ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์กรสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว(33,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้ด้านเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวเพื่อเข้าสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว
2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นำความรู้และเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวไปใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน
|
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 อาจารย์และบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 80 คน
เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน
สีเขียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,800 = 422.50 บาท/คน
80
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 13 เป้าหมายที่ 15 |
|
2 |
ศึกษาดูงานพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษาคณะครุศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2566 |
2567 |
เพื่อให้ผู้นำนักศึกษาของคณะครุศาสตร์ได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและการบริหารจัดการสโมสรนักศึกษา |
5.1 เชิงปริมาณ
ผู้นำนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการบริหารงานกิจกรรม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่น้อย 3.51
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 6,900 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6,900/50 = 138 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 12 |
|
3 |
ค่ายครูอาสาพัฒนาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านส้านแดง |
2567 |
2.1 เพื่อผลิตสื่อการเรียนการสอนให้กับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านส้านแดง
2.2 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของโรงเรียนและจัดห้องเรียนให้เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้ |
- เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาคณะครุศาสตร์จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) จำนวนสื่อการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 7 สื่อการสอน
3) มีห้องเรียนที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ จำนวน 1 ห้อง
4) ภูมิทัศน์โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนได้รับการปรับปรุง ไม่น้อยกว่า 2 พื้นที่
- เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,200/40 = 1130 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 12 |
|
4 |
โครงการจัดงานประกวด HUSO Talent Contest ประจำปีการศึกษา 2566 |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์ |
5.1 เชิงปริมาณ
1) นักศึกษาจำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2) มีจำนวนผลงานการแสดงของนักศึกษา ไม่น้อยกว่า 8 ผลงาน
5.2 เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว โดยมีค่าประเมินเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 3.51
5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 56,700 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 1,890/คน
|
เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 13 |
|
5 |
กิจกรรมเทศกาลดนตรีไทยและศิลปะการแสดงส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 มีเทศกาลดนตรีไทยและศิลปะการแสดงส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา จำนวน 1 เทศกาล
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ร้อยละความสุขมวลรวม (GVH) ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 41
5.2.2 มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
5.2.3 ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดเทศกาลดนตรีและศิลปะ 12,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1๔๐,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1๔๐,000/100 = 1,400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 12 |
|
6 |
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน
2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย
|
เชิงปริมาณ
1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง
เชิงคุณภาพ
1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน
3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน
5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
|