ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
|
|
2 |
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
-เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล
-เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
-เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท
-ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
|
3 |
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะเชิงปฏิบัติการพัฒนา ทักษะวิชาชีพสำหรับนวัตกรการ เกษตร ชั้นปีที่ 1 และ 2 (26,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และมีทักษะปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง โดยสามารถเชื่อมโยงความรู้จากในห้องเรียนได้
2. เพื่อเพิ่มการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
|
1. เชิงปริมาณ
- มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 17คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษา มหาวิทยาลัย กับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน อย่างน้อย 1 เครือข่าย
- ผ่านการรับรองการเป็นผู้ตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (SDGsPGS) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- นักศึกษาสามารถจัดทำร่างโครงการบริการวิชาการในการยกระดับชุมชนได้ อย่างน้อย 2 โครงการโดยใช้หลักการวิศวกรสังคม
2. เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทฤษฎี ไปใช้ในการทำงานในสถานที่จริง จากการประเมินของอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 2 |
|
4 |
กิจกรรมที่ 27 จัดงานซอแรงเกี่ยว ข้าว สืบสาน รักษา ต่อยอด ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (โคกหนองนา โมเดล) (วิทยาเขตสตูล) (5,000 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้การเก็บเกี่ยวข้าว
2.2 อนุรักษ์และสืบสานประเพณีซอแรงให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จัก
|
๕.๑ เชิงปริมาณ
๕.๑.๑ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 คน จากเป้าหมาย ๕๐ คน
๕.๑.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวข้าวให้แล้วเสร็จจำนวน ๕ แปลงตามกำหนดการ
๕.๒ เชิงคุณภาพ
๕.๒.๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประเพณีซอแรงเกี่ยวข้าว และเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ จากแบบทดสอบ
๕.๓ เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
๕.๔ เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๔,๕๐๐ บาท
๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ๔,๕๐๐ /๕๐ = ๙๐ บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 17 |
|
5 |
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ
2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น
3. เพื่อทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้
|
1.เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3 .เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 78,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 78,600/200 = 393 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 |
|
6 |
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม
|
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา
3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
7 |
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
|
3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้
3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
8 |
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล |
2566 |
1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ดูแลและผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
2. เพื่อประเมินผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืนและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับการยอมรับในด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับชาติ
|
- เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ดูแลภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,000/30 = 1,433.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 |
|
9 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์กรสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว(33,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้ด้านเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวเพื่อเข้าสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว
2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นำความรู้และเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวไปใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน
|
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 อาจารย์และบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 80 คน
เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน
สีเขียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,800 = 422.50 บาท/คน
80
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 13 เป้าหมายที่ 15 |
|
10 |
กิจกรรมที่ 24 อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมทักษะเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะวิชาชีพสำหรับนวัตกรการเกษตร ชั้นปีที่ 1 และ 2(37,900 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และมีทักษะปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง โดยสามารถเชื่อมโยงความรู้จากในห้องเรียนได้
2.เพื่อเพิ่มการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 |
เชิงปริมาณ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 19 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษา มหาวิทยาลัย กับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน อย่างน้อย 1 เครือข่าย
- นักศึกษาสามารถจัดทำร่างโครงการบริการวิชาการในการยกระดับชุมชนได้ อย่างน้อย 1 โครงการโดยใช้หลักการวิศวกรสังคม
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทฤษฎี ไปใช้ในการทำงานในสถานที่จริงจากการประเมินของอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ ร้อยละ 100
เชิงเวลา สามารถดำเนินงานภายในระยะเวลาที่กำหนด |
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 |
|
11 |
กิจกรรมที่ 8 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1(44,200 บาท) |
2567 |
1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1
2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565
จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 |
|
12 |
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 (มรภ.สข 1107-67-0025)(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) |
2567 |
2.1 เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565
2.2 เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
|
5.1 เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100
5.2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568
ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
5.3 เชิงเวลา : สามารถปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา ได้ทันตาม
ระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท
5.5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 /7 = 5,741.28 บาท : คน
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 |
|
13 |
โครงการ รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบข้อเขียน
2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบคัดเลือกเป็นนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจในกระบวนการสอบสัมภาษณ์
|
5.1 เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของกลุ่มเป้าหมาย
5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,850 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,850 /180 = 188.05 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 |
|
14 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน |
2567 |
1. เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
2. เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน
3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา
|
เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองสงขลา
จ.สงขลา จำนวน 25 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการครบทุกครัวเรือน
เชิงคุณภาพ :
- รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 หลังจากที่ได้วัสดุอุปกรณ์และได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ (รอผลการติดตาม)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากเดิม
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 99 และขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยที่มีโครงการนี้ขึ้นมา
- ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
ชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 255,450 บาท ใช้จริง 244,594 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
15 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.3 ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพครัวเรือนยากจน |
2567 |
ติดตามผล และให้คำปรึกษาแนะนำการส่งเสริมอาชีพ |
เชิงปริมาณ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีโอกาสลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าครัวเรือนยากจน จำนวน 26 ครัวเรือน อย่างน้อย 1 ครั้ง
เชิงคุณภาพ : ครัวเรือนจำนวน 26 ครัวเรือน สามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนในอนาคต
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 12,000 บาท |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
|
16 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 47,080 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 47,080/120 = 392.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
17 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 17 |
|