจัดการ
4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตสำนึกด้านประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
|
- เชิงปริมาณ : บุคลากร นักศึกษา และศิษย์เก่า คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความมีจิตสำนึกด้านการสืบสานประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 25,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 25,300/100 = 253 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
644 |
พิธีไหว้ครูและครอบครูดนตรีไทย |
2567 |
1. เพื่ออนุรักษ์สืบสานประเพณีพิธีไหว้ครูดนตรีไทย
2. เพื่อแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีรำลึกถึงพระคุณครู
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 1- 4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม เท่ากับ 60,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เท่ากับ 60,000/100 = 600 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
645 |
เข้าร่วมจัดนิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย |
2567 |
1. เพื่อให้อาจารย์และนักศึกษาได้เรียนรู้และรับสุนทรีภาพจากผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยและเห็นถึงพัฒนาการในศิลปะร่วมสมัยของประเทศไทยในยุคปัจจุบัน
2. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษาด้านศิลปะ
3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นที่รู้จักในวงกว้าง
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 อาจารย์และนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานศิลปะออกสู่สาธารณชน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม เท่ากับ 24,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เท่ากับ 24,000/100 = 240 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
646 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการสืบสานรากเหง้าศิลปกรรมศาสตร์จากอดีต-ปัจจุบัน สู่อนาคต (คศก.)(12,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้อาจารย์และบุคลากรรู้ที่มาและจุดกำเนิดของคณะศิลปกรรมศาสตร์ในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาและคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2. เพื่อรวบรวมข้อมูลประวัติความเป็นมาของคณะศิลปกรรมศาสตร์ในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาและคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
3. เพื่อฝึกปฏิบัติเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านศิลปกรรมศาสตร์
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 อาจารย์และบุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ได้ฐานข้อมูลเชิงลึกของประวัติความเป็นมาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 1 ฐานข้อมูล
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม เท่ากับ 12,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,000/40 = 300 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
647 |
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นปราชญ์ชาวบ้าน (ควท.)(35,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้และเข้าใจ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้รับ มาประยุกต์ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น
3 ส่งเสริมให้อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรม ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 35,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 35,000/50 = 700 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
648 |
กิจกรรมที่ 26 สัมมนาวิชาการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและการอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา (ควท.)(10,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและการอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางโดยตรง
2. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 17 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 10,600 / 17 = 623.52 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
649 |
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ไก่แจ้สวยงาม สัตว์เศรษฐกิจเพื่อการประกวดแข่งขัน (คทก.)(25,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การเลี้ยงดู การจัดการ และการประกวดแข่งขันไก่แจ้สวยงาม
2 เพื่ออนุรักษ์และสืบสานการเลี้ยงไก่แจ้สวยงาม
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตรชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการคัดเลือกไก่แจ้สวยงามเพื่อเข้าประกวดแข่งขันเพิ่มขึ้น
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 25,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 25,000/80 = 312.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
650 |
กิจกรรมที่ 29 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรมกับกิจกรรมสงกรานต์ (คทก.)(8,000 บาท) |
2567 |
1.เพื่อสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมให้คงอยู่
2. เพื่อปลูกฝังค่านิยมที่ดีด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
|
- เชิงปริมาณ : อาจารย์ บุคลากรคณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : 1. อาจารย์ บุคลากรคณะเทคโนโลยีการเกษตร มีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. อาจารย์ บุคลากรคณะเทคโนโลยีการเกษตร สามารถปฏิบัติตนตามประเพณีได้ถูกต้อง
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- เชิงเวลา : ได้ดำเนินโครงการเสร็จตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,000/50 = 160 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
651 |
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 14 (คทอ.)(38,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ
2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น
3. เพื่อทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ อาจารย์และบุคลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 นักศึกษาบูรณาการรายวิชากับการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม อย่างน้อย 2 รายวิชา
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,600/120 = 321.67 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
652 |
กิจกรรมที่ 31 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับบุคลากร และนักศึกษาตามประเพณีในสังคมพหุวัฒนธรรม (คทอ.)(20,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป
2. เพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาและปลูกฝังค่านิยมที่ดีด้านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย
|
1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/100 = 200 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 |
 |
653 |
กิจกรรมที่ 32 จิตอาสาบูรณาการงานทำนุศิลปะวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาครั้งที่ 1 (คทอ.)(53,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่นักศึกษาและนักเรียนของโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร
2. เพื่อเพิ่มทักษะในการออกแบบและผลิตชิ้นงานที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับวัดและโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร
2. เพื่อบูรณาการงานทำนุศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,100/50 = 1,062 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
654 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการทรัพย์สินทางปัญญากับงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เรื่อง "วิจัยอย่างไรให้สามารถจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและขายได้" (สวพ.)(32,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์มาสู่การจดทะเบียนคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาได้เพิ่มขึ้น
|
- เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน
จำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สิน
ทางปัญญา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 32,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 32,100/45 = 713.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 17 |
 |
655 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับจับคู่กลุ่มวิจัย (Matching) เพื่อการตีพิมพ์ลงในวารสารวิจัยระดับนานาชาติ (สวพ.)(66,280 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ AI ในการเขียนบทความวิจัย
2. เพื่อดึงศักยภาพของบุคลากรที่มีองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษมาจับคู่กับนักวิจัย
3. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ
4. เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ ให้คำปรึกษาเทคนิคการเขียนบทความวิจัย เพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติจากผู้มีประสบการณ์โดยตรง
|
- เชิงปริมาณ : บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการ 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้บทความวิจัยระดับนานาชาติ อย่างน้อย 4 ผลงานวิจัย
- เชิงคุณภาพ : บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ AI สำหรับการเขียน บทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่
โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 66,280 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 66,280/150 = 441.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
656 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของประเทศและแหล่งทุนวิจัยภายนอก (สวพ.)(18,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนข้อเสนอการวิจัยแหล่งทุนภายนอกแก่บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สงขลา
2 เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทําวิจัยในปริมาณมากขึ้น
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย
4 เพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนข้อเสนอโครงการ RU (Research Utilization)
|
- เชิงปริมาณ
บุคลากรสายวิชาการผู้เข้าร่วมโครงการ 55 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : บุคลากรสายวิชาการผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการเขียนข้อเสนอ
- เชิงคุณภาพ
โครงการประเภทการนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์เพื่อยื่นแหล่งทุน ภายนอก มากขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา
สามารถดําเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กําหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
จํานวน 17,140 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
จํานวน 17,140/55 = 311.63 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
657 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์" (สวพ.)(49,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
1. เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 33,680 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 33,680 /100 = 336.8 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
658 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การเขียนแบบข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา" (สวพ.)(10,200 บาท) |
2567 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อยื่นขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
- เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 4,800 /90 = 53.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
659 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ (คคศ.)(23,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้อาจารย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะจากแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก
2. เพื่อให้อาจารย์นำความรู้เกี่ยวกับการเขียนวิจัยไปขอรับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกและพัฒนาผลงานตนเองได้
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 48 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,800/48 = 495.83 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
 |
660 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเลือกใช้สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรให้ตอบโจทย์งานวิจัย (ควจ.)(20,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการวางแผนการดำเนินการวิจัย
2. เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ สามารถคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างตามความจำเป็นทางสถิติ และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมการวิจัยที่ดี
3. สามารถเลือกใช้สถิติได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
|
1. เชิงปริมาณ : บุคลากรจำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจสามารถคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างตามความจำเป็น
ทางสถิติ และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมการวิจัยที่ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 20,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 20,800/20 = 1,040 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 9 |
 |
661 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การนำวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI (ควท.)(22,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการจัดทำวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีองค์ความรู้การนำวารสารมาประยุกต์ในฐานข้อมูล TCI |
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,000/20 = 1,100 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
662 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างเครือข่ายการทำงานกับชุมชนและภาคส่วนต่าง ๆ (ควท.)(20,000 บาท) |
2567 |
1. ส่งเสริมให้อาจารย์ทำงานวิจัยกับชุมชนมากขึ้น
2. ส่งเสริมให้มีเครือข่ายการทำงานวิจัยกับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
3. เพื่อให้อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานวิจัยที่ตรงตามกรอบงานวิจัยที่ท้องถิ่นต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สร้างสรรค์งานวิจัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,000/45 = 444.45 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
663 |
กิจกรรมที่ 21 เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้ ครั้งที่ 23 (ควท.)(86,300 บาท) |
2567 |
เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพทางวิชาการของนักศึกษาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาและบุคลากร จำนวน 34 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1. ผลงานทางวิชาการที่นักศึกษานำเสนอ ไม่น้อยกว่า 2 โครงการ
2. คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 3.2 และ 5.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 97,580 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 97,580/34 = 2,870 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
664 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะทางคอมพิวเตอร์เพื่องานวิจัย (ควท.)(12,000 บาท) |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะทางคอมพิวเตอร์ในการประยุกต์ใช้ในงานวิจัย |
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 18 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1. คะแนนการประเมินคุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิตปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 2 คะแนน
2. คะแนนการประเมิน criteria ที่ 6 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2 คะแนน
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้สำเร็จเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,000/18 = 666.666 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
665 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(29,400 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบายและประเมินทักษะ ความพร้อมของตนเองก่อนฝึกงาน
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ในการ
ฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ
2.3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
|
5.๑ เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 72 เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.๒ เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดแนวทางการนำทักษะไปใช้สำหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
666 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างคุณลักษณะนักศึกษาจิตภัฏพัฒนาชุมชน(107,600 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อปลูกฝังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับการปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนโดยใช้จิตอาสาเป็นฐาน
2.2 เพื่อสร้างลักษณะเด่นเฉพาะหลักสูตรผ่านคำว่า “นักศึกษาจิตภัฏ”
2.3 เพื่อสร้างกลไกในการสำนึกในปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตรในฐานะบรมครูพัฒนาชุมชน
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 97 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจิตอาสาจากหัวข้อ
ที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน
การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 182,775 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 182,775 = 1,884.28 บาท/คน
97
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
667 |
กิจกรรมที่ 4 สิงห์สมิหลาอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการเขียนและการนำเสนอผลงานทางรัฐประศาสนศาสตร์(35,800 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มทักษะเกี่ยวกับการเขียนฝึกปฏิบัติการ การเขียน และการนำเสนอผลงานทางวิชาการ
2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการวิเคราะห์ การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหาได้ รวมไปถึงหลักสูตร มีผลงานวิชาการเพิ่มขึ้น
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. รหัส 6231101 จำนวน 74 คน และมีผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 16 ผลงาน
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. รหัส 6231101 มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนผลงานวิชาการ สามารถปฏิบัติการเขียน และการนำเสนอผลงานได้เป็นอย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 31,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 31,200 = 421.62 บาท/คน
74
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
668 |
กิจกรรมที่ 5 สิงห์สมิหลาศึกษาดูงานเรียนรู้ศาสตร์พระราชา(86,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. ได้เปิดมุมมองและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้องเรียนและเข้าใจการบริหารจัดการโครงการของรัฐ ภายใต้ศาสตร์พระราชา
2.2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทักษะในศาสตร์พระราชาผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ณ แหล่งเรียนรู้จริงที่หลากหลายแก่นักศึกษา ภาค กศ.บป. และอาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
|
5.1 เชิงปริมาณ - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต จำนวน 16 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตได้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ
ในศาสตร์พระราชา ผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 86,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 86,000 = 5,375 บาท/คน
16
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
669 |
กิจกรรมที่ 1 สัมมนานักศึกษาก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(2,900 บาท) |
2567 |
เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และเพื่อให้อาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยงได้พบปะและนัดหมายการนิเทศ |
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 24 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,900 /24 = 120.83 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
670 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(2,900 บาท) |
2567 |
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 22 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,900 /22 = 131.81 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
671 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมการทำวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาให้เป็นไปตามคู่มือและรูปแบบของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(7,800 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้การจัดทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีความเรียบร้อย ถูกต้องตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย
2.2 นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้รับความรู้ในการจัดทำรูปแบบวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระถูกต้องตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
672 |
กิจกรรมที่ 5 ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา(22,200 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าใจการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา รวมทั้งทราบข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง
2.2 เพื่อให้ทราบกระบวนการการดำเนินงานบัณฑิตศึกษารวมทั้งการประสานงานที่เกี่ยวข้องกับงานบัณฑิตศึกษา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 22,200/90 = 246.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
673 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาก่อนฝึกการปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษา(26,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
2. เพื่อเตรียมกระบวนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
4. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา
|
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G จำนวน 28 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 26,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 26,500 /28 = 946.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
674 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาระหว่างฝึกการปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษา(19,400 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารในหน่วยงานทางการศึกษา
2. เพื่อเตรียมกระบวนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารในหน่วยงานทางการศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารในหน่วยงานทางการศึกษา
4. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารในหน่วยงานทางการศึกษา
|
เชิงปริมาณ :
- นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G จำนวน 28 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ :
- นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 19,400 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 19,400/ 28 = 692.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
675 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาหลังฝึกการปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษา(13,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารในหน่วยงานทางการศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาแสดงผลงานที่เกิดจากการฝึกปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G180 จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G180 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 13,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 13,500/29 = 465.52 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
676 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา(30,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการพัฒนาจิต
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการพัฒนาจิต
3. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีและนำการพัฒนาจิตมาใช้ในการปฏิบัติงาน และดำรงชีวิต
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G180 จำนวน 27 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G180 มีความเข้าใจหลักการพัฒนาจิต มีทักษะในการพัฒนาจิต และมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 30,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 30,500/27 = 1129.462 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
677 |
กิจกรรมที่ 6 บรรยายและสัมมนาทางการบริหารการศึกษา/การนิเทศนักศึกษา(14,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนากระบวนการบริหารแบบบูรณาการและการบริหารในศตวรรษที่ 21
2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดมความคิดสะท้อนความคิดเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาในยุคปัจจุบัน
3. เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดำเนินการบริหารการศึกษาได้อย่างเหมาะสม
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G180 จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G180 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 14,300/29 = 493.10 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
678 |
กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานเพื่อสร้างวิสัยทัศน์ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพ(164,700 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางการบริหารการศึกษาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษากับหน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษาต้นแบบ และแหล่งเรียนรู้
2. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบและแหล่งเรียนรู้
3. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาสถานศึกษาต้นแบบ และแหล่งเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
4. เพื่อให้นักศึกษาทำรายงานสรุปผลการศึกษาดูงานและนำเสนอแนวทางการการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเองเป็นผู้บริหารมืออาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G180 จำนวน 29 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 65G180 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 164,640 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 164,640/29 = 5,677.24 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
679 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมความเป็นครูและครูจิตอาสาสำหรับนักศึกษารหัส 66 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(51,700 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู
2. เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
3. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะการมีจิตอาสาในการทำงานเพื่อส่วนรวมและสังคม
4. เพื่อให้นักศึกษามีจิตอาสาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย
|
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 66 จำนวน 16 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู นำความรู้เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ครู วัดจากการทำแบบสอบถามการนำไปใช้ มีค่าเฉลี่ยในระดับมากขึ้นไป
เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 51,700 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 51,700/16 = 3,231.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
680 |
กิจกรรมที่ 9 ศึกษาดูงานเพื่อสร้างวิสัยทัศน์การเป็นนักพัฒนาหลักสูตรและการสอน (65G)(62,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางหลักสูตรและการสอนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนกับหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ
2. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้รับความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ
3. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
4. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะและทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
5. เพื่อให้นักศึกษาทำรายงานสรุปผลการศึกษาดูงานและนำเสนอแนวทางการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเองเป็นครูมืออาชีพ
|
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน จำนวน 23 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ :
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนกับหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
3) นักศึกษากลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานการสอนได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีขึ้นไป
4) นักศึกษากลุ่มเป้าหมายสามารถทำรายงานสรุปผลการศึกษาดูงานและนำเสนอแนวทางการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเองเป็นครูมืออาชีพได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยคุณภาพของรายงานมีค่าเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมที่กำหนดในโครงการได้เสร็จตามระยเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 62,400 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 62,400 /23 = 2,713.04 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
681 |
กิจกรรมที่ 10 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 รหัส 65 และปฐมนิเทศก่อนออกฝึก 2 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(25,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้และประสบการณ์จากการสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติ การสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 1
2. เพื่อให้นักศึกษาประยุกต์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการสัมมนาไปใช้ในการปฏิบัติการสอนในการฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 2
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาเฉพาะ 2
4. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการฝึกปฏิบัติการสอน 2 ตามเกณฑ์คุรุสภา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 65 จำนวน 23 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการฝึกปฏิบัติ การสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 2 และมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ
- เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 25,291 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 25,291/23 = 1,099.60 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
682 |
กิจกรรมที่ 11 สนับสนุนนักศึกษาหลักสูตร ค.ม.สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมทางวิชาการ/การนำเสนองานวิจัยของหน่วยงานภายนอก(10,000 บาท) |
2567 |
- |
- |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
683 |
กิจกรรมที่ 12 จัดทำวารสารหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(35,000 บาท) |
2567 |
- |
- |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
684 |
กิจกรรมที่ 13 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 2 สำหรับนักศึกษารหัส 65 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(12,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้และประสบการณ์จากการสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติ การสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 2
2. เพื่อให้นักศึกษาประยุกต์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการสัมมนาไปใช้ในการปฏิบัติการสอนในการฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 2 |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 65 จำนวน 23 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนา การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู การจัดการเรียนรู้ละความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน นำความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตนตามมาตรฐานคุรุสภาไปใช้พัฒนาวิชาชีพ วัดจากการทำแบบสอบถามการนำไปใช้ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 12,000/23 = 521.73 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
685 |
กิจกรรมที่ 14 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 2 สำหรับผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง รหัส 65 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(6,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อรวบรวมข้อมูลและข้อเสนอแนะจากผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง ประสบการณ์การนิเทศนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 2
2. เพื่อนำข้อเสนอแนะจากการสัมมนาไปใช้ในการวางแผนการฝึกปฏิบัติการสอนของนักศึกษาในหลักสูตร
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยงที่นิเทศนักศึกษา รหัส 65 จำนวน 44 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ให้ข้อมูลและให้ข้อเสนอแนะการฝึกปฏิบัติการสอนของนักศึกษา และมีความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการ วัดจากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 6,800/44 = 154.54 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
686 |
กิจกรรมที่ 15 ปฐมนิเทศและอบรมเชิงปฏิบัติการ การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนก่อนออกฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 สำหรับนักศึกษา รหัส 66 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(18,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 1
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 66 จำนวน 16 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการฝึกปฏิบัติ การสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และมีควมพึงพอใจต่อการจัดโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 18,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 18,600 / 16 = 1,162.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
687 |
กิจกรรมที่ 16 สัมมนาชี้แจงผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์นักศึกษาก่อนออกฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 สำหรับนักศึกษา รหัส 66(11,200 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์มีความรู้ความเข้าใจในการนิเทศและการประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา
2. เพื่อให้ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์มีทักษะในการนิเทศและการประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ตามเกณฑ์คุรุสภา
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยงที่นิเทศนักศึกษา รหัส 66 จำนวน 32 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการนิเทศและประเมินการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และมีความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการ วัดจากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ มีค่าเฉลี่ยในระดับ 3.50 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 11,200 / 32 = 350 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
688 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักศึกษา ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงทางด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพที่สอดคล้องมาตรฐานคุรุสภา(32,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษา ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มีความรู้ความเข้าใจในด้านเนื้อหาและมีทักษะประสบการณ์วิชาชีพตามเกณฑ์มาตรฐานคุรุสภา
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพครูและทักษะในศตวรรษที่ 21
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 65 และรหัส 66 จำนวน 55 คน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 45 คน รวม 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและประสบการณ์วิชาชีพตามเกณฑ์มาตรฐานคุรุสภา และมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ
- เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 32,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 32,000/100 = 320 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
689 |
กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาดนตรีศึกษา(73,600 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางด้านดนตรีศึกษาและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีศึกษากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยเครือข่าย
2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางดนตรีศึกษาที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้จริง
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา รหัส 66 จำนวน 7 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,000/7 = 9,571.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 11 |
 |
690 |
กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมเข้าศึกษานักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู(76,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจการเตรียมความพร้อมเป็นนักศึกษา เข้าใจในกระบวนการเรียนรายวิชา เกณฑ์การจบหลักสูตรและการฝึกปฏิบัติการสอน
2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน ตามประกาศคณะกรรมการคุรุสภา
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 76,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 76,000/180 = 422.22 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
691 |
กิจกรรมที่ 8 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1(44,200 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1
2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565
จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 |
 |
692 |
กิจกรรมที่ 10 สัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2(40,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2
2.2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565
จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 /180 = 222.22 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 13 |
 |
693 |
กิจกรรมศึกษาดูงานในรายวิชาของนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิตได้ศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิตสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้ในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมา
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
แห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 2,240 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 2,240/98 = 22.86 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
694 |
กิจกรรมที่ 1 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบ MGT Inheriting Thai Culture |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการได้แสดงความสามารถเชิงสร้างสรรค์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย |
1. เชิงปริมาณ
- นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการจำนวน 680 คน เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐
- มีชุดการแสดงตามประเพณีไม่ต่ำกว่า 7 เรื่อง
2. เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการโดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 81,300 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 81,300/680 = 119.56
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
695 |
กิจกรรมที่ 2 แข่งขันโต้วาที หัวข้อเรื่อง ธุรกิจสมัยใหม่ |
2567 |
การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาเป็นอีกหนึ่งภารกิจหลักของสถาบันการศึกษา โดยเฉพาะการสร้าง ภาวะผู้นา และผู้ตามที่ดี นักศึกษาจึงควรได้รับการฝึกฝนในการกล้าแสดงออก ทั้งทางด้านร่างกาย และความคิด ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมถึงทักษะในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า อย่างมีเหตุผล สโมสรนักศึกษาจึงเล็งเห็นโอกาสที่จะจัดโครงการโต้วาที เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการกล้าแสดงออก และการทำงานเป็นทีม เพื่อเสริมสร้างบุคลิกภาพ และสติปัญญา ให้กับนักศึกษาเพื่อสามารถก้าวไปสู่บัณฑิตนักปฏิบัติ ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยต่อไป
ดังนั้นสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการจึงกำหนดจัดกิจกรรมแข่งขันโต้วาที หัวข้อเรื่องธุรกิจสมัยใหม่ ขึ้นเพื่อให้นักศึกษาสามารถแก้ไข้ปัญหาเฉพาะหน้า รวมไปถึงความกล้าแสดงออกของนักศึกษา เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะและปฏิภาณไหวพริบได้อย่างถูกต้อง
|
1. เชิงปริมาณ - มีนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 26 คน เข้าร่วมการแข่งขันไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 260 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ มีทักษะในการพูด และมีความมั่นใจกล้าแสดงออก โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 21,265 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 21,265/260 = 81.79 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
696 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง นักธุรกิจ SMEs ในยุค 4.0 |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และมีทักษะการเป็นผู้ประกอบการ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 350คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 39,325 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 39,325 /350 = 112.36 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
697 |
กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานพัฒนาศักยภาพสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ |
2567 |
เพื่อให้สโมสรนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ได้เพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ปรับทัศนคติ และปรับเปลี่ยนทัศนคติในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลมุ่งผลสัมฤทธิ์สู่ความเป็นเลิศ |
1. เชิงปริมาณ
- นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน ๔1 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘0
2. เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการเป็นผู้นำเพื่อนำไปปรับเปลี่ยนประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในอนาคตรวมถึงนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘0
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 51,200 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 51,200 /41 = 1,248.78 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
698 |
โครงการจัดงานสืบสานประเพณีลอยกระทง ประจำปี 2566 |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ร่วมอนุรักษ์และสืบสานประเพณีลอยกระทง
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงศักยภาพผ่านการประกวด
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาทุกชั้นปี จำนวน 1,200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 มีผู้เข้าร่วมประกวดเทพธิดานพมาศและเทพธิดานพมาศจำแลง ไม่น้อยกว่า 10 คน
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการโดยภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 156,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 156,800/1,200 = 130.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
699 |
โครงการพัฒนานักศึกษา : กองพัฒนานักศึกษา กิจกรรมที่ 16 แข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 49 รอบคัดเลือกโซนภาคใต้ |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 49
2 เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬาของนักศึกษา
3 เพื่อสร้างชื่อเสียงด้านกีฬาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 107 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 617,650 บาท
5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 617,650 / 107 = 5,772.43 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
700 |
โครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างแกนนำวิศวกรสังคม |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม
2 เพื่อสร้างกลไกการพัฒนากระบวนการศึกษาเพื่อเข้าสู่กระบวนการวิศวกรสังคม
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ :
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม 4 ประการ ได้แก่ นักคิด นักสื่อสาร นักประสานงาน และนวัตกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 201,700 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 201,700/300 = 672.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
701 |
กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบวัฒนธรรมไทย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์
2. เพื่อคัดเลือกนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
1.2 จำนวนนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 6 คน
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,590 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,590/๓๐๐ = 155.30 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
702 |
โครงการพัฒนาสรรถนะครูสู่มืออาชีพ กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาและปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู ให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ |
2567 |
พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้กล่าวไว้ ในหมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษาที่เน้นความสำคัญทั้งความรู้และคุณธรรม การจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องบูรณาการ ความรู้ต่าง ๆ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมอันดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ไว้ 4 ประการ เช่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ประการ คือ ความสามารถ ในการสื่อสาร ความสามารถด้านการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ และ สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน ที่กล่าวมา
มีความสำคัญในการดำเนินการพัฒนาผู้เรียนของครูผู้สอน โดยสามารถนําไปปรับใช้ ในการสร้างรูปแบบกระบวนการและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ของตนเองได้ เพื่อปลูกฝังและพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นผู้ที่มีความรู้
คู่คุณธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีสมรรถนะสำคัญ สำหรับการดำรงชีวิตในสังคม และนโยบาย สพฐ. ปี 66 ข้อ 3 ด้านคุณภาพการศึกษา ข้อ 3.5 ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านวิชาการด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ผ่านแพลตฟอร์ม ออนไลน์ต่าง ๆ พัฒนาผู้บริหารให้มี “ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง” ปรับบริบทของครูจาก “ผู้สอน” เป็น "โค้ช" ที่อํานวยการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มุ่งสู่การยกระดับครูสู่วิชาชีพชั้นสูง มีจรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งมีจิตวิญญาณความเป็นครูสมรรถนะหลักของครูในด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู และสมรรถนะ
ตามสายปฏิบัติงานในด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนและการบริหารจัดการ ชั้นเรียนถือเป็นสมรรถนะที่สำคัญในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาสมรรถนะครูดังกล่าวเป็นสิ่งสำคัญ ที่ทำให้เกิดการสร้างผลผลิตหรือผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ภายใต้หลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการเรียนรู้ เข้าใจ หลักการ วิธีการและองค์ความรู้ใหม่ที่มีความหลากหลายในสังคมทำให้สามารถพัฒนา ปรับปรุง และสามารถสร้างผลผลิตทางนวัตกรรมรูปแบบใหม่เพื่อให้เกิดการยกระดับการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน ด้วยการปลูกฝัง
จิตวิญญาณความเป็นครู มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการกำกับ ติดตาม ให้คําชี้แนะในการจัดการเรียนรู้
ในห้องเรียนเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกภูมิภาคได้รับการพัฒนาได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้คำปรึกษา
ในการพัฒนาตนเองเพื่อเป็นครูมืออาชีพ และจากการดำเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning แบบ Fundamental AL Training ที่ผ่านมาทำให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาด้านกระบวนการการจัดการเรียนรู้ Active Learning แบบ Fundamental AL Training และได้นําไปจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ตามบริบทของตนเอง นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาครูด้าน Active Learning โดยสำนักต่าง ๆ ได้แก่ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักบริหารงานความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์ รวมถึงหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ
จากเหตุผลและความสำคัญดังกล่าวข้างต้น มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จึงได้ดำเนินโครงการพัฒนาสมรรถนะครูสู่มืออาชีพ เพื่อพัฒนาสมรรถนะครูด้านคุณธรรม จริยธรรม การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และมีการพัฒนา ตนเองเพื่อให้เป็นไปตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) สอดคล้องกับสมรรถนะ วิชาชีพทั้งยังจัดให้มีพี่เลี้ยงสามารถให้คำปรึกษาแนะนํา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ให้คำปรึกษาถึงห้องเรียน กระจายทุกภูมิภาค ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ทำให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีนวัตกรรมการจัดการ เรียนรู้เชิงรุกที่ประสบความสำเร็จ หรือ ผลงานที่เป็นแบบอย่างได้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามที่หลักสูตรกำหนด
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่อยู่ในเครือข่าย เข้าร่วมการพัฒนาไม่น้อยกว่า 550 คน
- เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู คุณลักษณะของครูที่ดี และสามารถนำไปปรับใช้กับผู้เรียนได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2) ผู้เข้ารับการพัฒนาผ่านการอบรมและปลูกจิตวิญญาณความเป็นครูให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ โดยผ่านเกณฑ์การประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
703 |
โครงการเทคนิคการขายของออนไลน์ |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการขายของออนไลน์
2. เพื่อเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการให้กับนักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาทุกชั้นปี จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการขายของออนไลน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,700 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,700/200 = 13.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
704 |
โครงการพัฒนานักศึกษา : ชมรม กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การฟอร์มวงดนตรีลูกทุ่ง |
2567 |
เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ มีความรู้เกี่ยวกับการเล่นวงดนตรีลูกทุ่ง |
1 เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 1) นักเรียนโรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการฟอร์มวงดนตรีลูกทุ่ง โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,400/50 = 128 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
705 |
โครงการพัฒนานักศึกษา : สโมสรนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ กิจกรรมที่ 1 จัดงานประกวดผู้นำกิจกรรมคณะศิลปกรรมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2566 |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถด้านศิลปะและการแสดงที่กำลังศึกษา
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตอาสา และเกิดกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์
|
1 เชิงปริมาณ : 1. นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 18 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. จำนวนผลงานการแสดงของนักศึกษาและกิจกรรมจิตอาสา ไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนน
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
706 |
ศึกษาดูงานพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษาคณะครุศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2566 |
2567 |
เพื่อให้ผู้นำนักศึกษาของคณะครุศาสตร์ได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและการบริหารจัดการสโมสรนักศึกษา |
5.1 เชิงปริมาณ
ผู้นำนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการบริหารงานกิจกรรม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่น้อย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,900/50 = 138 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 12 |
 |
707 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุงพุทธศักราช 2568((ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703))(40,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อจัดทำร่างหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2568
2. เพื่อทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีต่อหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568
|
เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา และคุรุสภา จำนวน 1 หลักสูตร
เชิงคุณภาพ : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน(4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568 ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาจนเสร็จสมบูรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
708 |
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการท้องถิ่นหลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2567((ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703))(50,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการท้องถิ่น หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2567 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565
2. เพื่อทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีต่อหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการท้องถิ่น หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2567
|
1 เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการท้องถิ่น หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2567 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา จำนวน 1 หลักสูตร
2. เชิงคุณภาพ : หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการท้องถิ่น หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2567 ได้รับการพัฒนาหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาจนเสร็จสมบูรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 50,000 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 50,000 = 3,333.33 บาท : คน
15
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
709 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703)(40,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ พุทธศักราช 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2. เพื่อทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีต่อหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568
|
เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568 ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
710 |
ค่ายครูอาสาพัฒนาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านส้านแดง |
2567 |
2.1 เพื่อผลิตสื่อการเรียนการสอนให้กับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านส้านแดง
2.2 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของโรงเรียนและจัดห้องเรียนให้เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้ |
- เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาคณะครุศาสตร์จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนสื่อการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 7 สื่อการสอน
3) มีห้องเรียนที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ จำนวน 1 ห้อง
4) ภูมิทัศน์โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนได้รับการปรับปรุง ไม่น้อยกว่า 2 พื้นที่
- เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,200/40 = 1130 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 12 |
 |
711 |
โครงการพัฒนานักศึกษากิจกรรมที่ 1 บรรยายเรื่อง สิทธิทางเพศ LGBTQIA+ ในรั้วมหาวิทยาลัย |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศในสังคมพหุวัฒนธรรม ภายในรั้วมหาวิทยาลัย |
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทุกชั้นปี จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศทางเลือก และสิทธิทางเพศ LGBTQIA+ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 5,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
712 |
โครงการ พัฒนานักศึกษา สโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน |
๕.๑ เชิงปริมาณ : มีนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทุกชั้นปี จำนวน 50 คน ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
๕.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมิน
เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
๕.๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
๕.๔ ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,300บาท
๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,300/50 = 286 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 11 |
 |
713 |
เข้าค่ายพักแรมลูกเสือเนตรนารี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้และทักษะในกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ตามหลักสูตรที่กำหนด
2. เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัย เกิดความรักและสามัคคีในหมู่คณะ
3. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการดำรงตน นำความรู้และทักษะในการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จำนวน 115 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของการเข้าค่ายพักแรมลูกเสือเนตรนารี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 59,800
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 59,800/115 เท่ากับ 520/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
714 |
กิจกรรมงานราชภัฏสงขลาวิชาการ(ใช้งบกิจกรรมที่ 27 งานราชภัฏสงขลาวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2567(เลขที่โครงการ:1721))(81,875 บาท) |
2567 |
1. เพื่อจัดแสดงนิทรรศการผลงานวัตกรรมของคณาจารย์และนักศึกษา
2. เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด องค์ความรู์ เผยแพร่ผลงงานทางวิชาการแก่ผู้เข้าร่วมงาน
3. เพื่อจัดการประกวด แข่งขัน ทักษะ เสวนากิจกรรมทางวิชาการของคณะและหลักสูตร
4. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการและชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยสู่สังคมภายนอก |
เชิงปริมาณ - อาจารย์ นักศึกษา/บุคลากรและบุคลากรภายนอก เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 1,000 คน
- จัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม
- หน่วยงานเอกชน/ราชการ และองคืกรภายนอกสนใจเข้าร่วมออกบูธ/จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยงาน
- คณะและหลักสูตร สามารถดำเนินงานจัดกิจกรรมการประกวด การแข่งขันทักษะตอบปัญหาทางวิชการ อบรม/สัมนา
นิทรรศการทางวิชาการ และกิจกรรมการแสดงบนเวที ไม่น้อยกว่า 20 กิจกรรม
เชิงคุณภาพ - นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีความรู้ความเข้าใจ มีส่วนร่วมและสามารถจัดกิจกรรมทางวิชาการได้
- นักเรียน ครูอาจารย์ และผู้เข้าร่วมงาน มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมภาพรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อกิจกรรม 1,135,000 บาท
ต้นทุนหน่วยผลผลิค 1,135,000/1000 = 1,135 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 6 |
 |
715 |
กิจกรรมงานราชภัฏสงขลาวิชาการ(ใช้งบกิจกรรมที่ 27 งานราชภัฏสงขลาวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2567(เลขที่โครงการ:1721))(81,875 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อจัดแสดงนิทรรศการผลงานนวัตกรรมของคณาจารย์และนักศึกษา
2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด องค์ความรู้ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการแก่ผู้เข้าร่วมงาน
2.3 เพื่อจัดการประกวด แข่งขัน ทักษะ เสวนากิจกรรมทางวิชาการของคณะและหลักสูตร
2.4 เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการและชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยสู่สังคมภายนอก
|
- เชิงปริมาณ : - อาจารย์ นักศึกษา/บุคลากรและบุคคลภายนอก เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า
1,000 คน
- จัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม
- หน่วยงานเอกชน/ราชการ และองค์กรภายนอกสนใจเข้าร่วมออกบูธ/จัดกิจกรรม
ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยงาน
- คณะและหลักสูตร สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมการประกวด แข่งขันทักษะ
ตอบปัญหาทางวิชาการ อบรม/สัมมนา นิทรรศการทางวิชาการ และกิจกรรม
การแสดงบนเวที ไม่น้อยกว่า 20 กิจกรรม
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีความรู้ความเข้าใจ มีส่วนร่วมและสามารถ
จัดกิจกรรมทางวิชาการได้
- นักเรียน ครูอาจารย์ และผู้เข้าร่วมงาน มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,135,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,135,000/1,000 = 1,135 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
716 |
กิจกรรมงานราชภัฏสงขลาวิชาการ(ใช้งบกิจกรรมที่ 27 งานราชภัฏสงขลาวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2567(เลขที่โครงการ:1721))(81,875 บาท) |
2567 |
1.เพื่อจัดแสดงนิทรรศการผลงานนวัตกรรมของคณาจารย์และนักศึกษา
2.เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด องค์ความรู้ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการแก่ผู้เข้าร่วมงาน
3.เพื่อจัดการประกวด แข่งขัน ทักษะ เสวนากิจกรรมทางวิชาการของคณะและหลักสูตร
4.เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยสู่สังคมภายนอก |
เชิงปริมาณ - อาจารย์ นักศึกษา/บุคลากรและบุคคลภายนอก เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 1,000 คน
- จัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม
- หน่วยงานเอกชน/ราชการ และองค์กรภายนอกสนใจเข้าร่วมออกบูธ/จัดกิจกรรมไม่น้อยกว่า 5 หน่วยงาน
- คณะและหลักสูตร สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมการประกวด แข่งขันทักษะตอบปัญหาทางวิชาการ อบรม/สัมมนา นิทรรศการ
ทางวิชาการ และกิจกรรมการแสดงบนเวที ไม่น้อยกว่า 20 กิจกรรม
เชิงคุณภาพ - นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีความรู้ความเข้าใจ มีส่วนร่วมและสามารถจัดกิจรรมทางวิชาการได้
- นักเรียน ครูอาจารย์ และผู้เข้าร่วมทงาน มีความพึงไปใจในการจัดกิจกรรมภาพรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 1,135,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 1,135,000 /1,000 บาท = 1,135 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
717 |
โครงการพัฒนาศักยภาพนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (การแข่งขันกีฬาว่ายน้ำ อบจ. สุราษฎร์ธานี สวิมมิ่งแชมป์เปี้ยนชิพ ครั้งที่ 1) |
2567 |
1) ส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2) สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะด้านกีฬาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 17,630/7 = 2,518.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
718 |
กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดเด็ก WISH นักสื่อสารสร้างสรรค์ Content 2023 |
2567 |
1.เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถผ่านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
2.เพื่อคัดเลือกนักศึกษาเป็นตัวแทนประชาสัมพันธ์กิจกรรมของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
|
5.1 เชิงปริมาณ - นักศึกษา จำนวน 390 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษา จำนวน 14 คน เข้าร่วมประกวดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีนักศึกษาเป็นตัวแทนในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมนักศึกษา คณะวิทยาศาตร์และ
เทคโนโลยี ไม่น้อยกว่า 30 คน
- มีนักศึกษาแสดงความสามารถผ่านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ไม่น้อยกว่า 30 คน
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมิน เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,200/390 = 110.77 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
719 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์บูรณาการกับ 6 กิจกรรมหลัก เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัยในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 |
เชิงปริมาณ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียน ตชด. สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 จำนวน 32 คน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนกิจกรรม ที่นำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาบูรณาการกับ 6 กิจกรรมหลักเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 20 กิจกรรม |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
720 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อให้ครูปฐมวัยสามารถทำโครงงานวิทยาศาสตร์ : โครงการตามแนวทางของโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย |
เชิงปริมาณ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่43 จำนวน 32 คน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนโครงงานวิทยาศาสตร์ที่นำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์บูรณาการกับ 4 กิจกรรมหลักเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 โครงการ ต่อ 1 ห้องเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
721 |
โครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างที่ปรึกษาวิศวกรสังคม |
2567 |
1. เพื่อให้บุคลากรมีความรู้และทักษะการเป็นที่ปรึกษาวิศวกรสังคม
2. เพื่อสร้างกลไกการพัฒนากระบวนการศึกษาเพื่อเข้าสู่กระบวนการวิศวกรสังคม
|
1 เชิงปริมาณ : บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีทักษะในการเป็นที่ปรึกษาวิศวกรสังคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 109,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 109,200/120 = 910 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
722 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาและปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (มรภ.สข 1103-67-0039) |
2567 |
1.เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถอธิบายความสำคัญ บทบาทหน้าที่ ภาระงาน และคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู คุณลักษณะของครูที่ดี
2. เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถวิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพครูที่นำไปสู่แนวทางการปฏิบัติในการเป็นครูที่ดี
3. เพื่อให้ครูผู้สอนมีอุดมการณ์ จิตวิญญาณความเป็นครู รักและศรัทธาในวิชาชีพ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
4. เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถออกแบบแนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดค่านิยม คุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู ในการประพฤติปฏิบัติตนในวิชาชีพครู ได้อย่างเหมาะสม
|
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 30 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก (active learning) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ร้อยละ 10
2) ครูที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
3) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 100,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 100,000/150 = 666.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
723 |
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002 |
2567 |
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ
2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการวิจัย โครงการบริการวิชาการ และโครงการอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้
|
- เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน
เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม
จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 151,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 151,500/120 = 1,262.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 17 |
 |
724 |
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่
|
1. เชิงปริมาณ
นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาลัย และกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า ๗ ฐาน โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,3๐๐/๓00 = 157.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 11 |
 |
725 |
โครงการศึกษาดูงานการพัฒนานักศึกษาและวิศวกรสังคม |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและวิศวกรสังคม |
1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 54 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนานักศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 369,460 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 369,460 /54 = 6,841.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
726 |
โครงการพัฒนานักศึกษา : กองพัฒนานักศึกษา กิจกรรมที่ 13 แข่งขันกีฬาภายในคณะ 7 คณะ |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพและการแข่งขัน
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ให้กับนักศึกษาภายในคณะ
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษา 7 คณะ จำนวน 700 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : 1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
2) นักศึกษามีความสัมพันธ์ที่ดีภายในคณะ โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 207,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 207,600 /700 = 296.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
727 |
โครงการพัฒนาสมรรถนะครูสู่มือาชีพ กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพตามข้อตกลงในการพัฒนางาน วPA |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถอธิบาย และให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ การเรียนรู้ของผู้เรียน
และตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรม
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถใช้หลักการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อสะท้อนผลการ
ปฏิบัติ ในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพตามข้อตกลงในการพัฒนา
งาน วPA ได้ |
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) ที่อยู่ในเครือข่าย
เข้าร่วมการพัฒนาไม่น้อยกว่า 550 คน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนมีความรู้เรื่อง การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาซีพตามข้อตกลงในการพัฒนา
งาน วPA ตามแนวทางการดำเนินการพัฒนาและสามารถนำไปปรับใช้กับผู้เรียนได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ครูผู้สอนต้องผ่านการอบรมด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพตามข้อตกลงใน
การพัฒนางาน วPA ตามแนวทางการดำเนินการพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 270,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 270,900/550 = 492.54 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
728 |
โครงการจัดงานประกวด HUSO Talent Contest ประจำปีการศึกษา 2566 |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์ |
5.1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาจำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2) มีจำนวนผลงานการแสดงของนักศึกษา ไม่น้อยกว่า 8 ผลงาน
5.2 เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 56,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,890/คน
|
เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 13 |
 |
729 |
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลในองค์กร |
2567 |
2.1 เพื่อให้คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินงาน และคณะทำงาน มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตลอดจนได้รับทราบแนวทางการประเมินการรวบรวมข้อมูลและเตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้อย่างถูกต้อง
2.2 เพื่อสร้างความเข้าใจวิธีการบันทึกหลักฐานการตรวจแบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT ผ่านระบบ ITAS ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
2.3 เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักธรรมาภิบาลและให้ความสำคัญกับการป้องกันและปราบปรามทุจริต
2.4 เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและสามารถนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์
|
5.1 เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผลการตรวจประเมิน ITA ได้รับคะแนนรวมจากการประเมินร้อยละ 85
5.3 เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 74,520 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 674,520/240 = 310.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
730 |
จัดงานประกวดการทำแกงไตปลาและจัดนิทรรศการด้านอาหาร |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ร่วมอนุรักษ์การทำแกงไตปลาและอาหารไทย |
- เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 260 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) มีทีมเข้าร่วมประกวดการทำแกงไตปลา ไม่น้อยกว่า 8 ทีม
3) มีบูธนิทรรศการอาหารไทย ไม่น้อยกว่า 9 ชนิด
- เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,100/260 = 58.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
731 |
กิจกรรมที่ 1 แข่งขัน SCI - TECH E-sport Arena of Valor 2023 |
2567 |
เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาเรียนรู้จักการทำงานเป็นทีม การวางแผนประสานงานระหว่างเพื่อนร่วมทีม ฝึกภาวะการเป็นผู้นำ การคาดคะเนและการคำนวณ ผ่านการเล่นเกม |
5.1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) มีทีมเข้าแข่งขันไม่น้อยกว่า 10 ทีม
5.2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,000/60 = 433.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
732 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสื่อสารเรื่องราวของสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วยความจริงและความรัก(กิจกรรมสร้างครู ข มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับจิตอาสาและมีทักษะในการปฏิบัติภารกิจด้านจิตอาสาของครู ข
2 เพื่อให้นักศึกษาครู ข ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสามารถสื่อสารเรื่องราวของสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วยความจริงและความรัก
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 19 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ จากการอบรมไปปฏิบัติภารกิจด้านจิตอาสาของจังหวัดสงขลา อย่างน้อย 5 กิจกรรม
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
733 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมสันทนาการ |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาชมรมส่งยิ้ม ส่งรัก มีความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมสันทนาการ
2 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านสะพานเคียน ได้รับความรู้จาการจัดกิจกรรมสันทนาการ
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชมรมส่งยิ้ม ส่งรัก จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสันทนาการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) นักเรียนโรงเรียนบ้านสะพานเคียนได้รับความรู้จากกิจกรรมสันทนาการ โดยมี ค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 40,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
734 |
โครงการบรรยาย เรื่อง รักนี้คุมได้ |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่ไม่เหมาะสมและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2. เพื่อรณรงค์ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทุกชั้นปี จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่ไม่เหมาะสมและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,700 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,700/200 = 13.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
735 |
แข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 49 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 49
2. เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬาของนักศึกษา
3. เพื่อสร้างชื่อเสียงด้านกีฬาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านทักษะกีฬา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,701,420 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,701,420 / 100 = 17,014.20 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
736 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพ สู่ตลาด (154,500 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ และเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพ สู่ตลาด เพื่อนำไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน
2.เพื่อส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพ สู่ตลาด นำไปสู่การมีรายได้ของครัวเรือนเพิ่มขึ้น
3.เพื่อให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานความสุขมวลรวม (GVH)
4. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ
5. เพื่อกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบของโครงการร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
|
1. เชิงปริมาณ : - สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีการบูรณาการด้านการเรียนการสอนร่วมกับงานบริการวิชาการ อย่างน้อย 2 รายวิชา
- มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
2.เชิงคุณภาพ : - มีเครือข่ายร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างน้อย 1 เครือข่าย
- ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ชุมชน
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20
- รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาท/
ต่อครัวเรือน/ปี
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 146,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 146,500/20 = 7,325 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
737 |
โครงการบริหารงานการศึกษาพิเศษ กิจกรรมที่ 4 ศึกษาเรียนรู้ดูโลกกว้าง |
2567 |
1. เพื่อให้เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ได้สัมผัสกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายนอกห้องเรียน
2. เพื่อให้เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ได้รับประสบการณ์ตรงสามารถปรับตัวให้มีความคุ้นเคยกับสถานที่ต่าง ๆ และใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
3. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาพิเศษ - ภาษาไทย ได้ร่วมกิจกรรมและสามารถนำไปปรับใช้ในการเรียนได้
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 49 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากโครงการไม่
น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,000/49 = 224.48 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
738 |
โครงการจัดงานเสริมสร้างสายยรัก แห่งครอบครัว ( วันแม่ ) |
2567 |
1. เพื่อสานสายใยรักระหว่างแม่และลูกให้มีความรักความผูกพันธ์ สร้างความสัมพันธ์อันดีในครอบครัว
2. เพื่อให้เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษและผู้ปกครองได้มีส่วนในการสืบสานวัฒนธรรมและวันสำคัญของไทย
3. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาพิเศษ-ภาษาไทย ได้มีส่วนร่วมในการสืบสานวัฒนธรรมและสำคัญของไทยและนำความรู้ในการจัดกิจกรรมไปปรับใช้ในการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนเฉพาะ
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 34 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,200/34 = 152.94 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
739 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ธาราบำบัดสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ |
2567 |
.1 เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเคลื่อนไหว ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก และทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
.2 เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของประสาทสัมผสของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิศษ
.3 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการศึกษาพิเศษ - ภาษาไทย ได้มีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติด้านการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
4 เพื่อพัฒนาครูการศึกษาพิเศษและครูพี่เลี้ยงให้มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้วยกิจกรรมธาราบำบัดประจำภาคเรียน
|
1.เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 49 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากโครงการไม่
น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3.ชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,400 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,400/49 = 232.65 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
740 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้ความรู้เพื่อการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติหรือความบกพร่องของบุคคลที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษอย่างถูกต้อง
2. เพื่อสร้างองค์ความรู้ และเสริมสร้างแรงกระตุ้นให้กับผู้ปกครอง บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษในการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษอย่างใกล้ชิดและถูกวิธี
|
1 เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 39 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่
น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,799 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,799/39 = 379.46 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
741 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การผลิตสื่อการเรียนการสอนสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ และครูการศึกษาพิเศษ ผู้ปฏิบัติงานดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษมีความรู้ ทักษะและวิธีการผลิตสื่ออย่างมีประสิทธิภาพได้
2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ผู้ปฏิบัติงานดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็น
พิเศษสามารถนำสื่อที่ผลิตไปใช้ในการฝึกทักษะและการกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่มีความจำเป็นพิเศษได้อย่างเหมาะสม
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 39 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่
น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,200/39 = 517.95 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
742 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อ ศาสตร์ทางเลือกสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ( ทรายบำบัด ) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเคลื่อนไหว ทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
2. เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของประสาทสัมผัสของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
3. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณทิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ-ภาษาไทย ได้มีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติด้านการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
4. เพื่อพัฒนาครูการศึกษาพิเศษและครูพี่เลี้ยงให้มีความรู้และความเข้าใจในด้านการจัดการสอน เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้วยกิจกรรมทรายบำบัด
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 49 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ: ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด
โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 19,635 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 19,635/49 = 400.71 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
743 |
โครงการเยี่ยมบ้านเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ปกครองในการฝึกทักษะและการกระตุ้นพัฒนาการให้กับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษในช่วงปิดภาคเรียนอย่างต่อเนื่อง
2. เพื่อกระตุ้นพัฒนาการให้กับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษในช่วงปิดภาคเรียนด้วยกิจกรรมที่สามารถให้ผู้ปกครองดำเนินการได้ด้วยตนเอง
3. เพื่อติดตามพัฒนาการและความเป็นอยู่ในครอบครัวของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
|
1. เชิงปริมาณ : - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด
โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : - สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 10,200 / 24 = 425 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
744 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้บริการและช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ( IFSP ) |
2567 |
1. เพื่อทราบข้อมูลเชิงลึกของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ และความเป็นอยู่ของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
2. เพื่อให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
3. เพื่อจัดบริการและการให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมแก่ครอบครัวเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ: ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด
โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 6,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 6,900/24 = 287.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
745 |
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์กองพัฒนานักศึกษาและรณรงค์การทิ้งขยะแก่ชุมชนเก้าเส้ง |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาชมรมสังคมพัฒนามีความรู้เกี่ยวกับการทำกิจกรรมจิตอาสา
2 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
3 เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการทิ้งขยะแก่ชุมชนเก้าเส้ง
|
1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาชมรมสังคมพัฒนา จำนวน 199 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) พื้นที่ของกองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 2 พื้นที่
3) จำนวนสื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการทิ้งขยะ ไม่น้อยกว่า 2 สื่อ
2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการทำกิจกรรมจิตอาสา โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 30,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 30,400/199 = 152.76 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
746 |
โครงการพัฒนาศักยภาพนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสู่ความเป็นเลิศ (การแข่งขันกีฬาว่ายน้ำ สจ. จิตธรรม บุญญาธิการ แชมป์เปี้ยนชิพ ครั้งที่ 11) |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มทักษะด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2. เพื่อสร้างชื่อเสียงด้านกีฬาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะด้านกีฬาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 11,840 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 11,840/6 = 1,973.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
747 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมสันทนาการและค่ายพัฒนาโรงเรียนไม้แก่นประชาอุทิศ |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาชมรมสันทนาการอาสาพัฒนา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสันทนาการ
2. เพื่อพัฒนาโรงเรียนไม้แก่นประชาอุทิศ |
เชิงปริมาณ
1. นักศึกษาชมรมสันทนาการอาสาพัฒนา จำนวน 199 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. พื้นที่โรงเรียนไม้แก่นประชาอุทิศได้รับการพัฒนา จำนวน 4 พื้นที่
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เก่ี่ยวกับการจัดกิจกรรมสันทนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใใจในการจัดโครงการ โดยมีความประเมิณเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
748 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวีธีการส่งเสริมการสอนภาษาไทยสำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 |
- เชิงปริมาณ
คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
- เชิงคุณภาพ
ครูผู้สอนภาษาไทยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 169,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 169,300/30 = 5,643.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
749 |
บรรยายเรื่อง สุข ทุกข์ในชีวิต อยู่ที่วิธีคิดและมุมมอง |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ความรู้ในการจัดการอารมณ์และวิธีคิดในการแก้ปัญหาชีวิต
2 เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนมุมมองการใช้ชีวิต
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาจำนวน 2,000 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการจัดการอารมณ์และวิธีคิดในการแก้ปัญหาชีวิต โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 28,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 28,500/2,000 = 14.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
750 |
มหาวิทยาลัยสีเขียว |
2567 |
เพื่อปลูกต้นไม้ให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาชมรมจิตอาสาฯ ได้ร่วมกันปลูกต้นไม้ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่น้อยกว่า 250 ต้น
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 15 |
 |
751 |
โครงการศึกษาดูงานด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจได้เปิดมุมและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้อเรียน
2. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พบงานที่ตนเองต้องการทำเมื่อจบการศึกษา
3. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ตลาดแรงงาน และเตรียมคุณสมบัติเพื่อให้สอดคล้องกับงาน |
เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านต่าง ๆ ตามศาสตร์ของแต่ละหลักสูตรได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเตรียมความพร้อมก่อนออกสู่ตลาดแรงงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
752 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อการใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ |
2567 |
1 เพื่อให้ครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลห้องสมุด มีความรู้ ความเข้าใจและ
มีสมรรถนะในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และการใช้ห้องสมุด
2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ และมีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
|
- เชิงปริมาณ : 1) จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) มีจำนวนสถิติการใช้บริการห้องสมุดเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อโรงเรียน
- เชิงคุณภาพ : 1) ครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการใช้ห้องสมุด สามารถบูรณาการเข้ากับกิจกรรมหลักของห้องสมุดได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 73,860 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 73,860/30 = 2,462 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
753 |
โครงการจัดงานการแสดงวิถีพหุวัฒนธรรมไทยพุทธ - มุสลิม |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาชมรมภาษาและวัฒนธรมได้เรียนรู้พหุวัฒนธรรม |
เชิงปริมาณ 1) สมาชิกชมรมภาษาและวัฒนธรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2) สมาชิกชมรมภาษาและวัฒนธรรม จำนวน 200 คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมจากบูทที่จัดตั้ง
เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่น้อยกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่น้อยกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
754 |
โครงการจัดงานเปิดโลกมุสลิม |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาชมรมมุสลิม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้รับความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของศาสนาอิสลาม |
51 ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
1.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชมรมมุสลิม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของศาสนาอิสลาม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
1.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
1.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,500 บาท
1.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
1) กิจกรรมที่ 1 บรรยาย เรื่อง ความงดงามของอิสลาม 1,200/200 = 6 บาท/คน
2) กิจกรรมที่ 2 การจัดบูธให้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของศาสนาอิสลาม 18,500/170 = 92.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
755 |
โครงการค่ายอาสาพัฒนาโรงเรียนบ้านคูศักดิ์สิทธิ์ |
2567 |
เพื่อพัฒนาภูมิทัศน์โรงเรียนบ้านคูศักดิ์สิทธิ์ |
1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาชมรมสิงห์อาสา จำนวน 105 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) พื้นที่โรงเรียนบ้านคูศักดิ์สิทธิ์ได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 3 พื้นที่
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,800/105 = 255.24 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
756 |
โครงการแข่งขันกีฬากรีฑา - กีฬาปาริฉัตรสัมพันธ์ ปีการศึกษา 2566 |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬาแก่นักศึกษา
2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 672 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพด้านกีฬา ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 671,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 671,200 /672 = 998.81 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
757 |
โครงการบรรยายเรื่อง สุข ทุกข์ในชีวิต อยู่ที่วิธีคิดและมุมมอง |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ความรู้ในการจัดการอารมณ์และวิธีคิดในการแก้ปัญหาชีวิต
2 เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนมุมมองการใช้ชีวิต
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาจำนวน 2,000 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการจัดการอารมณ์และวิธีคิดในการแก้ปัญหาชีวิต
โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 28,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 28,500/2,000 = 14.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
758 |
โครงการจัดงานสานสัมพันธ์องค์การนักศึกษา ภาค ปกติ ประจำปีการศึกษา 2566 |
2567 |
1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีให้กับคณะกรรมการองค์การนักศึกษาและอนุกรรมการองค์การนักศึกษาภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566
2. เพื่อให้คณะกรรมการองค์การนักศึกษาและอนุกรรมการองค์การนักศึกษา ภาคปกติ มีความรู้และทักษะความเป็นผู้นำ |
1 เชิงปริมาณ
1) คณะกรรมการองค์การนักศึกษาและอนุกรรมการองค์การนักศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะความเป็นผู้นำ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการโดยภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,240 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,240/38 = 1,190.53 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
759 |
โครงการพัฒนานักศึกษา : สโมสรนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ กิจกรรมที่ 2 จัดงานศิลปกรรมสัญจร ประจำปีการศึกษา 2566 |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ได้แสดงศักยภาพทางด้านศิลปะ และวัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ผลงานการแสดงรวมศาสตร์และศิลป์ จำนวน 1 ชุด
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
760 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสวัสดิการสังคม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703)(40,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสวัสดิการสังคม พุทธศักราช 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2.2 เพื่อทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีต่อหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสวัสดิการสังคม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568
|
5.1 เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสวัสดิการสังคม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
5.2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสวัสดิการสังคม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2568 ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
4.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท
4.5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 = 8,000 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
761 |
โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลฐานสมรรถนะเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการวิจัยสำหรับนักศึกษาครู กิจกรรมย่อยที่ 4.3 การสะท้อนผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับผลงานวิจัยผ่านการพัฒนาด้วยรูปแบบการวัดและประเมินผลฐานสมรรถนะ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์เกี่ยวกับการนำผลงานวิจัย และการประเมินผลงานวิจัยตามรูปแบบการวัดและประเมินผลฐานสมรรถนะ
|
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมการพัฒนาสมรรถนะการวิจัย จำนวน 60 คน
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนที่เข้าร่วมการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยมีสมรรถนะการวิจัย ด้านความรู้ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60
2) นักเรียนที่เข้าร่วมการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยมีสมรรถนะการวิจัย ด้านทักษะ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60
3) นักเรียนที่เข้าร่วมการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยมีสมรรถนะการวิจัย ด้านจรรยาบรรณ ในระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51- 5.00
4) นักเรียนที่เข้าร่วมการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51- 5.00
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,200/60 = 186.66 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
762 |
โครงการชุมชนดิจิทัล (Digital Community) เพื่อรองรับสังคมศตวรรษที่ 21 กิจกรรมที่ 1 ลงพื้นที่ ประเมินศักยภาพ ปัญหา เพื่อใช้ประเมินผลความสามารถด้านทักษะดิจิทัล ของคนในชุมชน |
2567 |
1. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย และชุมชน
2. เพื่อลงพื้นที่ ประเมินศักยภาพ ปัญหา และประเมินผลความสามารถด้านทักษะดิจิทัล ของคนในชุมชน |
จำนวนพื้นที่หน่วยงานของรัฐในจังหวัดสงขลา สตูล และพัทลุง จำนวน
11 หน่วยงาน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
763 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 (มรภ.สข 1107-67-0024)(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1. เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2. เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
|
1. เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรม
ศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
2. เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
764 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 (มรภ.สข 1107-67-0025)(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
2.1 เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2.2 เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
|
5.1 เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
5.2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
5.3 เชิงเวลา : สามารถปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา ได้ทันตาม
ระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท
5.5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 /7 = 5,741.28 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 |
 |
765 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1 เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2 เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
|
1 เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท
5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 /11 = 3,636.4 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
766 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1. เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2565
2. เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 |
เชิงปริมาณ : ได้หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 จำนวน 1 หลักสูตร 1 สาขาวิชา
เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนว
ปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
767 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1 เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2 เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
|
1 เชิงปริมาณ : ได้หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 จำนวน 1 หลักสูตร 1 สาขาวิชา2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท
5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 /8 = 5,000 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
768 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
2.1 เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2.2 เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
|
5.1 เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์
ประยุกต์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการ
มาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
5.2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.
2568 ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท
5.5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 /11 = 3,636.36 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
769 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
2.1 เพื่อจัดทำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2.2 เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
|
5.1 เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตร
ปรับปรุง พ.ศ. 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
คิดเป็นร้อยละ 100
5.2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ได้รับการ
ปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการ
อุดมศึกษา
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท
5.5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000/12 = 3,333.33 บาท : คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
770 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
2.1 เพื่อรวบรวมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
2.2 เพื่อนำข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาจัดทำร่างหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 |
เชิงปริมาณ : ได้หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 จำนวน 1 หลักสูตร 1 สาขาวิชา
เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 33,000 บาท
เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,000/7 = 4,714.29 บาท : คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
771 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1. เพื่อเพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
2. เพื่อปรับปรุงหลักสูตร เนื้อหาสาระ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ และสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน
|
1. เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
2. เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
3. เชิงเวลา : สามารถปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้ทันตามระยะวเลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 39,980 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 39,980/13 = 3,075.38 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
772 |
สัมมนาเรื่องปรับปรุงหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1. เพื่อนำผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไปออกแบบหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน
2. เพื่อให้ได้หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 |
เชิงปริมาณ : ได้หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 จำนวน 1 หลักสูตร 1 สาขาวิชา
เชิงคุณภาพ: หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน
เชิงเวลา : สามารถปรับปรุงหลักสูตรได้พร้อมใช้กับนักศึกษาปีการศึกษา 2568
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40000 บาท
เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ; 40000/7 = 5714.29 บาท;คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
773 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรเพื่อความยั่งยืน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1. เพื่อจัดทำหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรเพื่อความยั่งยืน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2565
2. เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรเพื่อความยั่งยืน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 |
เชิงปริมาณ : ได้หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรเพื่อความยั่งยืนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 จำนวน 1 หลักสูตร 1 สาขาวิชา
เชิงคุณภาพ : หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรเพื่อความยั่งยืน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568 ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
774 |
โครงการบริหารสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703)(สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ) |
2567 |
1. เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาสาระของหลักสูตร
2. เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของบัณฑิตให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน และการประกอบอาชีพ |
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : คณะวิทยาการจัดการ ได้รับการพัฒนาหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา จนเสร็จสมบูรณ์ ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 50,000 บาท
5. ต้นต่อหน่วยผลผลิต : 50,000/20 = 2,500 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
775 |
โครงการบริหารสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703)(สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ) |
2567 |
1.เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาสาระของหลักสูตร
2.เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของบัณฑิตให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน และการประกอบอาชีพ |
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : คณะวิทยาการจัดการ ได้รับการพัฒนาหลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา จนเสร็จสมบูรณ์ ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 50,000 บาท
5. ต้นต่อหน่วยผลผลิต : 50,000/20 = 2,500 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
776 |
พัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อการยกระดับสู่สากล กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว
2. เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยวในการสื่อสารภาษาอังกฤษและการให้ |
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 184,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 184,200/50 = 3,684 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
777 |
โครงการค่ายพัฒนาโรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์ |
2567 |
เพื่อปรับปรุงอาคารเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ และสร้างลานกิจกรรมให้กับโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ |
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาชมรมวิศวกรปันรอยยิ้มเพื่อท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน ๖๔ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) อาคารเรียนของโรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์ได้รับการปรับปรุง จำนวน 3 หลัง
3) โรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์มีลานกิจกรรม จำนวน 1 แห่ง
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 40,000 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 40,000/64 = 625 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
778 |
โครงการพัฒนาทักษะการเต้นสำหรับนักศึกษาชมรม SKRU Dance Club |
2567 |
1. เพื่อเสริมทักษะการเต้น Street Dance ให้กับนักศึกษาชมรม SKRU Dance Club
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ชมรม SKRU Dance Club มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาชมรม SKRU Dance Club จำนวน 94 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2) จำนวนการแสดงโชว์เต้น Street Dance ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการเต้น Street Dance ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
779 |
โครงการเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ว่าด้วยกิจกรรมนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีองค์กรกิจกรรมนักศึกษา ทำหน้าที่กำกับดูแลและบริหารงานกิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประกอบด้วย สภานักศึกษา องค์การนักศึกษา และสโมสรนักศึกษา ซึ่งในปีการศึกษา 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้แต่งตั้ง นางสาวซัลมา หมัดหลำ เป็นนายกองค์การนักศึกษา ภาคปกติ และจะครบวาระการดำรงตำแหน่งในวันที่ 30 เมษายน 2567 จึงจำเป็นต้องดำเนินการเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันก่อนปิดภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2566
ดังนั้น เพื่อให้การบริหารงานขององค์การนักศึกษา ภาคปกติ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ต่อเนื่อง และเกิดประโยชน์สูงสุดในการดำเนินกิจกรรมพัฒนานักศึกษา สภานักศึกษาจึงกำหนดจัดโครงการเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2567 ขึ้น
|
1.1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ภาคปกติ ไม่น้อยกว่า 4,000 คน ได้ใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2567
2.2 เชิงคุณภาพ
2.2.1 นักศึกษาเกิดการเรียนรู้หลักประชาธิปไตย โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
2.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,800 บาท
2.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,800/4,000 = 13.45 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
780 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของครูปฐมวัย
2. เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจวิธีการและประเมินแบบทดสอบวัดความฉลาดทางอารมณ์
3. เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ) สำหรับเด็กปฐมวัย
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 60 คน เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของ
ครูปฐมวัยและแบบทดสอบวัดความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ)สำหรับเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้มีแนวทางเพิ่มในการจัดกิจกรรมเสริมสมรรถนะเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 144,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 144,800/60 = 2,413.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
781 |
กิจกรรมที่ 4จัดแสดงสินค้าและวัฒนธรรมท้องถิ่นตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง(107,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมของชุมชนตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง สู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง โดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
|
1. เชิงปริมาณ : 1.1 เกิดตลาดวัฒนธรรมโคกม่วง 1 แห่ง
1.2 ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.3 มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
2. เชิงคุณภาพ : 2.1 เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
อย่างน้อย 2 เครือข่าย
2.2 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาทต่อ
ครัวเรือน/ปี
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 107,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 107,600/6 = 17,933.33 บาท/ครั้ง
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
782 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ |
2567 |
เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาให้แก่ผู้นำนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ |
1 เชิงปริมาณ
1.1 ผู้นำนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 6๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
1.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเขียนโครงการได้ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและการเขียนโครงการพัฒนานักศึกษา โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 คะแนน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 คะแนน
3.เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
783 |
โครงการเข้าร่วมประชุมทางวิชาการและการนำเสนอผลการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสต์ศึกษา |
2567 |
เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพทางวิชาการของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง |
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาและอาจารย์ จำนวน 19 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1. ผลงานทางวิชาการที่นักศึกษานำเสนอ ไม่น้อยกว่า 2 โครงการ
2. คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 3.2 และ 5.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 70,480 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 70,480/19 = 3,709 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
784 |
บรรยาย เรื่อง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์น่ารู้ |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ |
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาทุกชั้นปี จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200 /200 = 6 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
785 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง จิตตปัญญาพัฒนาตน |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้และพัฒนาตนให้มีสติในการดำเนินชีวิต |
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาและบุคลากร จำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้สะท้อนความคิดและมีแนวทางในการใช้จิตตปัญญาพัฒนาตนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 13,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 13,100/300 = 43.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
786 |
โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนการดำเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมเป็นหน่วยประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช |
2567 |
1 เพื่อสนองพระราชดำริในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
2 เพื่อตั้งเป็นหน่วยประสานงาน อพ.สธ. ประสานงานเพื่อขับเคลื่อนงานสนองพระราชดำริ อพ.สธ. ทั้งภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานภายนอกในภาคใต้ (เครือข่าย C อพ.สธ.-ภาคใต้)
3 เพื่อเป็นหน่วยข้อมูล 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ ฐานทรัพยากรกายภาพ ฐานทรัพยากรชีวภาพ และฐานทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในเขตภาคใต้ (เครือข่าย C อพ.สธ.-ภาคใต้)
|
1 เชิงปริมาณ
คณะอนุกรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษณ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,800 บาท/20 คน = 140 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
787 |
กิจกรรมเทศกาลดนตรีไทยและศิลปะการแสดงส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 มีเทศกาลดนตรีไทยและศิลปะการแสดงส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา จำนวน 1 เทศกาล
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ร้อยละความสุขมวลรวม (GVH) ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 41
5.2.2 มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
5.2.3 ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดเทศกาลดนตรีและศิลปะ 12,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1๔๐,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1๔๐,000/100 = 1,400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 12 |
 |
788 |
โครงการจัดงานวันราชภัฏ ประจำปี 2567 |
2567 |
1. เพื่อถวายราชสักการะพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
|
1. เชิงปริมาณ : คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จำนวน 2,500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 2,200 คน ได้ทราบประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 116,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 116,000/2,500 = 46.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
789 |
โครงการศึกษาความเป็นไปได้และสัมมนาการปรับปรุง หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต |
2567 |
1. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และการจัดการเชิงบูรณาการการทำงาน
2. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดสอนของหลักสูตรที่จะดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร
3. เพื่อทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิ
4. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างหลักสูตรกับสถานประกอบการในการร่วมกันผลิตบัณฑิตเพื่อเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๕๐๐ คน
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการตอบแบบสอบถามได้ตามเกณฑ์ผลลัพธ์การเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ๑5,000 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ๑5,000/๕๐0 = ๓๐ บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
790 |
จัดงานประกวดการอ่านอัลกุรอานและการขับร้องอนาชีดต้อนรับเดือนรอมฎอน |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงศักยภาพด้านการอ่านอัล-กุรอานและการขับร้องอนาชีด |
1 เชิงปริมาณ
1) ผู้เข้าร่วมประกวดการอ่านอัล-กุรอานจำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) วงอนาชีดจำนวน 7 วง (วงละ 3 คน) เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) ผู้สนใจทั่วไป (ผู้ชม) จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมโดยภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 40,000 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
791 |
อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูประจำปีการศึกษา 2565 |
2567 |
2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท
และคุณลักษณะของครูมืออาชีพ
2.2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการกำหนดเป้าหมาย
2.3. เพื่อร่วมแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และภูมิใจ
2.4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู
2.5. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพและทักษะในศตวรรษที่ 21
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 94,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 94,100 / 180 = 522.77 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 |
 |
792 |
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2568(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
1.เพื่อนำผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างไจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกไปใช้ในการออกแบบพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2568
2.เพื่อจัดทำเล่มหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2568
|
เชิงปริมาณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สามารถพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา
หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2568 จำนวน 1 หลักสูตร 1 สาขาวิชา
เชิงคุณภาพ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2568 สามารถพัฒนาหลักสูตรได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
และแนวทางการพัฒฯาหลักสูตรแบบ OBE โดยได้หลักสูตรที่ตรงตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและตอบสนองต่อ
ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมต่างๆ ของโครงการได้สำเร็จภายในเวลาที่กำหนดจัดโครงการ
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
793 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างแกนนำวิศวกรสังคม |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม
2. เพื่อสร้างกลไกการพัฒนากระบวนการศึกษาเพื่อเข้าสู่กระบวนการวิศวกรสังคม
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ :
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม 4 ประการ ได้แก่ นักคิด นักสื่อสาร นักประสาน และนวัตกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,000/200 = 110 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
794 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ขยับกายสบายชีวี |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมีสุขภาพที่ดี
2 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
|
1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมขยับกายสบายชีวี ไม่น้อยกว่า 12 ครั้ง
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกต้องโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,200/500 = 54.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
795 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 (กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 โรงเรียน) มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ที่สูงขึ้น |
- เชิงปริมาณ
คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
- เชิงคุณภาพ
นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,350 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,350/120 = 1,211.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
796 |
โครงการบรรยาย เรื่อง การออมเงินเพื่ออนาคต |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการออมเงิน |
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 100 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการออมเงิน โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,200 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,200/100 = 152 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
797 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ "ภาพพิมพ์จากกระบวนการภาพถ่าย (Cyanotype)" |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อให้ความรู้และทักษะการสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรมสู่เยาวชน/ประชาชน และผู้ประกอบการใน จังหวัดสงขลา
2.2 เพื่อต่อยอดคุณค่าสุนทรียศาสตร์ในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลา
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 ประชาชน/ผู้ประกอบการในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลา ได้ผลิตภัณฑ์ที่ระลึกจากผลงานภาพพิมพ์ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึก จำนวน 5 รูปแบบ
5.1.2 ชุมชน/ผู้ประกอบการนำทักษะที่ได้รับจากโครงการไปสร้างรายได้เพิ่มขึ้น 12,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ร้อยละความสุขมวลรวม (GVH) ของ ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 41
5.2.2 มีรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,650 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 39,650/30 = 1,321.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 |
 |
798 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสรรคฺ์การแสดงประกอบเพลงประจำชุมชนตะโหมด |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงที่ใช้ประกอบเพลงประจำชุมชนตะโหมด
2.2 เพื่อสร้างนักแสดงสำหรับใช้ส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของชุมชนตะโหมด
2.3 เพื่อสร้างนวัตกรรมการแสดงที่ช่วงส่งเสริมสุขภาวะให้กับชาวบ้านชุมชนตะโหมด
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 ชาวบ้านตำบลตะโหมด จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 มีชุมชนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 2 หมู่บ้าน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการสร้างสรรค์การแสดงประกอบเพลงประจำชุมชนตะโหมด โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
5.2.2 ร้อยละความสุขมวลรวม (GVH) ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 41
5.2.3 มีรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 29,040 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 29,040 /40 = 726 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 |
 |
799 |
โครงการอบรมเชิงปฏฺิบัติการ เรื่อง อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีการศึกษา 2567 |
2567 |
2.1 เพื่อให้กรรมการสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ
ในการเขียนโครงการ จัดโครงการ และสรุปโครงการได้อย่างถูกต้อง
2.2 เพื่อให้กรรมการสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สามารถใช้งบประมาณเงินค่ากิจกรรมนักศึกษา ภาคปกติ ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
|
5.1 เชิงปริมาณ : 1. กรรมการสโมสรนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 40 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. สโมสรนักศึกษาฯ มีแผนการจัดกิจกรรม จำนวน 1 แผน
3. กรรมการสโมสรนักศึกษาฯ สามารถเขียนโครงการได้ไม่น้อยกว่า 4 โครงการ
5.2 เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 58,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 1,465 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
800 |
โครงการ การสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และการปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 |
2567 |
2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจในการสัมมนาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2
2.2. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์และนำเสนอการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 ได้ รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 / 180 = 222.22 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 11 |
 |
801 |
โครงการ จัดงานครูจิตอาสาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ |
2567 |
2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท
และคุณลักษณะของวิชาชีพครู
2.2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องจิตอาสาการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาชุมชนและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริง
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 156,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 156,600 / 180 = 870 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 6 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
802 |
โครงการรับการตรวจเยี่ยมผลการดำเนินงานโครงการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567และบรรยายพิเศษ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
2567 |
1 เพื่อรับการตรวจเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานโครงการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ของ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี
2 บุคลากรและผู้นำนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับความรู้ในการร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่น การผลิตครู การยกระดับคุณภาพ และการพัฒนาระบบบริหารจัดการและมุ่งเน้นการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยังยืน
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร บุคลากร ผู้นำนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 700 คนเข้าร่วม
โครงการน้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการทราบผลการติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 264,075 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต กิจกรรมที่ 1 จำนวน 192,075 / 75 = 2,561 บาท/คน
กิจกรรมที่ 2 จำนวน 72,000 /700 = 102.85 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
803 |
โครงการศึกษาดูงานการเรียนรู้ทางสาขาวิชาด้านดนตรีศึกษา |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางด้านดนตรีศึกษาและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีศึกษากับหน่วยงานมหาวิทยาลัยเครือข่าย
2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางดนตรีศึกษาที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้จริง
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา รหัส 66 จำนวน 7 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,000/7 = 9,571.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 11 |
 |
804 |
โครงการ สัมมนาผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง |
2567 |
เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดกระบวนการทำงานเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างโรงเรียนและมหาวิทยาลัย |
1 เชิงปริมาณ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 320 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 39,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 39,100/320 = 122.1875 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 13 |
 |
805 |
โครงการชุมชนดิจิทัล (Digital Community) เพื่อรองรับสังคมศตวรรษที่ 21 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรสื่อนวัตกรรมแพลตฟอร์มเพื่อพัฒนาชุมชนดิจิทัล |
2567 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้และทักษะดิจิทัล
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2.3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสามารถนำองค์ความรู้และทักษะดิจิทัลไปถ่ายทอดให้กับชุมชนในเครือข่าย
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 130 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : 5.2.1 พนักงานเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 11 แห่ง ที่เข้ารับการ อบรม มีทักษะความรู้ทางด้านดิจิทัลที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 181,920บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 181,920/130 = 1,399.38 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
806 |
โครงการประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม |
2567 |
1. เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม
2. เพื่อให้ทราบปัยหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม |
1.เชิงคุณภาพ นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาวิศวกรสังคม และคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการฯ จำนวน 180 คน เข้าร่วมประชุมการนำเสนอความก้าวหน้าโครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม ได้รับการแก้ไขไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,500/180 = 69.44 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
807 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษา |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการได้
2 เพื่อเพิ่มศักยภาพความเป็นผู้นำให้กับนักศึกษา
3 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมีทักษะในการจัดกิจกรรม
4 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การทำงานระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน
|
1. เชิงปริมาณ 1) ผู้นำนักศึกษาและบุคลากร จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้นำนักศึกษาและบุคลากร สามารถเขียนโครงการได้ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ
3) ผู้นำนักศึกษาและบุคลากร สามารถจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการทำงานโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 404,300 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 404,300 /90 = 4,492.22 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
808 |
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล(49,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ดูแลและผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและจัดการภาวะสมองสื่อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
2. เพื่อประเมินผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
3. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
|
1 เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 1. จำนวนภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย
2. ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3. มีการรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 49,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 49,800/30 = 1,660 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
809 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 12 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเรียนรู้เกี่ยวกับบอร์ดเกมเพื่อพัฒนาทักษะด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนผ่านบอร์ดเกม Battle of the number |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะด้านคณิตศาสตร์
2 เพื่อให้ครูคณิตศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมที่เหมาะสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย
3 เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านการคำนวณของนักเรียน และสามารถไปแข่งขันในระดับประเทศและระดับนานาชาติ
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนและนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 140 คน เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การเรียนรู้เทคนิคการวางแผนเชิงกลยุทธ์ผ่านการเล่นบอร์ดเกม Battle Of the Number เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การแข่งขันการวางแผนกลยุทธ์ผ่านบอร์ดเกม Battle Of the Number เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 80,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 80,000/140 = 571.14 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
810 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและมีรายได้เพิ่มขึ้น
2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
3. ชุมชนในพื้นที่บริการได้รับการยกระดับเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตด้วยความองค์ความรู้ทางวิชาการของมหาวิทยาลัย และประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
4. เพื่อประเมินผลลัพธ์ทางสังคมและผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน(SROI) รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุล |
เชิงปริมาณ : - ชุมชนเกาะยอมีหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 9 หมู่บ้าน/300 คน
เชิงคุณภาพ : - มีเครือข่ายร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างน้อย 8 เครือข่าย
- รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า12,000 บาทต่อครัวเรือน/ปี
- มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI)
จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 398,050 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 398,050/300 = 1,326.83 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
811 |
โครงการทัศนศึกษา "เปิดโลกกว้างสู่การเรียนรู้" นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ตรง จากการศึกษาหาความรู้นอกสถานที่
2. เพื่อได้ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มการแสวงหา่ความรู้ด้วยตนเอง
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและโบราณสถานโบราณวัตถุ เกิดความรัก ชื่นชมหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในท้องถิ่น
5. เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ชมสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญๆ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆตามความเหมาะสมแก่วัย
6. เพื่อให้นักเรียนมีความสามัคคีในหมู่คณะ |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 397 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการไปทัศนศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นุทนต่อหน่วยกิจกรรม 198,440 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 198,440/ 397 = 499.85 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
812 |
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) ครั้งที่ 2" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002 |
2567 |
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ
2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้
|
1.เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน
จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม
จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 59,100 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 59,100/100 = 591 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 17 |
 |
813 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 5 จัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อจัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
1 เชิงปริมาณ
1)คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเ
ด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
2) โครงงานวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศจำนวน 32 โครงการ
2 เชิงคุณภาพ
ครูผู้สอนปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนได้แนวทางการเพิ่มทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 64,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 64,600/32 = 2,018.75 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
814 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 10 จัดพื้นที่สร้างสุขสนุกเรียน (Living library) เพื่อส่งเสริมการใช้ห้องสมุด |
2567 |
2.1 เพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนให้มีความพร้อมในการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 เพื่อยกระดับห้องสมุดของโรงเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
2.3 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
|
- เชิงปริมาณ : จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ : นักเรียน และบุคลากรของห้องสมุดโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 จำนวน 15 โรงเรียน มีความพึงพอใจ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 200,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 200,600/15 = 13,373.33 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
815 |
โครงการจัดงานสานสัมพันธ์เครือข่ายสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5 ราชภัฏ |
2567 |
๒.๑ เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนานักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕ ราชภัฏกลุ่มภาคใต้
2.๒ เพื่อแลกเปลี่ยนและสร้างความสัมพันธ์อันดีของผู้นำนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕ ราชภัฏ กลุ่มภาคใต้
|
5.1 เชิงปริมาณ - ตัวแทนสโมสรนักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
๕ ราชภัฏ กลุ่มภาคใต้ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการในส่วนของผู้นำนักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความเป็นผู้นำสำหรับผู้นำนักศึกษา
โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๔๑,๐๐๐ บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 820 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
816 |
กิจกรรมที่ 1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ Focus Group เพื่อวิเคราะห์ SWOT ของ 4 ตำบล อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา |
2567 |
1. เพื่อทราบบริบทของชุมชน ทั้ง 4 ตำบลของอำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา
2. เพื่อพัฒนาแผนการจัดหลักสูตรการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
3. เพื่อจัดกิจกรรมเสริมสมรรถนะกลุ่มอาชีพของชุมชน
4. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ
|
1. เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน/ตำบล เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีการร่วมวิเคราะห์ SWOT ของ 4 ตำบล อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จำนวน 1 ครั้ง
- มีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับงานบริการวิชาการอย่างน้อย 1 รายวิชา
2. เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20
- มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 80,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 80,000/80 = 1,000 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
817 |
โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนยั่งยืนสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ กิจกรรมที่ 3 อบรม เชิงปฏิบัติการด้านการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านสื่อออนไลน์การทำแผนธุรกิจ |
2567 |
1 เพื่อพัฒนาทักษะด้านการตลาดออนไลน์ให้แก่ผู้ประกอบการชุมชนได้มีความพร้อมในการขายในแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ
2 เพื่อส่งเสริมด้านการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ
|
1 เชิงปริมาณ
1) ผู้ประกอบการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย ร้อยละ 80
2) ผู้ประกอบการที่มีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น อาทิเช่น เพจสินค้า ช่องทาง TikTok จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ช่องทาง
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้ประกอบการที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะการขายออนไลน์ดีขึ้น ร้อยละ 20
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 19,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 19,900/20 = 995 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
818 |
โครงการปฐมนิเทศก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบายและประเมินทักษะ ความพร้อมของตนเองก่อนฝึกงาน
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ในการฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 39 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ :
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติการสร้างภาพลักษณ์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดแนวทางการนำทักษะไปใช้สำหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบอาขีพในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 2,940 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 2,940 บาท /39 คน = 75.38 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
819 |
โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการให้ความรู้อนุรักษ์และขยายพันธุ์พืชให้แก่ครูและนักเรียน โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
2567 |
1 เพื่อส่งเสริมการทำงานขับเคลื่อนสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสาธิตเข้าสู่การดำเนินงานตามมาตรฐาน อพ.สธ.
2 เพื่อส่งเสริมให้มีการสร้างกิจกรรมด้านสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียนสาธิตเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดแสดงนิทรรศการด้านสวนพฤกษศาสตร์ในโครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืช
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 61 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,200 /61 = 445 บาท /คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
820 |
โครงการจัดงานประกวดคลิปวิดีโอรณรงค์ป้องกันยาเสพติด ความปลอดภัย และโภชนาการที่ดี |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถด้านการออกแบบคลิปวิดีโอรณรงค์ป้องกันสิ่งเสพติด การสวมหมวกกันน็อค และสุขภาวะที่ดี |
1 เชิงปริมาณ มีผลงานสื่อประชาสัมพันธ์เข้าร่วมประกวด ไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน
2 เชิงคุณภาพ มีผลงานเพื่อใช้ในการรณรงค์ด้านการป้องกันสิ่งเสพติด ความปลอดภัยบนท้องถนน และ
โภชนาการที่ดี ไม่น้อยกว่า 12 ผลงาน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,000/20 = 750 บาท / คน/ทีม
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
821 |
จัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567(68,000 บาท) |
2567 |
1 เพื่อถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
2 เพื่อส่งเสริมการทำกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดีด้วยหัวใจ” ถวายในหลวงเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
|
1 เชิงปริมาณ
1) บุคลากรและนักศึกษา จำนวน 2,500 คน ได้ร่วมถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) บุคลากรและนักศึกษาได้ร่วมกันบริจาคโลหิต ไม่น้อยกว่า 200 คน
3) พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับการพัฒนาให้มีความสะอาดเพิ่มขึ้นจำนวน 10 พื้นที่
4) มหาวิทยาลัยมีต้นปาริฉัตรเพิ่มขึ้น จำนวน 72 ต้น
5) ชุมชนบ้านบ่ออิฐมีบ้านปลาเพิ่มขึ้น จำนวน 72 สาย
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
822 |
การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ที่ปรึกษา ประจำปีการศึกษา 2567(40,220 บาท) |
2567 |
1 เพื่อพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ในการดูแลและช่วยเหลือนักศึกษา
2 เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ที่สนใจทราบนโยบายของมหาวิทยาลัยในการดำเนินงานด้านอาจารย์ ที่ปรึกษา
|
1 เชิงปริมาณ อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567 และผู้สนใจ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 40,220 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 40,220 /150 = 268.13 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
823 |
โครงการชุมชนดิจิทัล (Digital Community) เพื่อรองรับสังคมศตวรรษที่ 21 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างชุมชนต้นแบบดิจิทัล (Digital Community) เพื่อรองรับสังคมศตวรรษที่ 21 |
2567 |
2.1 เพื่อเตรียมความพร้อมเป็นพี่เลี้ยงพัฒนาทักษะดิจิทัลให้กับชุมชนในหลักสูตรการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-document) ต้นแบบของเทศบาลตำบลเกาะแต้ว
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมงานต่าง ๆอย่างมีประสิทธิภาพ
|
- เชิงปริมาณ : ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่เข้าร่วมอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : 5.2.1 พนักงานเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 10 แห่ง ที่เข้ารับการอบรม
มีทักษะความรู้ทางด้านดิจิทัลที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
5.2.2 จำนวนชุมชนต้นแบบดิจิทัลที่ได้รับการพัฒนาทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
จำนวน 1 ชุมชน
5.2.3 จำนวนชุมชนที่มีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้น จำนวน 1 ชุมชน
5.2.4 รายงานการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
5.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
824 |
เตรียมความพร้อมและปรับความรู้พื้นฐานนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567(122,646 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาใหม่ มีความรู้ ในรายวิชาพื้นฐาน/วิชาเอกของแต่ละหลักสูตร
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสปรับตัวเองในด้านการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยก่อนการศึกษาจริง ตลอดระยะเวลา 4 ปี
|
5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : นักศึกษาใหม่ชั้นปีที่ 1 จำนวน 356 คน เข้าเรียนปรับพื้นฐานได้ไม่น้อย
กว่าร้อยละ 80
5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อ
ที่จัด โครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
825 |
เตรียมความพร้อมและปรับความรู้พื้นฐานนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567(110,250 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ มีความรู้ในรายวิชาพื้นฐาน/วิชาเอกของคณะ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบริบทของคณะและมหาวิทยาลัย
3. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ทุกคนมีการปรับตัวในการเรียนรู้การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย และสามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ต่างสถาบันและก่อให้เกิดความรักสามัคคีซึ่งกันและกัน
4. เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสปรับตัวเองในด้านการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยก่อนการศึกษาจริงตลอดระยะ 4 ปี
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ชั้นปีที่ 1 จำนวน 210 คน เข้าเรียนปรับพื้นฐานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
826 |
โครงการทัศนศึกษา "เปิดโลกกว้างสู่การเรียนรู้" ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) |
2567 |
1. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในการทัศนศึกษาชวนหนูสู่โลกกว้างระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3)
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการทัศนศึกษาไปถ่ายทอดได้
|
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) จำนวน 216 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากการไปทัศนศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,500/216 = 16.20 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 3 |
 |
827 |
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามหลักปฏิบัติทางศาสนา |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้หลักธรรมทางศาสนาและเข้าใจฝึกปฏิบัติธรรมเพื่อพัฒนาตนเองอย่างถูกต้อง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักธรรมและกิจกรรมพิธีกรรมทางศาสนา |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 363 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการฝึกปฏิบัติศาสนกิจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,460 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,460/363 ช 39.83 [km/8o
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
828 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
2567 |
1. เพื่อสำรวจความต้องการครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
2. เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไปวิเคราะห์ความต้องการ/ปัญหา
|
เชิงปริมาณ :
1. ครัวเรือนยากจน จำนวน 41 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาทต่อครัวเรือน/ปี
เชิงคุณภาพ :
1. ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการ มีแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพ
ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
2. มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 21,700 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 16 |
 |
829 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบ้ติการ "การสร้างสรรค์การแสดงมนต์เสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลาให่กับนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ" |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงชุดมนต์เสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลา รูปแบบนาฏศิลป์ร่วมสมัย ไทย-จีน ให้แก่นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้มีศักยภาพด้านนาฏศิลป์ไทยและนาฏศิลป์จีน
2.3 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงชลาจากนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิให้มีทักษะด้านการแสดงรอบด้าน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 ชุมชนได้รับการพัฒนา Soft Power จำนวน 1 ชุมชน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 21,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 21,600/24 = 900 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
 |
830 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วงดุริยางค์เครื่องลมเยาวชนสงขลา |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพชุมชนซอฟต์พาวเวอร์ด้วยองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมดนตรีร่วมสมัย
2.2 เพื่อยกระดับกิจกรรมวงดุริยางค์เครื่องลมที่มีในชุมชนเป็นการแสดงที่มีศักยภาพและมีมูลค่าสูง
2.3 เพื่อสร้างคุณค่า ผลักดัน ซอฟต์พาวเวอร์ด้วยการแสดงดนตรีร่วมสมัยให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 จำนวนชุมชนทีได้รับการพัฒนาซอฟต์พาวเวอร์อย่างน้อย 5 ชุมชน
5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 จำนวนชุมชนที่มีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นร้อยละ 41
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 41
5.2.3 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะดีขึ้นร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 406,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 406,100 /80 = 5,076 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
 |
831 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ |
1 เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทุกชั้นปี จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีผลงานการแสดงการเป็นผู้ประกอบการไม่น้อยกว่า 4 ผลงาน
3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
832 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำสเปรย์ไล่ยุงและสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้หอมและสมุนไพรในท้องถิ่น |
2567 |
1. การพัฒนานวัตกรรมและนำมาใช้ให้เกิดการบูรณาการระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้สมัยใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดนวัตกรรมสู่ชุมชน
2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถคำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึงพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
|
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
833 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมจากระบบสมองกลฝังตัว |
2567 |
1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณที่ใช้ระบบสมองกลฝังตัวเป็นสื่อ สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมระบบสมองกลฝังตัว และสามารถพัฒนานวัตกรรมแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันจากระบบสมองกลฝังตัว
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุน การศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 10 คน (จาก 10 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 20 คน (จาก 10 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาความเป็นนวัตกรของนักเรียนโดยใช้ระบบสมองกลฝังตัวเป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจและมีความเป็นนวัตกร อันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณโดยใช้ระบบสมองกลฝังตัวเป็นสื่อ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 127,560 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 127,560 /10 = 12,756 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
834 |
กิจกรรมสำรวจความต้องการของครัวเรือนยากจน |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
๒.๑ เพื่อสำรวจความต้องการครัวเรือนยากจน พื้นที่ตำบลบ่อยาง ตำบลพะวง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา และตำบลแม่ขรี ตำบลตะโหมด จังหวัดพัทลุง
๒.๒ เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไปวิเคราะห์ความต้องการ/ปัญหา
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 ครัวเรือนยากจน จำนวน 20 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาท
ต่อครัวเรือน/ปี
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.2 ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการ มีแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพ
ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
5.2.3 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI)
จำนวน 1 รายงาน
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 9,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 9800/20 = 480บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
 |
835 |
โครงการจัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบ MGT “มนต์รักลูกทุ่ง ย้อนยุคชาวใต้” |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการได้แสดงความสามารถเชิงสร้างสรรค์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย |
1. เชิงปริมาณ
- นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการจำนวน 680 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
- มีชุดการแสดงตามประเพณีไม่ต่ำกว่า 7 ชุด/เรื่อง
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 31,400 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 31,400/680 = 46.18 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
836 |
โครงจัดงานสานสัมพันธ์พี่น้องครุศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาใหม่ และรุ่นพี่คณะครุศาสตร์ |
5.1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 288 คน
2) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 ได้เข้าร่วมกิจกรรมฐาน จำนวน 10 ฐาน
3) นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 ได้เข้าร่วมการละเล่นพื้นบ้านสัมพันธ์จำนวน 4 ชนิด
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 22,300 /360 = 61.94 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
837 |
โครงการจัดงานสืบสานศิลป์บายศรีสู่ขวัญ ประจำปีการศึกษาา 2567 |
2567 |
1 เพื่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของไทย
2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับนักศึกษาใหม่
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 2,550 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่ด้วยกัน รุ่นพี่ และคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม175500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 175500/2,550 = 68.82 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
838 |
โครงการจัดงานพิธีอัญเชิญตราและมอบเข็มเครื่องหมายสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
1 เพื่อมอบเข็มเครื่องหมายสัญลักษณ์ให้แก่นักศึกษาใหม่
2 เพื่อให้ความรู้ เรื่อง ตรามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาแก่นักศึกษาใหม่
|
1. เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 2,550 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับเข็มเครื่องหมายสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตรามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 181,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 181,000/2,550 = 70.98 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
839 |
สัมมนาและบรรยายพิเศษ เรื่อง การจัดการศึกษารูปแบบใหม่ และวิกฤตอุดมศึกษาไทยและทางออก |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ และพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนให้พร้อมรองรับการจัดการศึกษารูปแบบใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ เกี่ยวกับวิกฤตอุดมศึกษาไทยและทางออก ให้กับบุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุน
3. เพื่อค้นหาจุดเด่นด้านการศึกษา จุดเด่นด้านการวิจัยและนวัตกรรม และจุดเด่นด้านการพัฒนาท้องถิ่นให้มหาวิทยาลัย เพื่อนำไปต่อยอดในการดำเนินการ SKRU Transformation ต่อไป
|
- เชิงปริมาณ : บุคลากรมหาวิทยาลัยและผู้สังเกตการณ์ จำนวน 681 คน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 98,390 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตกิจกรรมที่ 1 : 29,655/52 = 570.29 บาท/คน
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตกิจกรรมที่ 2 : 68,735/681 = 100.93 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
840 |
โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2569 |
2567 |
1.เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม ชุมชนท้องถิ่น และกลุ่มเป้าหมาย ให้มีความสอดคล้องกับสภาวการณ์ของประเทศด้านการจัดการศึกษาในปัจจุบัน
2. เพื่อให้การปรับปรุงหลักสูตรเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
|
- เชิงปริมาณ : หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ได้ศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงเนื้อหาสาระของหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จำนวน 1 หลักสูตi
- เชิงคุณภาพ : หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ได้ศึกษาความเป็นไปได้ มีการรวบรวมข้อมูล รับทราบข้อมูลและทิศทางในการปรับปรุงเนื้อหาสาระของหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 100
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นตามเวลากำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 15,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 15,000/416 = 36.06 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
841 |
โครงการจัดงาน SCI -TECH สานสัมพันธ์น้องพี่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่กับนักศึกษารุ่นพี่ |
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 450 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2. จำนวนกิจกรรมที่นักศึกษาทำร่วมกันไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรม
- เชิงเวลา สามารถดำเนินงานได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 70,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 70,000/450=155.55บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
842 |
จัดงานแรกพบศิลปกรรม ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับนักศึกษาใหม่ |
1 เชิงปริมาณ 1. นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. จำนวนกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ที่นักศึกษาได้ทำร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ ไม่ต่ำกว่า 3.51
3.ชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
843 |
โครงการ รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบข้อเขียน
2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบสัมภาษณ์
|
5.1 เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของกลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,850 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,850 /180 = 188.05 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
844 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การนิเทศในชั้นเรียนและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
1 เพื่อให้ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ ความเข้าใจด้านกระบวนการนิเทศ
2 เพื่อให้ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สามารถนิเทศและให้คำแนะนำครูผู้สอนได้ตามกระบวนการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3 เพื่อให้ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัด
4 เพื่อให้ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัดได้อย่างถูกต้อง
|
1 เชิงปริมาณผู้เข้าร่วมจำนวน 127 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเพิ่มทักษะการนิเทศและให้คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัด สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 282,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 282,000/127 = 2,220.47 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
845 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน |
2567 |
1. เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
2. เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน
3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา
|
เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองสงขลา
จ.สงขลา จำนวน 25 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการครบทุกครัวเรือน
เชิงคุณภาพ :
- รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 หลังจากที่ได้วัสดุอุปกรณ์และได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ (รอผลการติดตาม)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากเดิม
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 99 และขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยที่มีโครงการนี้ขึ้นมา
- ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
ชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 255,450 บาท ใช้จริง 244,594 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
846 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี
2 เพื่อเตรียมความพร้อม ให้กับผู้นำกิจกรรมนักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจและสามารถเป็นผู้นำกิจกรรมนักศึกษาได้ค่าเฉลี่ย
ไม่น้อยกว่า 3.51
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,700 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,700/50 = 314 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
847 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้หุ่นยนต์ |
2567 |
1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
ที่ใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อ สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ได้
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และจังหวัดสตูล ที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 15 คน (จาก 15 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 30 คน (จาก 15 โรงเรียน) เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักเรียนระดับประถมศึกษามีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจและมีความคิดสร้างสรรค์อันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณโดยใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) ครูและนักเรียนมีความพึงพอต่อกิจกรรม 3 ด้าน (ความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้)
ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าระดับ 4
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 73,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 73,000/15 = 4,866.66 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 |
 |
848 |
โครงการ พัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อการยกระดับสู่สากล กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ให้บริการด้านอาหารและที่พัก |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของผู้ให้บริการด้านอาหารและที่พัก
2. เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ให้บริการด้านอาหารและที่พักในการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับ การบริการและการให้ข้อมูลต่าง ๆ แก่ชาวต่างชาติ
|
1 เชิงปริมาณ
จำนวนประชาชนที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับชุมชนสู่สากล จำนวน 35 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่อบรมและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 จำนวนชุมชนที่มีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้น 1 ชุมชน
2.5 รายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 ฉบับ
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,000/35 = 1,514.28 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
849 |
โครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 7.1: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 7.1.3: อบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประหยัดพลังงาน/พลังงานหมุนเวียน กลไกภาษีคาร์บอนและคาร์บอนเครดิต |
2567 |
2.1 เพื่อให้ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ คาร์บอนเครดิตเพื่อสร้างความตระหนักรู้ในระดับชุมชน/ท้องถิ่นแก่ชุมชนเป้าหมายจังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล
2.2 เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้ชุมชนเกิดทักษะการทำงานร่วมกันโดยเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน (SDGs)
2.3 เพื่อนำแผนการจัดการทรัพยากรชุมชนจากปีที่ 1 แปลงสู่การปฏิบัติการเชิงพื้นที่ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) จังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล
|
- เชิงปริมาณ
- ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20
- จำนวนชุมชนต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อม 1 แห่ง
- เชิงคุณภาพ
- ชุมชนนำองค์ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนกับการพัฒนาชุมชนและความรู้เรื่องเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร การประหยัดพลังงาน เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ กลไกภาษี และคาร์บอนเครดิต ไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม ไม่น้อยกว่า 1 ชุมชน
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 220,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 220,200/200 = 1,101 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 17 |
 |
850 |
โครงการตรวจสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจำปี 2567 |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อสืบค้นความบกพร่องและความผิดปกติของโรค
2. เพื่อให้บุคลากรได้รับสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี |
1. เชิงปริมาณ : บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
851 |
ประชุมทำความเข้าใจระบบกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และลงนามในสัญญาและ แบบยืนยันการเบิกเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาผู้กู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษารายใหม่ รายเก่าย้ายสถานศึกษา และผู้ปกครอง ทราบขั้นตอนการดำเนินงานเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาและลงนามในเอกสารที่เกี่ยวข้อง |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาผู้กู้รายใหม่ รายเก่าย้ายสถานศึกษา และผู้ปกครอง จำนวน 3,600 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดำเนินการด้านเอกสารของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
852 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแสดงโนราชุด "จากถิ่นซิงกอร่าสู่สงขลาเมืองมรดกโลก" แก่นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงโนราชุด "จากถิ่นซิงกอร่า สู่สงขลาเมืองมรดกโลก"
2.2 เพื่อสร้างนักแสดง และชุดการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของย่านเมืองเก่าสงขลา
2.3 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่นักเรียน และสามารถต่อยอดกิจกรรมสู่การสร้างรายได้จากการแสดงชุมชน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 ชุมชนที่ได้รับการพัฒนา Soft Power จำนวน 1 ชุมชน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000/20 = 900 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
 |
853 |
โครงการจัดงานพิธีสมโภชและถวายเทียนพรรษา ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้ร่วมอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีถวายเทียนพรรษา |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 100 คน เข้าร่วม โครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
854 |
โครงการจัดงานพิธีสมโภชและถวายเทียนพรรษา ประจำปีการศึกษา 2567 |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้ร่วมอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีถวายเทียนพรรษา |
เชิงปริมาณ นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 100 คน เข้าร่วม โครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
855 |
อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักปลอดสารพิษบนแคร่ |
2567 |
1 เพื่อให้ชาวบ้านมีพืชผักที่มีคุณภาพไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
2 เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่ความมั่นคง และยั่งยืนผ่านกระบวนการมองภาพอนาคต (FORESIGHT)
3 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้สมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน
ได้อย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
|
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ 1. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 12,000 บาทต่อคัวเรือน/ปี
2. ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3. มีการรายงานประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
856 |
โครงการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยังยืน |
2567 |
1.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีแผนการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร และส่งเสริมให้หน่วยงานเกิดความตืนตัวและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งตระหนักถุงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและประหยัด โดยบุคลากรมีส่วนร่วใในการจัดการสิ่งแวดล้อมและขยะการลดใช้พลังงาน
2.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย การลดใช้พลัง สู่ความยังยืน และมีระบบการบริหารจัดการขยะ ของเสีย อย่างถูกต้อง ตั้งแต่ระดับต้นทางโดยเน้นการลดปริมาณขยะ (Reduce) นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ระดับกลางทาง เน้นการส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะเพื่อให้สามารถนำขยะกลับมาใช้ซ้ำหรือใช้ใหม่ และระดับปลายทาง นำขยะเข้าสู่กระบวนการกำจัดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถลดภาวะค่าใช้จ่ายด้านการบริหารจัดการขยะของมหาวิทยาลัย เพือเปลี่ยนแปลงขยะ ให้เกิดมูลค่า ได้
3.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีบุคลากรที่มีความรู้ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน แบบครบวงจร ทั้งส่งเสริมการปรัยเปลี่ยนพฤติกรรมในสำนักงาน ลดการใช้พลังงาน และดำเนินกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และกิจกรรม 5 ส. ทั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ให้บริการด้านวิชาการและเป็นต้นแบบที่ดีแก่ชุมชุม และท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
4.เพื่อส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วม สามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อปรับการดำเนินงานได้ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน ตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยสีเขียว |
1.เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
1.1 บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนและการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร ในรูปแบบธนาคารขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยังยืน
1.2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สามารถจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ของเสีย และพลังงาน สู่ความยั่งยืน
2.เป้ามายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
2.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสามารถนำความรู้ความเข้าใจ การจัดทำแผนการบริหารจัดการขยะ และสามารถดำเนินการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะ ของเสีย และพลังงานสู่ความยังยืน เพื่อมาส่งเสริมกระตุ้นการปฏิบัติ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากร นักศึกษา ผู้ประกอบการ ให้เกิดการคัดแยะขยะ ลดปริมาณขยะ ทั้งส่งเสริมให้หน่วยงานเกิดการตื่นตัวและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งตระหนักถุงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและประหยัดรวมถึงเป็นศูนย์เรียนรู้ที่ให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน และเป็นต้นแบบที่ดีแก่ชุมชน และท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้นดำเนินกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสามารถบูรณาการตามนโยบายดำเนินโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว เพื่อเข้าสู่การประเมิณ UI Green Metric World University และการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน SDGs ได้
2.2 หน่วยงานภายใน นักศึกษา ผู้ประกอบการร้านค้า มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานการเลือกใช้พลังงานทางเลือก ทั้งสามารถแยกและมีส่วนร่วมในการจัดการของเสีย ขยะ ที่มีความคุ้มค่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ก่อนนำทิ้งถังขยะรวมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และเป็นต้นแบบแก่ชุมชน และท้องถิ่นได้
2.3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีรายได้เพิ่มจากการจัดและการใช้ประโยชน์จากขยะและลดภาระค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน จากการใช้พลังงานทางเลือกได้ |
เป้าหมายที่ 3 |
 |
857 |
กิจกรรมลงพื้นที่ส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง, ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา และตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
2.2 เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน
2.3 เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง, ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา และตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จำนวน 20 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
5.2 เชิงคุณภาพ :
5.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.4 ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 229,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 229,400 /20 = 11,470 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 |
 |
858 |
กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมครัวเรือนยากจน |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อติดตามผล ให้คำปรึกษาแนะนำการส่งเสริมอาชีพ
2.2 เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
2.3 เพื่อสามารถนำผลจากการติดตามความก้าวหน้ามาปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีโอกาลลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้า อย่างน้อย 1 ครั้ง
5.1.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้า อย่างน้อย 1 ครั้ง
5.1.3 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาท ต่อครัวเรือน/ปี
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.2 ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการมีอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
5.2.3 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,000 / 20 = 200 บาท/ครัวเรือน
|
เป้าหมายที่ 1 |
 |
859 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากแพะ |
2567 |
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบการบรรจุภัณฑ์และนำมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อความต้องการของผู้บริโภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากแพะ
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการพัฒนาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
860 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถ่ายทอดผลิตภัณฑ์จากส้มแขก |
2567 |
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบการบรรจุภัณฑ์และนำมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อความต้องการของผู้บริโภค |
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการพัฒนาคุณภาพและผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
861 |
โครงการจัดงานเปิดโลกกิจกรรมชมรม ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๗ |
2567 |
1. เพื่อให้ชมรมนักศึกษาได้แนะนำและแสดงผลงานของชมรม
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เลือกชมรมตามความสนใจ
|
๑ เชิงปริมาณ ๑) นักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๗ จำนวน ๒,๕๕๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
๒) มีบูธแนะนำชมรมไม่น้อยกว่า ๑๐ บูธ
๓) นักศึกษาใหม่ได้เป็นสมาชิกชมรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
๒ เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
862 |
ประกวดและแสดงผลงาน : วิศวกรสังคมร่วมสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างความยั่งยืนแก่ชุมชน |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาวิศวกรสังคมได้นำเสนอผลการดำเนินงาน/ข้อค้นพบทุนชุมชน หรือโมเดลธุรกิจเพื่อนำไปสู่การขยายผล |
1.1 เชิงปริมาณ : 1) ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนผลงานของวิศวกรสังคมที่เข้าร่วมประกวด ไม่น้อยกว่า 10 ผลงาน
3) จำนวนนวัตกรรมหรือข้อค้นพบของนักศึกษาวิศวกรสังคมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์หรือสร้างผลกระทบที่ชัดเจนต่อสังคม/ชุมชน/ท้องถิ่น/องค์กร ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน/ชิ้นงาน
4) นักศึกษาวิศวกรสังคม อย่างน้อย 3 กลุ่ม ได้รับการพัฒนาให้เป็นผู้ประกอบการ
1.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
1.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
1.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,225 บาท
1.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,225/150 = 448.17 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
863 |
อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร ประจำปีการศึกษา 2567 และศึกษาเส้นทางธรรมชาติวังสายทอง |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้ทางด้านความเป็นผู้นำแก่นักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร ประจำปีการศึกษา 2567
2. เพื่อเพิ่มทักษะการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร ประจำปีการศึกษา 2567
3. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเส้นทางธรรมชาติวังสายทอง เพื่อประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ :
นักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตร จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ :
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ด้านความเป็นผู้นำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) นักศึกษาต้นกล้าปาริฉัตรสามารถจัดกิจกรรมได้ไม่น้อยกว่า 1 กิจกรรม
3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 174,900 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 174,900/70 = 2,498.57 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
864 |
โครงการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นโดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามสมรรถนะ PTRU Model |
2567 |
1.เพื่อพัฒนาผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model
2. เพื่อให้ผู้บริหารและครูพี่เลี้ยงมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูไปทิศทางเดียวกันที่สอดคล้องกับ PTRU Model
3. เพื่อพัฒนาโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา ตามรูปแบบ PTRU ที่มีสมรรถนะในการเป็นพี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาครู
4. เพื่อให้ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับนักศึกษาที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้
5. เพื่อพัฒนาครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้มีคุณลักษณะของ Strong Teacher
|
- เชิงปริมาณ
1) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่เข้าร่วมพัฒนาการเป็นนวัตกรทางการศึกษาตามรูปแบบฐานสมรรถนะ PTRU Model จำนวน 50 โรงเรียน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ในโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 100 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรทางการศึกษาตาม รูปแบบ PTRU Model และมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
2) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีคุณลักษณะของ Strong Teacher ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3) ผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยง ได้รับการ re-skill up-skill and new-skill ให้เป็นนวัตกรทางการศึกษา
ตามรูปแบบ PTRU Model ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4) โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 208,960 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 208,960/100 = 2,089.6 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
865 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนานักศึกษาวิศวกรสังคมเป็นผู้ประกอบการ |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาวิศวกรสังคมมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ
2 เพื่อพัฒนานักศึกษาวิศวกรสังคมให้เป็นผู้ประกอบการที่สามารถสร้างรายได้ระหว่างเรียน
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาวิศวกรสังคม จำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
2) นักศึกษาวิศวกรสังคมมีรายได้ระหว่างเรียนจากผลงานวิศวกรสังคม ไม่น้อยกว่า 3 กลุ่ม
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
866 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การคัดแยกขยะ |
2567 |
เพื่อให้นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจำแนกและแยกประเภทของขยะ |
1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาชมรมจิตอาสาฯ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจำแนกและแยกประเภทของขยะโดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
867 |
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน
2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย
|
เชิงปริมาณ
1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง
เชิงคุณภาพ
1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน
3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน
5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
 |
868 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมสัมมนาสะท้อนผลนำเสนอ เรื่อง การจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) สำหรับเด็กปฐมวัย |
2567 |
เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้แลกเปลี่ยนรู้ร่วมกัน และนำเสนอสะท้อนผลจากการจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) สำหรับเด็กปฐมวัย |
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพื้นที่เข้าร่วมยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2) จำนวนครูผู้สอนระดับปฐมวัยนำเสนอสะท้อนผลจากกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ) สำหรับเด็กปฐมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (กลุ่มเป้าหมาย 60 คน)
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก (active Learning)
ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะร้อยละ 10
2) ชุมชนหรือประชาชน(โรงเรียน/นักเรียนที่อยู่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3) ครูที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 67,720 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 67,720 /60= 1,128.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 |
 |
869 |
โครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (กิจกรรมที่ 3 วิศวกรสังคมลงพื้นที่เก็บข้อมูลและรพดมความคิดเห็นเพื่อบูรณาการผสานองค์ความรู้ |
2567 |
1. เพื่อบ่มเพาะนักศึกษาวิศวกรสังคมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการยกระดับกระบวนการศึกษาเพื่อพัฒนาเข้าสู่กระบวนการวิศวกรสังคม
2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้มีบทบาทและส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคมชุมชนท้องถิ่น รวมไปถึงการพัฒนา Social Enterprise
และสถานประกอบการท้องถิ่น
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ :
1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะวิศวกรสังคม 4 ประการ ได้แก่ นักคิด นักสื่อสาร นักประสานงาน และนวัตกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 251,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 251,400/180 = 1,396.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
870 |
โครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (กิจกรรมที่ 4 วิศวกรสังคมถ่ายทอดองค์ความรู้หรือนวัตกรรมสู่ชุมชน) |
2567 |
1. เพื่อบ่มเพาะนักศึกษาวิศวกรสังคม
โดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการยกระดับ
กระบวนการศึกษาเพื่อพัฒนาเข้าสู่
กระบวนการวิศวกรสังคม
2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
ให้มีบทบาทและส่วนสำคัญในการ
พัฒนาสังคมชุมชนท้องถิ่น รวมไปถึง
การพัฒนา Social Enterprise
และสถานประกอบการท้องถิ่น
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน ไม่น้อยกว่า 180 คน ลงพื้นที่ถ่ายทอด
องค์ความรู้หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
2 เชิงคุณภาพ
1) พื้นที่ที่วิศวกรสังคมได้ลงไปช่วยแก้ปัญหาและส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนไม่น้อยกว่า
10 พื้นที่
2) ชุมชน/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการชุมชน มีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
3) ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 641,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 641,400/180 = 3,563.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
871 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ประเด็นเด่นในการทำผลงานวิชาการของครูวิทยาศาสตร์ |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางการศึกษา และศาสตร์การสอนให้กับครูประจำการทั่วไป และศิษย์เก่า
2. เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นเด่นในการทำผลงานวิชาการของครูวิทยาศาสตร์
3. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัด สพฐ.และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 15 โรงเรียน
2) จำนวนครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 30คน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
2) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก (active learning) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ร้อยละ 10
(กลุ่มเป้าหมายนักเรียนจำนวน 30 คน)
3) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าสามารถนำ
ความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 79,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 79,100 /30 = 2,636.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
872 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย |
2567 |
1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านการเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัด สพฐ.และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการที่เข้าร่วม
การยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 12 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 218,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 218,400/12 = 18,200 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
873 |
โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ การปฏิบัติงานการปฏิบัติตนของครู |
2567 |
1.เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทและคุณลักษณะของวิชาชีพครู
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานการปฏิบัติตนของครู
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 45,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 45,800/180 = 254.44 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
874 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง นักศึกษารุ่นใหม่มีใบขับขี่ |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ในการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้อง
2 เพื่อให้นักศึกษามีใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล
|
1 เชิงคุณภาพ 1) นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทุกชั้นปี จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล ไม่น้อยกว่า 80 คน
2 เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
875 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.3 ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน |
2567 |
ติดตามผล และให้คำปรึกษาแนะนำการส่งเสริมอาชีพ |
เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีโอกาสลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าครัวเรือนยากจน จำนวน 26 ครัวเรือน อย่างน้อย 1 ครั้ง
เชิงคุณภาพ : ครัวเรือนจำนวน 26 ครัวเรือน สามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนในอนาคต
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 12,000 บาท |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
876 |
จัดงานพิธีฝึกซ้อมบัณฑิต ประจำปี พ.ศ. 2567 |
2567 |
เพื่อฝึกซ้อมบัณฑิต ประกอบการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ประจำปี พ.ศ. 2567 |
1. เชิงปริมาณ : บัณฑิตและมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2565 จำนวน 1,300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2. เชิงคุณภาพ : บัณฑิตและมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรได้ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,040,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,040,000 /1,300 = 800 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
877 |
โครงการจัดงานประกวดการทำแกงสมรมและขนมต้มสืบสานวัฒนธรรมวันสารทเดือนสิบ |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา บุคลากร หรือศิษย์เก่าได้ร่วมอนุรักษ์การทำแกงสมรมและขนมต้มในเทศกาลวันสารทเดือนสิบ |
1. เชิงปริมาณ
1) มีทีมเข้าร่วมประกวดการทำแกงสมรมและขนมต้ม ไม่น้อยกว่า 10 ทีม
2) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้ประชาสัมพันธ์อาหารพื้นถิ่นสงขลา แกงสมรมและขนมต้มให้สาธารณชนได้รู้จัก ไม่น้อยกว่า 2 ช่องทาง
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมิณเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
878 |
สัมมนาการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะและส้มแขก เพื่อเสริมสร้างควา,มั่นคงทางอาหารในจังหวัดชายแดนใต้ : สงขลา |
2567 |
1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อสู่สากล
|
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
879 |
โครงการจัดงานน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 13 ตุลาคม 2567 |
2568 |
เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาได้น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต |
1 เชิงปริมาณ บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 1,100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 61,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 61,000 /1,100 = 55.45 บาท/คน
|
|
 |
880 |
กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก (Roadshow)(88,400 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้เป็นที่รู้จัก
2.2 เพื่อรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าเรียนในหลักสูตรต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
5.1 เชิงปริมาณ : นักเรียนจากโรงเรียนต่าง ๆ ในพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : เพิ่มโอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เข้าสอบคัดเลือกตรงโควตา ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 88,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 88,400 บาท = 176.80 บาท/คน
500
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
881 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมการเข้าสู่ตลาดแรงงาน(386,000 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสัมภาษณ์งานตามสาขาวิชาชีพ
2.2 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสัมภาษณ์งานตามสาขาวิชาชีพ
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสอบความรู้ความสามารถเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ามาทำงานในหน่วยงานราชการ (ภาค ก.)
2.4 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสอบความรู้ความสามารถเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ามาทำงานในหน่วยงานราชการ (ภาค ก.)
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 600 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสัมภาษณ์งานตามสาขาวิชาชีพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสอบความรู้ความสามารถเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ามาทำงานในหน่วยงานราชการ (ภาค ก.) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 354,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : =
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
882 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่วัยทำงาน(140,100 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่จำเป็นในการทำงาน
2.2 เพื่อยกย่องนักศึกษาและศิษย์เก่าที่มีคุณสมบัติเด่นตามอัตลักษณ์ของคณะเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษารุ่นน้อง
|
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 600 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาเกิดความผูกพันกับคณะ อาจารย์ และรุ่นน้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 140,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 233.5 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
883 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ทักษะอาชีพสู่การเป็นผู้ประกอบการอิสระ(56,400 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ทักษะ ในการประกอบอาชีพ
2.2 เพื่อฝึกทักษะกระบวนการคิดในการทำงานของนักศึกษา
2.3 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการสร้างงานและอาชีพให้กับนักศึกษาให้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้แก่ตนเองและครอบครัว
|
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการในแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 8๐
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีการประเมินความสามารถของตน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความสามารถของตน ก่อน-หลัง
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินความพึงพอใจ
5.2.3 นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีทักษะอาชีพเพิ่มขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือไปต่อยอดในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 56,400 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : 56,400/200 = 282 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
884 |
กิจกรรมที่ 6 ศึกษาดูงานด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(856,200 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจได้เปิดมุมและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงนอกห้องเรียน
2 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พบงานที่ตนเองต้องการทำเมื่อจบการศึกษา
3 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ตลาดแรงงาน และเตรียมคุณสมบัติเพื่อให้สอดคล้องกับงาน
|
1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2 เชิงคุณภาพ :
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านต่าง ๆ ตามศาสตร์ของแต่ละหลักสูตรได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเตรียมความพร้อมก่อนออกสู่ตลาดแรงงานได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 1,026,730 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ครั้งที่ 1 83.33 บาท/คน, ครั้งที่ 2 128.28 บาท/คน,ครั้งที่ 3 99 บาท/คน,ครั้งที่ 4 -,ครั้งที่ 5 2,087.36 บาท/คน, ครั้งที่ 6 3,480 บาท/คน,ครั้งที่ 7 143.75 บาท/คน,ครั้งที่ 8 2,254.76 บาท/คน,ครั้งที่ 9 6,071.11 บาท/คน,ครั้งที่ 10 3,248.42 บาท/คน,ครั้งที่ 11 3,945.81 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
885 |
กิจกรรมที่ 8 สัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(15,000 บาท) |
2568 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสรุปผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและฝึกปฏิบัติสหกิจศึกษา
เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เป็นนักศึกษาฝึกงาน/ปฏิบัติสหกิจศึกษาที่มีคุณภาพ รวมทั้ง
เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมแนะนำวิธีการเตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษารุ่นถัดไปในการฝึกงาน |
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ 102 คน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสรุปและประเมินทักษะความพร้อมของตนเองหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
886 |
กิจกรรมที่ 9 สัมมนาระหว่างฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (คบ.จีน)(2,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อติดตามผลการออกฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 ของนักศึกษา
2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาในระหว่างการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4
3. เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 21 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
887 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาทักษะการเป็นนักสวัสดิการสังคม (อพม.รุ่นใหม่)(42,100 บาท) |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรสวัสดิการสังคมได้ฝึกปฏิบัติเป็นนักสวัสดิการสังคมจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในสถานการณ์จริง
จนเกิดทักษะการเป็นนักสวัสดิการสังคมได้ต่อไป |
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 74 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาเข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือ
หัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการเรียน
และประกอบอาชีพได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 41,240 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 41,240/74 = 557.29 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
888 |
กิจกรรมที่ 12 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างโอกาสและทางเลือกโลกแห่งการทำงานของนักศึกษาเอกภาษาอังกฤษ(51,500 บาท) |
2568 |
- เพื่อเปิดมุมมองให้นักศึกษาได้เห็นถึงเส้นทาง โอกาสและทางเลือกอาชีพต่างๆทั้งอาชีพในชุมชนและสากลของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ
- เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาในการเลือกเส้นทางอาชีพและการทำงานในอนาคตที่หลากหลายทั้งในส่วนของสถานประกอบการภาครัฐและเอกชนและการเป็นผู้ประกอบการ
|
- เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 103 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดทำวิดีโอคลิปสรุปเส้นทางอาชีพของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษและการนำเสนออาชีพในชุมชนหรือท้องถิ่น จำนวนไม่น้อยกว่า 8 ชิ้น
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 51,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 51,500 บาท / 103 = 500 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
889 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาองค์ความรู้ประวัติศาสตร์สู่โลกแห่งบอร์ดเกม : นวัตกรรมนักสร้างสรรค์บอร์ดเกมเพื่อการเรียนรู้เมืองเก่าสงขลา(12,500 บาท) |
2568 |
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับการผลิตบอร์ดเกมได้ |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคมภาคปกติชั้นปีที่ 1 - 3 จำนวน 55 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคมภาคปกติชั้นปีที่ 1 - 3 มีความรู้สามารถผลิตบอร์ดเกมที่ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 12,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 12,500/55 = 227.27 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
890 |
กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาทักษะการถ่ายทำและนำเสนอวีดิทัศน์ โดยใช้ประวัติศาสตร์ขับเคลื่อนในมิติทุนทางวัฒนธรรม(12,500 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ และพัฒนาทักษะการถ่ายทำและนำเสนอวีดิทัศน์เพื่อการสื่อสารสำหรับการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2.2 เพื่อปลูกฝังและพัฒนานักศึกษาให้มีความรัก มีจิตสำนึกและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสำนึกรักบ้านเกิดและทุนทางวัฒนธรรม
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ 1 - 3 เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ 1 - 3 มีความรู้ สามารถผลิตผลงานสื่อสารสังคมที่ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 12,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 12,500/55 = 227.27 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
891 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ฝึกทักษะการนำเสนอผลงานวิชาการอย่างมืออาชีพ(54,500 บาท) |
2568 |
เพื่อฝึกทักษะการเขียน และการนำเสนอผลงานวิชาการให้แก่นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รหัส 6441105 6441106 และ 6441107 |
5.1 เชิงปริมาณ : - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ จำนวน 252 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และมีผลงานทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 39 ผลงาน
5.2 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ มีความรู้เกี่ยวกับทักษะ การนำเสนอผลงานวิชาการอย่างมืออาชีพเป็นอย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.3 เชิงเวลา : -สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 54,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 54,500 บาท = 216.67 บาท/คน
252
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
892 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาอัตลักษณ์นักภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 จากศิษย์เก่าสู่ศิษย์ปัจจุบัน(27,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตลักษณ์นักภาษาไทยในศตวรรษที่ 21
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับตัว มีคุณธรรมจริยธรรมและเรียนรู้ในการอยู่ร่วมกัน |
5.1 เชิงปริมาณ : - นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จำนวน 152 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ได้รับความรู้
และตระหนักในอัตลักษณ์นักภาษาไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 27,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 27,800/152 บาท = 182.89 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
893 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เปิดโลกทัศน์ด้านอาชีพสาขาวิชาภาษาไทย(20,700 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ด้านอาชีพจากวิทยากรในขอบข่ายงานที่เกี่ยวกับภาษาไทย
|
5.1 เชิงปริมาณ : - นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จำนวน 54 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มีความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้รับประสบการณ์ด้านอาชีพ
ในขอบข่ายงานที่เกี่ยวกับภาษาไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 20,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 20,700 บาท = 383.33 บาท/คน
54
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
894 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างสรรค์อาหารท้องถิ่นสู่การเป็น "Soft power"(13,000 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้านอาหาร
2 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการเพิ่มพูนคุณค่าให้กับการบริการอาหารในท้องถิ่น
3 เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ด้านการลงพื้นที่และสร้างสรรค์ผลงานด้านการบริการอาหาร
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 37 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากกลุ่มเป้าหมาย
2. เชิงคุณภาพ :
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการความรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้านอาหาร
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการเพิ่มพูนคุณค่าให้กับการบริการอาหาร
ในท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีประสบการณ์ด้านการลงพื้นที่และสร้างสรรค์ผลงานด้านการบริการอาหาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
895 |
กิจกรรมที่ 21 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การช่วยชีวิตในธุรกิจบริการ(12,200 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นในการช่วยชีวิตในธุรกิจบริการในกรณีต่าง ๆ
2. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ด้านการช่วยชีวิตในธุรกิจบริการจากผู้เชี่ยวชาญ
3. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ตลาดแรงงาน และเตรียมคุณสมบัติให้สอดคล้องกับงาน
4. เพื่อให้นักศึกษาได้รับเกียรติบัตรทักษะจำเป็นเพื่อประกอบในการสมัครงาน
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากกลุ่มเป้าหมาย
2. เชิงคุณภาพ :
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะการช่วยชีวิตในกรณีต่างๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสลงมือปฏิบัติการ การการช่วยชีวิตในกรณีต่างๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการอยู่ในระดับ 3.50 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
896 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาศักยภาพนักศึกษาครูภาษาจีน ด้านศิลปวัฒนธรรมจีน(18,500 บาท) |
2568 |
เพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะด้านศิลปะวัฒนธรรมจีนให้แก่นักศึกษาครูภาษาจีน |
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ชั้นปีที่ 1 – 4 จำนวน 79 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
: 5.1.2 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ผลิตชิ้นงานด้านศิลปวัฒนธรรมจีนสำเร็จอย่างน้อยคนละ 1 ชิ้น
5.2 เชิงคุณภาพ. : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจศิลปะวัฒนธรรมจีน “วาดภาพจากพู่กันจีน” “ตัดกระดาษจีน” “ศิลปะการต่อสู้กังฟู” และ “ระบำจีนโบราณ” ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
897 |
กิจกรรมที่ 23 แข่งขันทักษะทางภาษาจีนและจัดนิทรรศการเนื่องในวันตรุษจีน(8,100 บาท) |
2568 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย-จีน
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางภาษาจีนและวัฒนธรรมจีน
3. เพื่อฝึกฝนให้นักศึกษารู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น
|
1. นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ที่เข้าร่วมโครงการทุกคนตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย-จีน
2. นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางภาษาจีนและวัฒนธรรมจีน รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น
3. สามารถผลิตชิ้นงานด้านภาษาหรือศิลปะวัฒนธรรมจีนสำเร็จ อย่างน้อยคนละ 1 ชิ้น
4. ได้ฝึกทักษะภาษาจีนและการแสดงความสามารถด้านการร้องเพลงจีน และมีทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความกล้าแสดงออก รู้จักใช้เวลาว่างเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
898 |
กิจกรรมที่ 24 จัดงานสัมมนาเครือข่ายภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศและการแข่งขัน Dron-tello มหาวิทยาลัยภาคใต้(31,100 บาท) |
2568 |
1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศให้แก่นักศึกษาสาขาภูมิสารสนเทศ
2 เพื่อส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการด้านภูมิศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
3 เพื่อสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนความรู้ด้านวิชาการกับสถาบันการศึกษาอื่น
|
เชิงปริมาณ : 1) นักศึกษาสาขาวิชาภูมิสารสนเทศ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) เครือข่ายจากสถาบันการศึกษาเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 4 สถาบัน
3) มีบทความวิจัยเผยแพร่ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง
เชิงคุณภาพ : มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานภูมิศาสตร์ภูมิสารสนเทศผ่านงานเครือข่ายไม่น้อยกว่า 4 เครือข่าย
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 47,100 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 47,100/40 บาท = 1,177.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
899 |
กิจกรรมที่ 25 เผยแพร่ผลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการ และเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ(208,700 บาท) |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการและเผยแพร่งานวิจัย |
1. นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันการตอบคำถามทางด้านพัฒนาชุมชน สังคมและท้องถิ่น ได้รางวัลรองชนะเลิศลำดับที่ 3
2. นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันการเขียนแผนที่ความคิด ได้รับประกาศนียบัตรระดับ ดี
3. นักศึกษาส่งคลิปวิดีโอเข้าร่วมประกวด ในหัวข้อ วิถีชุมชนของฉัน ได้รับประกาศนียบัตรระดับ ดี |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
900 |
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ฝึกทักษะภาวะผู้นำในบริบทนานาชาติ(37,600 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อส่งเสริมนักศึกษาพัฒนาทักษะภาวะผู้นำและการจัดการในระดับนานาชาติ
2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นในการมีภาวะผู้นำ
2.3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมความร่วมมือภายใต้ MOU ระหว่าง 2 สถาบัน
|
5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 110 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมายโดยการประเมินผลจากรายชื่อ
ผู้เข้าร่วม
5.1.2 มีเครือข่ายความร่วมมือ อย่างน้อย 1 เครือข่าย
5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรม หรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการ ประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการใน ภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 37,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 37,600 = 341.81 บาท/คน
110
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
901 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษาครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(3,400 บาท) |
2568 |
1. เพื่อทำความเข้าใจถึงกระบวนการผลิตพัฒนานักศึกษาวิชาชีพครูและการปฏิบัติการสอนในวิชาเฉพาะ
2. เพื่อรับทราบปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนจากผู้เกี่ยวข้อง
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 22 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกำกับดูแลนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
902 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาและอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง มนุษย์มดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอนการวิจัย(7,200 บาท) |
2568 |
เพื่อให้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการเรียนการสอน และการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ |
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
5.2.4 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน อย่างน้อย 1 ระบบ
5.2.5 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 7,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 7,200 = 120 บาท/คน
60
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
903 |
กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์คณะวิทยาการจัดการเชิงรุก (Road Show แนะแนวการศึกษา)(316,100 บาท) |
2568 |
1 เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์หลักสูตร และให้ความรู้การจัดการเรียนการสอนและการสร้างภาพลักษณ์ของคณะวิทยาการจัดการ
2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสอบคัดเลือก และให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามหลักสูตรที่ตนเองมีความถนัด
3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนดีในท้องถิ่นได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
ได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรของคณะวิทยาการจัดการให้แก่นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 10 โรงเรียน
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
เพิ่มโอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เข้าสอบคัดเลือกตรงโควตาของคณะวิทยาการจัดการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
227,280/1,175 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
904 |
กิจกรรมที่ 1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง รักปลอดภัย (Safe Sex)(49,500 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 280 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกับการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
49,480/316 =156.58 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
905 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ด้านการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปีที่ 13(34,700 บาท) |
2568 |
1 เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะทางวิชาชีพให้กับนักศึกษา
2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ด้านวิชาชีพนิเทศศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถิ่น
3 เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสามารถสื่อสาร นำเสนอได้อย่างสร้างสรรค์ |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 - 3 เข้าร่วมโครงการ จำนวน 194 คิดเป็นร้อยละ 104.86
- ได้บูรณาการเรียนการสอนกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมพร้อมการบริการวิชาการ 1 รายวิชา
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิตมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 ครบทั้ง 4 กลุ่ม (กลุ่มวิชาหลัก กลุ่มทักษะชีวิตและอาชีพ กลุ่มทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม กลุ่มทักษะสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี) โดยสามารถผลิตสื่อสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นใต้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับดี 3.55
- นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สามารถผลิตชิ้นงานที่มีคุณภาพและมีความสร้างสรรค์สะท้อนถึงวิถีชุมชนในมิติต่าง ๆ ตามแนวทางความพอเพียง โดยแต่ละชิ้นงาน คะแนนอยู่ในระดับดี 3.55
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
34500/199=173.37
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
906 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเพื่อสร้างนักเศรษฐศาสตร์รุ่นใหม่(14,100 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์รุ่นใหม่
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการเป็นผู้นำและการทำงานเป็นทีม
3 เพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ในการเสริมสร้างทักษะชีวิตและหลักคิดในการ |
-นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 - 4 จำนวน 80 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มีความรู้ความเข้าใจในทักษะวิชาชีพเศรษฐศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
907 |
กิจกรรมที่ 9 ศึกษาดูงานการบัญชีธุรกิจและวิสาหกิจชุมชนยั่งยืน(167,500 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้จากแหล่งพื้นที่จริงในการดำเนินงานด้านการเงิน การบัญชีต้นทุนของธุรกิจและวิสาหกิจเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงานและความเป็นสากลของอาเซียน
2.เพื่อสร้างประสบการณ์และความเข้าใจระบบงานบัญชีธุรกิจและวิสาหกิจชุมชน เตรียมความพร้อมกลับไปสร้างความเข้มแข็งในชุมชนท้องถิ่นของตนในอนาคต
3. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพความเป็นผู้ประกอบการจากธุรกิจจริง
4. เพื่อถอดบทเรียนประสบการณ์จากพี่สู่น้อง |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 จำนวน 53 คน เข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 94.64
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้และประสบการณ์จริง จากเจ้าของสถานประกอบการและวิสาหกิจชุมชน สามารถถอดบทเรียนและนำเสนอถ่ายทอดประสบการณ์ตรงในพื้นที่ให้แก่นักศึกษาคนอื่นได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
286,912/53 = 5,123.43 บาท/คน (รวมงบสนับสนุนจากผู้เข้าร่วม) |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
908 |
กิจกรรมที่ 10 สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากพี่สู่น้องชาวบัญชี(30,500 บาท) |
2568 |
1. เพื่อเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง และสามารถนำมาปรับใช้ ในชีวิตประจำวันได้
2.เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสำเร็จการศึกษาให้นักศึกษาที่กำลังจะจบให้มีทักษะความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพการบัญชีและส่งเสริมให้มีความพร้อมในการเป็นแรงงานคุณภาพที่มีความรู้ (Knowledge Workers) |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิตทุกชั้นปี จำนวน 213 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
นักศึกษารุ่นน้องหลักสูตรบัญชีได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกสถานที่ฝึกงาน และเตรียมตัวก่อนฝึกสหกิจ อยู่ในระดับ 3.51
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
30,500 /213 = 152.50 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
909 |
กิจกรรมที่ 11 ศึกษาดูงานด้านทรัพยากรมนุษย์สู่อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ(116,000 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ประสบการณ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ จากสถานประกอบการและนำมาประยุกต์
ใช้กับการปฏิบัติงานจริง
2 เพื่อบูรณาการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่นไทยกับการใช้ชีวิตประจำวันของนักศึกษา |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 54 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
1.นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจด้านการบริหารธุรกิจ และสามารถบูรณาการความรู้จากการศึกษาดูงานกับการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี
2.นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่นไทยกับการใช้ชีวิตประจำวันได้ อยู่ในระดับดี
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
176000/58=3034 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
910 |
กิจกรรมที่ 12 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเป็นที่ปรึกษาและการเป็นวิทยากรด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์และประกวดทักษะเส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ (HR Coaching by Pro. Coach)(80,100 บาท) |
2568 |
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นที่ปรึกษาและการเป็นวิทยากรด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และได้มีโอกาสพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการเป็นที่ปรึกษาและวิทยากรด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์จากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง
2.เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าร่วมแข่งขันกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ และแสดงออกถึงสมรรถนะทักษะในการเป็นที่ปรึกษา/วิทยากร |
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 173 คน เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 98.30
2. เชิงคุณภาพ : 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการให้คำปรึกษา และการเป็นวิทยากร การออกแบบกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และการใช้สื่อเพื่อนำเสนอตามหัวข้อที่ได้จัดสัมมนาอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
2.2 นักศึกษาได้มีประสบการณ์เข้าร่วมการแข่งขันกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในวิชาชีพทางด้านการเป็นที่ปรึกษา/วิทยากร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 78,890 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 78,890/173 = 456.01 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
911 |
กิจกรรมที่ 13 ศึกษาดูงานศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการ(90,000 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากผู้ประกอบการเพื่อสร้างแนวคิดในการ
เป็นผู้ประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้วิธีการพัฒนาทักษะทางอาชีพจากผู้ประกอบการและสถานประกอบการจริง
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงการประกอบธุรกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการ |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
3. เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 202,200 บาท
5. ต้นทุนต่ิหน่วยผลผลิต : 202,200/50 = 4,044 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
912 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(73,700 บาท) |
2568 |
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ประกอบอาชีพได้ในอนาคต
2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงกระบวนการทำงานของ AI และความสำคัญของ AI ในการแข่งขันธุรกิจในปัจจุบัน
3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์และออกแบบสื่อด้วย AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และสามารถนำ MS Word และ MS Excel เพื่อประยุกต์ใช้รายวิชาต่าง ๆ ตลอดจนการทำงานในอนาคต
5 เพื่อพัฒนาความเป็นผู้นำกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เพิ่มทักษะด้านการสื่อสารและการนำเสนอ |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 397 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ 360 คน คิดเป็นร้อยละ 110
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณสมบัติของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่าง 3 ด้าน
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
72,880/397=183.57 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
913 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(44,000 บาท) |
2568 |
1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน TQF
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะที่มุ่งเน้นคุณลักษณะของนักการตลาด เตรียมความพร้อมในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและประกอบการอาชีพในอนาคต |
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้
2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
914 |
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้เทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืนเอสดีจีเอส(31,000 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการใช้เทคโนโลยีอย่างยั่งยืน
2.2 เพื่อให้นักศึกษาประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยในการพัฒนาระบบสารสนเทศทางธุรกิจได้
2.3 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง
2.4 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติและบัณฑิตที่องค์กรอยากได้และการพัฒนาบุคลิกภาพในการสัมภาษณ์งานให้แก่นักศึกษา |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชั้นปี 1 – 4 จำนวน 340 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
นักศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
: - นักศึกษาได้รับการพัฒนาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการพัฒนาระบบ
สารสนเทศทางธุรกิจได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: - นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติบัณฑิตที่ตลาดแรงงานต้องการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 31,000 บาท |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
915 |
กิจกรรมที่ 20 ศึกษาดูงานกระบวนการผลิตและแปรรูปสินค้าในท้องถิ่น กรณีศึกษาผู้ประกอบการขนาดเล็ก(5,500 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตและแปรรูปสินค้าในท้องถิ่น
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจทักษะ แนวคิดการเป็นผู้
ประกอบการท้องถิ่น
3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษานำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ไป
ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ ตัดสินใจ เป็นผู้ประกอบการท้องถิ่น
4. เพื่อให้นักศึกษาแสดงออกถึงการเป็นผู้นำ การทำงานเป็นทีม
ฉลาดคิดและคิดเป็นทำให้ดำรงตนในสถานการณ์ต่าง ๆ
ได้อย่างปลอดภัยและมีคุณภาพ |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
นักศึกษาหลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชาผู้ประกอบการท้องถิ่น ชั้นปีที่ 1 จำนวน 10 คน
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
นักศึกษาหลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชาผู้ประกอบการท้องถิ่น เข้าใจในกระบวนการผลิตและแปรูปผลิตภัณฑ์จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
550 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
916 |
กิจกรรมที่ 21 ศึกษาดูงานการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อประกอบธุรกิจ(22,400 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจทรัพยากรท้องถิ่นและใช้ประกอบธุรกิจ
2. เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิค ทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่
3.เพื่อสร้างประสบการณ์และมีความเข้าใจเกี่ยวกับการตลาด การบัญชีสำหรับผู้ประกอบการยุคดิจิทัล |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
นักศึกษาหลักสูตรการจัดการบัณฑิตสาขาวิชาผู้ประกอบการท้องถิ่น ชั้นปีที่ 1 จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
นักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจทรัพยากรท้องถิ่น และใช้ประกอบธุรกิจได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
2,798.75 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
917 |
กิจกรรมที่ 27 ศึกษาดูงานการจัดการนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้(212,700 บาท) |
2568 |
1.เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาความสามารถจากการเรียนรู้นอกชั้นเรียน
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงานในอนาคตได้
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและเกิดความตระหนักหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีต่อวิชาชีพ |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า จำนวน 27 คน เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96.43
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการค้า มีความรู้ และประสบการณ์จากการศึกษานอกสถานที่ มีความพึงพอใจในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
101,880/27 = 3,773.33 บาท |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
918 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้งานระบบ ThaiJo และการนำวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI(11,700 บาท) |
2568 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการวางแผนการดำเนินการวิจัย
2. เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ สามารถใช้งานระบบ ThaiJo ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการจัดทำวารสารคณะวิทยาการจัดการ มีองค์ความรู้การนำวารสารมาประยุกต์ในฐานข้อมูล TCI |
เชิงปริมาณ : ผู้ข้าร่วมโครงการจำนวน 12 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถใช้งานระบบ ThaiJo ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา :สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 11,620 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 11,620/12 = 968.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 |
 |
919 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง จัดทำผลงานทางวิชาการอย่างมืออาชีพ(45,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานทางวิชาการ
2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรจัดทำผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น |
- เชิงปริมาณ : - บุคลากรคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- บุคลากรคณะวิทยาการจัดการมีการทำผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 ชิ้นงาน
- เชิงคุณภาพ : - บุคลากรคณะวิทยาการจัดการได้รับการพัฒนาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ และมีทักษะ
ในการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพที่ดีในการทำงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- บุคลากรคณะวิทยาการจัดการมีการทำผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 31,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 31,400/40 = 785 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
920 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการความรู้ด้านหลักสูตร OBE (AUN-GA)(58,800 บาท) |
2568 |
เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในการทำหลักสูตร ตามหลักของ OBE |
- เชิงปริมาณ : อาจารย์ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : อาจารย์ที่เข้าร่วมอบรมสามารถทำหลักสูตรโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้
ในรูปแบบ OBE ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 58,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 58,800/60 คน = 980 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
921 |
กิจกรรมที่ 6 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง วิพากษ์หลักสูตรวิชาแกนบริหารธุรกิจ(26,100 บาท) |
2568 |
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดทำหลักสูตรวิชาแกนได้
2.เพื่อให้หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต มีวิชาแกนร่วมกัน |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
อาจารย์ จำนวน 23 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
1.อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการสามารถทำวิชาแกนของหลักสูตรได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3.51
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
26100/21 |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
922 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(37,600 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
3 เพื่อให้กระบวนการปฏิบัติการสอนเป็นไปตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา
|
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รหัส 64 ทุกสาขาวิชา (ยกเว้นนักศึกษาหลักสูตร
ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน) จำนวน 420 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ :
1. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
2. นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์หลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 37,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 37,600/420 = 89.52 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
923 |
กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(36,000 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3
2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษาปฏิบัติการสอน
3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต
4 เพื่อให้กระบวนการปฏิบัติการสอนเป็นไปตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา
|
1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รหัส 65 ทุกสาขาวิชา จำนวน 406 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
นักศึกษาทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 36,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 36,000 / 406 = 88.66 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
924 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(36,000 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน
2. เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
3. เพื่อให้กระบวนการปฏิบัติการสอนเป็นไปตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รหัส 65 ทุกสาขาวิชา จำนวน 406 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 มีแนวทางการพัฒนาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จำนวน 1 แนวทาง
5.2 เชิงคุณภาพ
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 36,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 36,000 / 406 = 88.66 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
925 |
กิจกรรมที่ 12 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาและปลูกฝังจิตวัญญาณความเป็นครูให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์(75,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของความเป็นครูที่ดี
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายความสำคัญ บทบาทหน้าที่ คุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะของครูที่ดี
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพครูที่นำไปสู่แนวทางการปฏิบัติในการเป็นครูที่ดี
4. เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีอุดมการณ์ จิตวิญญาณความเป็นครู รักและศรัทธาในวิชาชีพ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 300 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
5.2.1 นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2567 นำความรู้ด้านพระบรมโชบายทางการศึกษามาปรับใช้ในชีวิตประจำวันและในรั้วมหาวิทยาลัย โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องจิตวิญญาณความเป็นครู รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.4 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 75,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 75,600/300 = 252 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
926 |
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสมรรถนะครูภาษาไทยในศตวรรษที่ 21(31,600 บาท) |
2568 |
2.1 เพี่อพัฒนาทักษะและบทบาทของครูภาษาไทยในศตวรรษที่ 21
2.2 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.3 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.4 เพี่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 30 คน เข้าร่วมกิจกรรม
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและบทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3.2 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน
- เชิงเวลา ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 31,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 31,600/30 = 1,053.33 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
927 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดทำสื่อและนวัตกรรมทางด้านพลศึกษา(23,600 บาท) |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการจัดทำสื่อและนวัตกรรมทางด้านพลศึกษา |
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำสื่อและนวัตกรรมทางด้านพลศึกษา ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,600/150 = 157.33 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
928 |
กิจกรรมที่ 24 ประชุมทางวิชาการภาคีฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป ครั้งที่ 24(24,000 บาท) |
2568 |
1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษา
2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
3 สนับสนุนการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา
4 เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตครูวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศในการผลิตครูวิทยาศาสตร์
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป จำนวน 47 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาสามารถเผยแพร่ผลงานวิชาการได้อย่างน้อย 3 เรื่อง
2.2 คะแนนประเมินองค์ประกอบที่ 3.2 และ 5.2 ของหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ๒๔,๐๐๐ บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ๒๔,๐๐๐/47 = 510.63 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
929 |
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องครูวิทยาศาสตร์ภาคสนาม(22,000 บาท) |
2568 |
1. เพี่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์สู่การจัดค่ายหรือกิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์สู่การจัดค่ายหรือกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระยนะสั้นให้กับนักเรียนจริง
2. เพื่อฝึกฝนและนำผลจากการเรียนรู้ไปประยุกต์สู่การออกแบบวางแผนและปฏิบัติการทางวิชาชีพ
3. เพื่อฝึกฝนและเปิดโอกาสให้เกิดการพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารสำหรับการประกอบอาชีพครูและวิทยากร
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ จำนวน 61 คนเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะการสื่อสาร และการวิเคราะห์เพื่อสร้างความเข้าใจ
ให้กับผู้เรียน ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51
2.2 นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการประเมินตนเองเกี่ยวกับการได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนนขึ้นไป
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 22,000
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 22,000/61 = 360.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
930 |
กิจกรรมที่ 26 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21(57,000 บาท) |
2568 |
2.1 เสริมสร้างสมรรถนะของนักศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาและความต้องการของสังคม
2.2 นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับทักษะเสริมสมรรถนะการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อนำไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคต
2.3 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการบูรณาการใช้สื่อการสอนกับการเรียนการสอนได้
2.4 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ฝึกประยุกต์ใช้ทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการจัดการเรียนรู้ภาษาสู่ผู้เรียนได้
2.5 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีบูรณาการกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 80 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการบูรณาการทฤษฎีและการใช้สื่อเทคโนโลยีกับการจัดการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 57,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 57,000/100 = 570 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
931 |
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการและค่ายสร้างผู้นำพลเมืองสำหรับครูสังคมศึกษา(17,700 บาท) |
2568 |
1. เพื่อพัฒนาและสร้างทักษะการเป็นภาวะผู้นำพลเมืองสำหรับครูยุคใหม่ (Active Citizen Leadership) ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2. เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในศาสตร์เฉพาะสาขา
|
1. เชิงปริมาณ
- นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ชั้นปีที่ 3 - 4 จำนวน 60 คนเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะความเป็นผู้นำพลเมืองและมีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์เฉพาะสาขาก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 17,700 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 17,700/60 = 295 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
932 |
กิจกรรมที่ 31 บรรยายเรื่อง ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสำหรับนักศึกษาพิการ(6,700 บาท) |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษาพิการมีความรู้และทักษะเรื่องการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในยุคปัจจุบัน
เพื่อให้นักศึกษาพิการได้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้นักศึกษาพิการสามารถนำความรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนได้
|
เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,700 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,700/25 = 268 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
933 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาศักยภาพของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนเพื่อการเตรียมความพร้อมในการยื่นขอรับการประเมิน (THAILAND PSF)(130,000 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านการเรียนการสอนเพื่อการเตรียมความพร้อมในการยื่นขอรับการประเมิน (THAILAND PSF)
2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับมาตรฐานระดับอุดมศึกษา
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการด้านการเรียนการสอนเพื่อการเตรียมความพร้อมในการยื่นขอรับการประเมิน (THAILAND PSF) ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 89,860 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 89,860/90 = 998.44 บาท
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
934 |
กิจกรรมที่ 6 ศึกษาดูงานในสถานประกอบการด้านการออกแบบ(59,100 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงด้านการออกแบบจากผู้ประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน
|
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบ ชั้นปีที่ 1 - 2 จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: นักศึกษาได้มีทักษะและประสบการณ์จากการศึกษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 59,100 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 59,100 /40 =1,499.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
935 |
กิจกรรมที่ 7 ศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านดนตรี(94,500 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากการศึกษานอกห้องเรียน
2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษานอกห้องเรียน
3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการประกอบอาชีพทางดนตรีให้กับนักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ
1.1 นักศึกษาสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 นักศึกษาได้ไปศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 94,320 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 94,320/40 = 2,358 บาท |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
936 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง เสริมสร้างแรงบันดาลใจใฝ่คุณธรรมจริยธรรมพัฒนาจิตวิญญาณความเป็นครูและจรรยาบรรณวิชาชีพครู (E-PLC) สู่ครูมืออาชีพในศตวรรษที่ 21(14,200 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรเกิดแรงบันดาลใจในการประกอบวิชาชีพครู
2.2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมีจิตวิญญาณความเป็นครู
2.3 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมีจรรยาบรรณวิชาชีพครูและเป็นครูมืออาชีพในศตวรรษที่ 21
2.4 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมีคุณธรรมจริยธรรมและส่งเสริมอัตลักษณ์ความเป็นครู
2.5 เพื่อเสริมสร้างศรัทธาความมุ่งมั่นและความรักในอาชีพครู
|
5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา (สตูล) ปีที่ 2 ปีที่ 3 และปีที่ 4 เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีแรงบันดาลใจในการประกอบวิชาชีพครู โดยประเมินตนเองมีค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตวิญญาณความเป็นครู โดยประเมินตนเองมีค่าเฉลี่ยได้ร้อยละ 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 14,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: 14,200 / 90 = 157.77 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
937 |
กิจกรรมที่ 2 สร้างเครือข่ายกับโรงเรียนในท้องถิ่นและประชาสัมพันธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงรุก(70,000 บาท) |
2568 |
เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการจัดกิจกรรมของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายทั้งภายในและภายนอกให้กับกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
1. เชิงปริมาณ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 10 โรงเรียน สามารถเข้าร่วมได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 70,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 70,000/10 = 7,000 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
938 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(49,200 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้อาจารย์ประเมินผลหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา
2 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ ระหว่างอาจารย์ นักศึกษาที่ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพแล้ว และนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นปีที่ 3
.3 เพื่อนำองค์ความรู้สมัยใหม่ที่นักศึกษาได้รับระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพมาใช้พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 352 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 49,075 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 49,075/352 = 139.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
939 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Google AI Application and Innovation(45,100 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ทักษะวิชาชีพจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงและการสร้างสรรค์งานด้านกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
2 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
3 เพื่อเป็นการเสริมสร้างมุมมองใหม่ๆ ให้กับนักศึกษาทราบถึงมุมมองของผู้ที่ทำงานทางด้านคอมพิวเตอร์ที่เป็นประโยชน์ในการเข้าสู่ตลาดแรงงาน
4 เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลากับหน่วยงานภายนอก
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 177 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ และ ทำกิจกรรมตามเป้าหมายได้เสร็จสิ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,100 /177 = 254 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
940 |
กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เตรียมความพร้อมเข้าสู่การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาผู้ประกอบอาหารไทย(16,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
1.เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 38 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้และมีทักษะสำหรับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ในสาขาผู้ปะกอบอาหารไทย ทำคะแนนสอบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,800/38 = 442.10 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
941 |
กิจกรรมที่ 10 ศึกษาดูงานของนักศึกษาหลักสูตร วท.บ.วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม(84,400 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งในด้านการบำบัดน้ำเสีย การจัดการมูลฝอยและมูลฝอยอันตราย การจัดการพลังงาน
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับนวัตกรรมทางสิ่งแวดล้อม
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 16 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งในด้านการบำบัดน้ำเสีย การจัดการมูลฝอยอันตราย การจัดการพลังงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 119,493 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 119,493/16=7,468.31 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 8 |
 |
942 |
กิจกรรมที่ 13 ศึกษาดูงานของนักศึกษาหลักสูตร วท.บ.เคมี(16,400 บาท) |
2568 |
1.เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ผ่านประสบการณืจริงเรื่องความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ มาตรฐานในห้องปฏิบัติการ การควบคุมคุณภาพ
2.เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต |
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คน เข้าร่มโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมมีความพร้อมในการออกฝึกประสบการณ์/สหกิจ ออกสู่ตลาดแรงงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,400/25 = 656 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
943 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างแรงบันดาลใจในวิชาชีพเทคโนโลยีชีวภาพ(7,800 บาท) |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติเชิงบวกต่อวิชาชีพ |
เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 52 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจกับทัศนคติเชิงบวกต่อวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กไหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,800 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลิต 7,800/52 =150 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 3 |
 |
944 |
กิจกรรมที่ 17 ศึกษาดูงานชีววิทยา(53,200 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาด้านความหลากหลายของชนิดพันธ์พืช พันธ์สัตว์ การพาะเลี้ยง การอนุรักษ์ สัตว์ป่า ด้านระบบนิเวศป่าดิบชื้น ด้านการเก็บข้อมูลภาคสนาม ในพื้นที่ชุ่มน้ำด้านการจำแนกสิ่งมีชีวิต ด้านฟอสซิล ด้านเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และด้านการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางชีววิทยาเพื่อการประกอบอาชีพ
2.เพื่อให้นักศึกษาได้เพิ่มพูนประสบการณ์ สามารถนำตวามรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การเรียนในรายวิชาต่างไ และเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือสหกิจ ได้
3.เพื่อิเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้และเป็นแนวทางในการนำความรู้ไปใช้ในอนาคตได้ |
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 61 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้ร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในรายวิชา และเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประาบการืวิชาชีพและสหกิจได้
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 72,130 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 72,130/61 = 1,182.42 / คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
945 |
กิจกรรมที่ 21 สัมมนาทางวิชาการฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้ ครั้งที่ 24 (32,500 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษามีการนำเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัยในเวทีระดับชาติ
2.2 เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 26 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ คะแนนประกันคุนภาพตัวบ่งชี้ที่ 3.2 3.3 และ 5.2 ไม่ต่ำหว่า 2 คะแนน
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 32,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 32,500 บาท/ 26 คน = 1,250 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
946 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเรื่อง การจัดกระบวนการสอนในรูปแบบ STEM(6,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อเพิ่มทักษะกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 2
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในการบริการวิชาการ
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 13 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมสำหรับการ
จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,540 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,540 /13 = 503.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
947 |
กิจกรรมที่ 24 ศึกษาดูงานของหลักสูตร ค.บ.คอมพิวเตอร์ศึกษา(99,900 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับระบบเครือข่ายภายในองค์กร การสร้างสรรค์งานด้านมัลติมีเดีย และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
2.2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ ความเข้าใจ และสอน ทางคอมพิวเตอร์ประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ออกแบบการ
2.3 เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชา 4683103 วิชาวิทยาการก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ 4684203 วิชาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้ตามระยะเวลากำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 99,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 99,900/30 = 3,330 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
948 |
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่(15,300 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
2.2 เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมอุดมการณ์ของลูกเสือให้แก่ นักศึกษาเพื่อนำ ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
2.3 เพื่อให้นักศึกษาผ่านการอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ โดยมีวุฒิทางการลูกเสือและสามารถทำหน้าที่ผู้กำกับลูกเสือตามพระราชบัญญัติลูกเสือแห่งชาติได้
2.4 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะทางปัญญาในการบูรณาการกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ความรู้เบื้องต้นกับการประกอบอาชีพในอนาคต
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 120 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในเนื้อหาองความรู้ คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้ตามระยะเวลากำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,300/120 = 127.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
949 |
กิจกรรมที่ 26 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การติวเพื่อการสอบใบประกอบวิชาชีพครู(15,100 บาท) |
2568 |
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการสอบใบประกอบวิชาชีพครู
2.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบวิชาชีพในอนาคต |
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ80
2.เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมสำหรับการสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3.เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 15,100 บาท
5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 15,100 /45 = 335.55 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
950 |
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาทักษะการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาครู(5,800 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการเป็นนักคิด นักสื่อสาร
2.2 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน
2.3 เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 54 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการได้ตามระยะเวลากำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,800/54 = 107.41 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
951 |
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินผลผู้เรียนและการจัดการชั้นเรียนแบบ PLC(8,500 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสิ้นปีการศึกษาตาม มคอ.2
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และมีความรู้ในเรื่องการประเมินผลทางการศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
|
5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปีสำหรับชั้นปีที่ 3 ตามที่ระบุไว้ใน มคอ. 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,500 บาท/ 45 คน = 188.89 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
952 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง มาตรฐานห้องปฏิบัติการและปรับปรุงเพื่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยตามระบบ ESPReL(16,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อส่งเสริมการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. เพื่อติดตามและพัฒนาการจัดทำระบบมาตรฐานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของห้องปฏิบัติการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. เพื่อสนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้าร่วมโครงการและสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ
4. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการตามบริบทลักษณะงานของมหาวิทยาลัย
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 42 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : 1. มีห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐานตามระบบ ESPReL จัดการด้านความปลอดภัย อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 6 ห้อง
2. อาคารที่มีห้องปฏิบัติการที่ได้รับการตรวจประเมินตามมาตรฐานความปลอดภัย อย่างน้อย 1 อาคาร
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 16,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 16,800/42 = 400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
953 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้เครื่องมือ AI สำหรับช่วยเขียนร่างบทความวิจัยภาษาอังกฤษเพื่อตีพิมพ์ในฐาน scopus(22,000 บาท) |
2568 |
1. เพื่อส่งเสริมให้คณาจารย์มีทักษะในการเขียนบทความวิจัยภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น
2. เพื่อส่งเสริมให้คณาจารย์ได้ผลิตผลงานวิจัยระดับนานาชาติเพิ่มขึ้นเทคโนโลยี
|
1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
 |
954 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดทำเอกสารประกอบการสอนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและจรรยาบรรณทางวิชาการ(64,500 บาท) |
2568 |
1 เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของอาจารย์ในการเขียนเอกสารประกอบการสอน
2 เพื่อให้สามารถใช้เทคโนโลยีช่วยในการจัดทำเอกสารประกอบการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
3 เพื่อให้จัดทำเอกสารประกอบการสอนได้อย่างเหมาะสมตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
|
1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ และ ทำกิจกรรมตามเป้าหมายได้เสร็จสิ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 35,640 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 35,640 /30 = 1,188 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
955 |
กิจกรรมที่ 1 ศึกษาดูงานในรายวิชาของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร(50,000 บาท) |
2568 |
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นไปตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย |
1 เชิงปริมาณ - นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 499 คน เข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2 เชิงคุณภาพ - นักศึกษาแต่ละหลักสูตรมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการศึกษาดูงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 50,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 50,000/499 = 100.20 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
956 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อความเป็นเลิศ(20,700 บาท) |
2568 |
1 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาในการทดสอบภาษาอังกฤษ
2 เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจในการสื่อสารทางด้านภาษาอังกฤษ
3 เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างทักษะทางด้านภาษาอังกฤษสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ - นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ อยู่ในระดับดี
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษา ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 20,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 20,400/100 = 204 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
957 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนานักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร ตามหลักค่านิยมไทย(12,500 บาท) |
2568 |
1 เพื่อสร้างความรู้ในหลักค่านิยมไทยด้านความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ให้กับนักศึกษา
2 เพื่อพัฒนาและเพิ่มเติมความเข้าใจหลักค่านิยมไทยด้านความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์นักศึกษา
|
1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
(1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
(2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจค่านิยมไทยในด้านความรักชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
(3) นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 12,500 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 12,500 /100 = 125 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
958 |
กิจกรรมที่ 4 ฝึกทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ปีที่ 2(10,000 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การผลิต การจำหน่ายและการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์อาหารแบบครบวงจร
2 เพื่อพัฒนานักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการในศตวรรษที่ 21
|
- เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปี 1-3 หลักสูตร ทล.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการผลิตภัณฑ์อาหาร จำนวน 33 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ :
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีองค์ความรู้และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLOs) ไม่น้อยกว่า 10 ด้าน
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,000/ 33 = 303.03 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
959 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างแรงบันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการและทักษะการสร้างนวัตกรรม(7,800 บาท) |
2568 |
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในด้านการเป็นผู้ประกอบการและด้านนวัตกรรมให้กับนักศึกษา |
เชิงคุณภาพ
(1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (บรรลุ)
(2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ เกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการและการสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (ผู้เข้ร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น 100% บรรลุ)
(3) นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิต ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน (บรรลุ)
1.2.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จในเวลาที่กำหนด (บรรลุ)
1.2.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,800 (บรรลุ)
1.2.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,800/100 = 78 บาท/คน (บรรลุ) |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
960 |
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เทคนิคเฉพาะอย่างแนวทางโคบาล(14,000 บาท) |
2568 |
1.เพื่อให้นักศึกษาทราบหลักการบังคับสัตว์
2 เพื่อให้นักศึกษามีองค์ความรู้และทักษะการบังคับสัตว์เพิ่มขึ้น
3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการบังคับสัตว์ และสามารถบังคับสัตว์ได้
|
5.1 เชิงปริมาณ
๕.๑.๑ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
๕.๒.1 นักศึกษามีองค์ความรู้และทักษะการบังคับสัตว์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
๔.๑.2 นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า ๓ ด้าน (๑. ด้านความรู้ ๒.ด้านทักษะ และ ๔.ด้านลักษณะบุคคล)
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,000/40 = 350 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
961 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้เครื่องจักรกลการเกษตรอัจฉริยะ(16,500 บาท) |
2568 |
1 เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกทักษะในการทำการเกษตรตามคุณลักษณะบัณฑิต
ที่พึงประสงค์ของหลักสูตร
2 เพื่อพัฒนานักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้านการผลิตพืช
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตร ทล.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ชั้นปีที่ 2 จำนวน 40 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2 เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,500/40 = 412.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
962 |
กิจกรรมที่ 9 แข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ(150,000 บาท) |
2568 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล
2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิแห่งชาติ(TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 150,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 150,000 /33 = 4,545.45 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
963 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์นักศึกษา : วิธีการวัดผลและประเมินผล(3,500 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจหลักการวัดและประเมินผลผู้เรียน
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนได้
|
1 เชิงปริมาณ อาจารย์คณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ อยู่ในระดับดี
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 3,500 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3,500/30 = 116.67 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
964 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอน(74,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2. เพื่อให้คนในองค์กรมีเจตคติที่ดีในการแบ่งปันความรู้และเผยแพร่ผลงานให้บุคคลทั่วไปได้ทราบ
3. ได้องค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีด้านวิจัย และการเรียนการสอน
|
1. เชิงปริมาณ ผู้บริหาร อาจารย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 35 คน เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแผนจัดการความรู้ด้านวิจัย และการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 แผน
2.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแนวปฏิบัติที่ดีจากการถ่ายทอดองค์ความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 74,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 74,600/35 = 2,131.42 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
 |
965 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 และเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลในองค์กร(131,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินงาน และคณะทำงาน มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตลอดจนได้รับทราบแนวทางการประเมินการรวบรวมข้อมูลและเตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ได้อย่างถูกต้อง
2. เพื่อสร้างความเข้าใจวิธีการบันทึกหลักฐานการตรวจแบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT ผ่านระบบ ITAS ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
3. เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักธรรมาภิบาลและให้ความสำคัญกับการป้องกันและปราบปรามทุจริต
4. เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและสามารถนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์
5. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้นำนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและให้ความสำคัญกับความโปร่งใสในมหาวิทยาลัยและตระหนักถึงความสำคัญกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
|
1. เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 220 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
(ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน จำนวน 180 คน และผู้นำนักศึกษา จำนวน 40 คน)
2. เชิงคุณภาพ
2.1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3. ผลการตรวจประเมิน ITA ได้รับคะแนนรวมจากการประเมินร้อยละ 85
3. เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 64,200 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 64,200/220 = 291.82/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
966 |
กิจกรรมที่ 12 จัดงานพัฒนาศักยภาพสู่เส้นทางอาชีพ ประจำปีการศึกษา 2567(225,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาและศิษย์เก่าได้เข้าถึงช่องทางการสมัครงาน
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบและเข้าใจทิศทางตลาดแรงงานและการศึกษาต่อในอนาคต
|
1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา ศิษย์เก่าและผู้สนใจทั่วไป จำนวน 2,000 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจทิศทางตลาดแรงงานและการศึกษาต่อ ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย 3.51
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 225,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 225,800 /2,000 = 112.90 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
967 |
กิจกรรมที่ 5 จัดงานราชภัฏวิชาการและเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (SKRU OPEN HOUSE) ประจำปีการศึกษา 2567(1,623,000 บาท) |
2568 |
1. เพื่อจัดแสดงนิทรรศการผลงานและนวัตกรรมของคณาจารย์และนักศึกษา
2. เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด องค์ความรู้ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการแก่ผู้เข้าร่วมงาน และผู้สนใจทั่วไป
3. เพื่อจัดการประกวด แข่งขันทักษะ สัมมนากิจกรรมทางวิชาการของคณะและหลักสูตร
4. เพื่อแนะนำและประชาสัมพันธ์หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการรับสมัครนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2568
5. เพื่อสร้างเครือข่ายครูแนะแนวระหว่างโรงเรียนกับมหาวิทยาลัย และเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยสู่สังคมภายนอก
|
- เชิงปริมาณ : - ผู้บริหารสถานศึกษา ครู/อาจารย์ บุคลากร นักเรียน นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป จำนวน 2,000 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่
น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักเรียน/นักศึกษา สมัครเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาตามแผนรับ ประจำปีการศึกษา 2568 ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 75
- จัดแสดงผลงานนิทรรศการ อบรมสัมมนา และการประกวดแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า 25 กิจกรรม
- หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม และองค์กรภายนอก สนใจเข้าร่วมจัดนิทรรศการภายในงาน ไม่น้อยกว่า 10
หน่วยงาน
- เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ รับทราบรายละเอียดกิจกรรม และมีส่วนร่วมหรือเข้าร่วมกิจกรรม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,623,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,623,000/2,000 = 811.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
968 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมให้ความรู้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA(93,200 บาท) |
2568 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์AUN-QA และแนวทางการนำเกณฑ์ AUN-QA ไปใช้ในการดำเนินงานระดับหลักสูตร |
- เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 196 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. จำนวนหลักสูตรที่เข้าร่วมการอบรมไม่น้อยกว่า 30 หลักสูตร
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์ AUN - QA อยู่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 93,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 93,200/196 = 475.51 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
969 |
กิจกรรมที่ 5 สัมมนาเชิงปฏิบัติการแนวทางการจัดตั้ง Hoiding Company ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(9,800 บาท) |
2568 |
1 เพื่อวางแนวทางการจัดตั้ง Holding Company
2 เพื่อสร้างกลไกการร่วมลงทุนของสถาบันอุดมศึกษา/สถาบันวิจัย กับภาคเอกชน ผ่านกลไก Holding Company
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการรับรู้และเข้าใจวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง Holding
Company ในมหาวิทยาลัยร่วมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 8,335 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 8,335/30 = 277.83 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
970 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เยาวชนจิตอาสา "ทูตวัฒนธรรม"(39,600 บาท) |
2568 |
เพื่อพัฒนานักศึกษาทูตวัฒนธรรมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
1. เชิงปริมาณ
(1) มีเครือข่ายแกนนำนักศึกษาทูตวัฒนธรรมาระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน จำนวน 1 เครือข่าย
(2) มีนักศึกษาทูตวัฒนธรรม จำนวน 50 คน มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
(1) มีนักศึกษาทูตวัฒนธรรมมีความรู้ความเข้าใจในหลักคุณธรรมจริยธรรม ขนบประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม และการช่วยเหลือขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา
สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 39,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 39,600/50 = 792 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
971 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการและจัดประกวดออกแบบบอร์ดเกมส์ เล่น เรียนรู้ วัฒนธรรมอัตลักษณ์สงขลา(97,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อสร้างบอร์ดเกมส์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมอัตลักษณ์สงขลา
2. เพื่อจัดประกวดบอร์ดเกมส์ที่สามารถเข้าใจง่ายและสื่อถึงวัฒนธรรมอัตลักษณ์สงขลา
|
1. เชิงปริมาณ
(1) มีบอร์ดเกมส์ที่ได้จากการประกวดอย่างน้อย จำนวน 5 บอร์ดเกมส์
(2) มีบอร์ดเกมส์ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้รูปแบบใหม่ของโครงการสงขลาคดีศึกษา จำนวน 1 แหล่ง
(3) นักศึกษาที่เรียนในรายวิชาวัฒนธรรมกับอัตลักษณ์ท้องถิ่นสมัยใหม่ จำนวน 110 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาในรายวิชาวัฒนธรรมกับอัตลักษ์ท้องถิ่นสมัยใหม่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการสร้างและออกแบบบอร์ดเกมส์ ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา
สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 97,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 97,600 / 110 = 887.27 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
972 |
กิจกรรมที่ 9 จัดงานพัฒนาศักยภาพด้านทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมมนุษย์มดและการประกวดคลิปวีดีโอ "วิถีเราชาวปักษ์ใต้season 5"(101,300 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาสะท้อนถึงความเป็นมาของศิลปวัฒนธรรมของชาวปักษ์ใต้
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีผลงานเป็นคลิปวีดีโอในการประชาสัมพันธ์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชาวปักษ์ใต้คงอยู่ต่อไป
|
1. เชิงปริมาณ 5.1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 130 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.2 ผู้เข้าร่วมโครงการ ที่สนใจเข้าร่วมส่งผลงาน ไม่น้อยกว่า 10 ทีม
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และการละเล่นของชาวภาคใต้จากพื้นที่จริงไม่น้อยกว่า 20 ทีม
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีผลงานโดยใช้สื่อเทคโนโลยีตัดต่อเป็นคลิปวีดีโอในการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และการละเล่นของชาวภาคใต้อย่างน้อยหลักสูตรละ 1 ชิ้นงาน
2.3 นักศึกษาพึ่งพอใจในการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 101,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 101,300/130 = 779.23 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 |
 |
973 |
กิจกรรมที่ 10 จัดงานสร้างจิตอาสาเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ประจำปี พ.ศ. 2568(197,600 บาท) |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษาแสดงออกถึงความเป็นจิตอาสาเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ประจำปี พ.ศ. 2567 |
5.1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 500 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษามีความตระหนักรู้ในชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่ในระดับดีมาก
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 จากผลการประเมิน
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 197,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต : = 329.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
974 |
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ตามรอยพระราชา "MGT สืบสานรักษาต่อยอดเศรษฐกิจพอเพียงและโคกหนองนา โมเดล"(66,300 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจโครงการในพระราชดำริรัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10
2 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การจัดทำบัญชีครัวเรือน
3 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้โครงการโคกหนองนาโมเดล |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
- นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ)
- นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการในพระราชดำริ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษามีมีความพึงพอใจต่อการตัดโครงการโดยมีคาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
66,300/400 = 165.75 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
975 |
กิจกรรมที่ 13 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง สืบสานถ่ายทอดความเป็นไทยและวัฒนธรรมองค์กร(8,400 บาท) |
2568 |
๒.๑ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธภาพที่ดีระหว่างอาจารย์ บุคลากร นักศึกษาทุกหลักสูตร
๒.๒ เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาทุกหลักสูตร ได้มีโอกาสทำกิจกรรมร่วมกัน
๒.๓ เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา อาจารย์เกษียณอายุราชการ และศิษย์เก่าของคณะร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ความเป็นมาของคณะวิทยาการจัดการ
๒.๔ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตสำนึกด้านประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น |
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงปริมาณ)
- บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่า และอาจารย์เกษียณอายุราชการ คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 86 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงคุณภาพ) *
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความมีจิตสำนึกด้านการสืบสานประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ดัชนีวัดความสำเร็จ (เชิงต้นทุนต่อหน่วย)
8,400/86 = 97.67 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
976 |
กิจกรรมที่ 22 เข้าร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมระหว่างสถาบัน(52,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น
2. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านกิจกรรมนักศึกษาระหว่างสถาบัน
3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์กิจกรรมด้านทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของนักศึกษาระหว่างสถาบัน
4. เพื่อให้สโมสรนักศึกษาจัดกิจกรรมสอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 16 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ อยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 52,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 52,800/16 = 3,300 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
977 |
กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและการอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา(11,100 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและการอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางโดยตรง
2.2 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 22 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,000 / 22 = 500 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
978 |
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เกษตรท้องถิ่นวิถีไทยพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร(31,000 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เชิงอนุรักษ์พืชสมุนไพร รวมถึงประโยชน์ของสมุมไพรในท้องถิ่น
2 เพื่อส่งเสริมการนำพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ผลิตง่าย ใช้สะดวก
|
1 เชิงปริมาณ
นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตรชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และแสดงออกถึงความตระหนักในการอนุรักษ์ และต่อ ยอดผลิตภัณฑ์สมุมไพรพื้นบ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 31,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 31,000/100 = 310 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
979 |
กิจกรรมที่ 29 จัดกิจกรรมจิตอาสาและประกวดสื่อสร้างสรรค์เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์(59,500 บาท) |
2568 |
1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในคุณค่าและภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ความเป็นชาติไทย
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาร่วมกิจกรรมจิตอาสา บำเพ็ญประโยชน์ในวันสำคัญ และส่งเสริมการแข่งขันจัดทำคลิปวีดีโอประกวด
2. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนรุ่นใหม่มีความรักสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อันเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 200 คน และผู้สนใจจากหน่วยงานภายนอก เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 59,500 บาท
5. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 59,500/182 = 326.92 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
980 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง บริการวิชาการอย่างไรให้ได้ตำแหน่งทางวิชาการ(65,400 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการทำผลงานบริการวิชาการเพื่อยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการจากงานรับใช้สังคม
2 เพื่อ Upskill ศักยภาพนักวิจัยในการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ
|
- เชิงปริมาณ : บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : บุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจด้านการเตรียมข้อมูลในการทำผลงานบริการวิชาการเพื่อยื่นขอตำแหน่งทาง
วิชาการจากงานรับใช้สังคมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 65,340 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 65,340/100 = 653.40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
981 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 47,080 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 47,080/120 = 392.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
982 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญากับงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เรื่อง "วิจัยอย่างไรให้สามารถจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและขายได้"(17,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
แต่ละประเภท
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์มาสู่การจดทะเบียนคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาได้เพิ่มขึ้น
|
1. เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน
จำนวน 55 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์มาสู่การจดทะเบียนคุ้มครอง
ทรัพย์สินทางปัญญาได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 17 |
 |
983 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(48,100 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบายและประเมินทักษะ ความพร้อมของตนเองก่อนฝึกงาน
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
|
เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 62 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
2. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดแนวทางการนำทักษะไปใช้สำหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
984 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ฝีกทักษะการนำเสนอผลงานวิชาการอย่างมืออาชีพ(29,400 บาท) |
2568 |
เพื่ออบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะการนำเสนอผลงานวิชาการอย่างมืออาชีพ ให้แก่นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รหัส6331101, 6431105, 6431106 และ 6431107 |
1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. รหัส 6331101, 6431105, 6431106 และ 6431107 จำนวน 132 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และมีผลงานวิจัย ไม่น้อยกว่า 28 ผลงาน
2 เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ภาค กศ.บป. รหัส 6331101, 6431105, 6431106 และ 6431107 มีความรู้เกี่ยวกับทักษะการนำเสนอผลงานวิชาการอย่างมืออาชีพได้เป็นอย่างดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 29,400 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 29,400 = 222.73 บาท/คน
132
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
985 |
กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการงานภาครัฐภายใต้ศาสตร์พระราชา(101,300 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้ผู็เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ได้เปิดมุมมองและวิสัยทัศน์จากการเรียนรู้ประสบกาณ์ตรงนอกห้องเรียน
2. เพือเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พบงานที่ตนเองต้องการทำเมื่อจบการศึกษา
3. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ตลาดแรงงาน และเตรียมคุณสมบัติเื่พอให้สอดคล้องกับงาน |
1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสตรบัณฑิต จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสตรบัณฑิตได้รับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์พระราชา ผ่านโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานภายในะยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 173,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 173,300/40 = 4,332.5 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 |
 |
986 |
กิจกรรมที่ 6 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง เสริมสร้างคุณลักษณะนักศึกษาจิตภัฎพัฒนาชุมชน(143,000 บาท) |
2568 |
2.1 เพื่อปลูกฝังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับการปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนโดยใช้จิตอาสาเป็นฐาน
2.2 เพื่อสร้างลักษณะเด่นเฉพาะหลักสูตรผ่านคำว่า “นักศึกษาจิตภัฏ”
2.3 เพื่อสร้างกลไกในการสำนึกในปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรในฐานะบรมครูพัฒนาชุมชน
2.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องจิตลักษณะของนักพัฒนาชุมชน เทคนิคการเสริมสร้างจิตอาสา และทุนชุมชนกับบทบาทการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
|
5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจิตอาสาจากหัวข้อ
ที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการเรียน
และการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 143,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 143,000 = 1,787.50 บาท/คน
80
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
987 |
กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการ(47,900 บาท) |
2568 |
1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากผู้ประกอบการเพื่อสร้างแนวคิดในการเป็นผู้ประกอบการ
2 เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้วิธีการพัฒนาทักษะทางอาชีพจากผู้ประกอบการจริง
3 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงการประกอบธุรกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการ |
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ภาค กศ.บป. จำนวน 16 คน เข้าร่วมโครงการ จำนวน 16 คน คิดเป็น ร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ภาค กศ.บป. ได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ครอบคลุม 3 ด้าน
เชิงต้นทุนต่อหน่วย : 53,820/16 = 3,363.75 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
988 |
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาหลังฝึกการปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษา(13,500 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารในหน่วยงานทางการศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาแสดงผลงานที่เกิดจากการฝึกปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G180 จำนวน 27 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G180 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 13,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 13,500/27 = 500 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
989 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา(28,500 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการพัฒนาจิต
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการพัฒนาจิต
3. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีและนำการพัฒนาจิตมาใช้ในการปฏิบัติงาน และดำรงชีวิต
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 67G180 จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 67G180 มีความเข้าใจหลักการพัฒนาจิต มีทักษะในการพัฒนาจิต และมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 28,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 28,500/30 = 950 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
990 |
กิจกรรมที่ 7 เปิดโลกทัศน์เพื่อสร้างวิสัยทัศน์ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพ(155,700 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้เปิดโลกทัศน์ทางการบริหารการศึกษาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษากับหน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษาต้นแบบ และแหล่งเรียนรู้
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาต้นแบบและแหล่งเรียนรู้
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาสถานศึกษาต้นแบบ และแหล่งเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
4. เพื่อให้นักศึกษาทำรายงานสรุปผลการศึกษาดูงานและนำเสนอแนวทางการการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเองเป็นผู้บริหารมืออาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G180 จำนวน 27 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัส 66G180 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 150,540 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 150,540/27 = 5,575.55 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
991 |
กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมความเป็นครูและครูจิตอาสาสำหรับนักศึกษารหัส 67 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(50,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู
2. เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
3. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะการมีจิตอาสาในการทำงานเพื่อส่วนรวมและสังคม
4. เพื่อให้นักศึกษามีจิตอาสาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย
|
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 67 จำนวน 31 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและการพัฒนาคุณธรรมความเป็นครู นำความรู้เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ครู วัดจากการทำแบบสอบถามการนำไปใช้ มีค่าเฉลี่ยในระดับมากขึ้นไป
เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 50,600 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 50,600/31 = 1,632.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
992 |
กิจกรรมที่ 9 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 1 รหัส 66 และปฐมนิเทศก่อนออกฝึก 2 สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(22,800 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้และประสบการณ์จากการสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติ การสอนในชั้นเรียนสาขาวิชาเฉพาะ 1
2. เพื่อให้นักศึกษาประยุกต์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการสัมมนาไปใช้ในการปฏิบัติการสอนในการฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 2
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนสาขาเฉพาะ 2
4. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการฝึกปฏิบัติการสอน 2 ตามเกณฑ์คุรุสภา
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 66 จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการฝึกปฏิบัติ การสอนในสาขาวิชาเฉพาะ 2 และมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ
- เชิงเวลา สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 22,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 22,800/15 = 1,520 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
993 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนานักศึกษา ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยงทางด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพที่สอดคล้องมาตรฐานคุรุสภา(38,600 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้นักศึกษา ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มีความรู้ความเข้าใจในด้านเนื้อหาและมีทักษะประสบการณ์วิชาชีพตามเกณฑ์มาตรฐานคุรุสภา
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบวิชาชีพครูและทักษะในศตวรรษที่ 21
|
เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รหัส 66 และรหัส 67 จำนวน 46 คน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 74 คน รวม 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและประสบการณ์วิชาชีพตามเกณฑ์มาตรฐานคุรุสภา และมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,600 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 38,600/120 = 321.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 |
 |
994 |
กิจกรรมที่ 10 บรรยายและสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 |
2568 |
2.1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจในการสัมมนาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2
2.2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000/180 = 222.22 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 17 |
 |
995 |
การพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : การสอนวิทยาศาสตร์ฐานสมรรถนะ : BCG Model สู่ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (กิจกรรมที่ 2-กิจกรรมที่ 5) |
2568 |
1. เพื่อให้เห็นความสำคัญและช่วยผลักดัน ติดตามการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฐานสมรรถนะที่ส่งเสริมนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจ BCG
2. เพื่อพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ให้สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นสมรรถนะและการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ BCG
|
1. เชิงปริมาณ
- จำนวนผู้บริหาร ครูและนักเรียนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 10 โรงเรียน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 160,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
1) กิจกรรมที่ 1 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (3,600/10 = 360 บาทต่อคน)
2) กิจกรรมที่ 2 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (61,900/30 = 2,03.3 บาทต่อคน)
3) กิจกรรมที่ 3 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (34,000/10 = 3,400 บาทต่อคน)
4) กิจกรรมที่ 4 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (54,600/50 = 1,092 บาทต่อคน)
5) กิจกรรมที่ 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (5,900/10 = 590 บาทต่อโรงเรียน) |
|
 |
996 |
กิจกรรมที่ 1 จัดงานประกวดเด็ก WISH นักสื่อสารสร้างสรรค์ Content 2024 |
2568 |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถผ่านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
2. เพื่อคัดเลือกนักศึกษาเป็นตัวแทนประชาสัมพันธ์กิจกรรมของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
|
เชิงปริมาณ - นักศึกษา จำนวน 400 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษา จำนวน 16 คน เข้าร่วมประกวดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีนักศึกษาเป็นตัวแทนในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ไม่น้อยกว่า 2 คน
- มีนักศึกษาแสดงความสามารถผ่านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ไม่น้อยกว่า 16 คน
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมิน เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 64,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 64,000/400 = 160 บาท/คน
|
|
Fatal error: Maximum execution time of 120 seconds exceeded in C:\xampp\htdocs\th\project.php on line 434