ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
|
|
2 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเสริมสร้างทักษะในการ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและ รายงานการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (36,900 บาท) |
2566 |
1. บุคลากรสายวิชาการและสาย
สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน
เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน
ตามแผนการบริหารความเสี่ยง
โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
ร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้
ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในหน่วยงานละ 1 แผน
รวม 15 แผน |
1. บุคลากรสายวิชาการและสาย
สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน
เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน
ตามแผนการบริหารความเสี่ยง
โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
ร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้
ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในหน่วยงานละ 1 แผน
รวม 15 แผน |
เป้าหมายที่ 16 |
3 |
กิจกรรมที่ 2 อบรม เรื่อง การประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (20,500 บาท) |
2566 |
เพื่อให้คณะกรรมการอำนวยการ
คณะกรรมการดำเนินงาน และ
คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจ
ตระหนักถึงความสำคัญของการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ตลอดจนได้รับทราบแนวทางการ
ประเมินการรวบรวมข้อมูลและ
เตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการ
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 ได้อย่างถูกต้อง |
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอ
ใจในการเข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2. บุคลากรสายวิชาการและ
สายสนับสนุน จำนวน 130 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
3. ผลการตรวจประเมิน ITA
ได้รับคะแนนรวมจากการประเมิน
ร้อยละ 85 |
เป้าหมายที่ 16 |
|
4 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล ต่อต้านการทุจริตในองค์กร (14,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากร ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสำคัญในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร
2.เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม มีส่วนร่วมในการสร้างค่านิยมองค์กรคุณธรรม สามารถนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จ และต่อต้านการทุจริตในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล
|
1.เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,800/120 = 40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
5 |
กิจกรรมที่ 3.1.2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องการส่งเสริมการตลาดและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ของชุมชน |
2566 |
1. เพื่อยกระดับเศรษฐกิจในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน
2. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งตนเองได้
3. เพื่อนำความรู้ด้านการส่งเสริมการตลาดไปใช้ในการจำหน่ายผลิตภัณฑื |
เชิงปริมาณ : 1. กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ชุมชนต้นแบบได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1 ชุมชน
3. ชุมชนมีผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดออนไลน์ จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 10 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 135,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 135,000/180 = 752.22 บาท |
เป้าหมายที่ 16 |
|
6 |
กิจกรรมที่ 3.1.3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และจัดงานประกวดการแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน |
2566 |
1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนมีศูนย์การเรียนรู้ในชุมชนท้องถิ่น
2.เพื่อนำผลิตภัณฑ์ของชุมชนมาจัดแสดงให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
3. เพื่อสร้างจุดเด่นของชุนชนต้นแบบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่าง
|
- เชิงปริมาณ : 1.กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 100 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 แห่ง
- เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 1 เครือข่าย
3. มีผลิตภัณฑ์ชุมชนร่วมงานจัดแสดงสินค้าอย่างน้อย 5 ผลิตภัณฑ์
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 74,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 74,900/100 = 749 บาท
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
7 |
กิจกรรมที่ 3.1.4 ลงพี้นที่ติดตามความก้าวหน้า |
2566 |
1. เพื่อประเมินผลการดำเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
2. เพื่อสามารถนำผลจากการติดตามความก้าวหน้ามาปรับปรุงและพัฒนา
3. นำผลที่ได้จากการปรับปรุงและพัฒนา เสนอต่อชุมชนและเทศบาลโคกม่วง
|
1. เชิงปริมาณ : - ลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
- รายงานผลการติดตามความก้าวหน้าอย่างน้อย 1 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ : - เทศบาลโคกม่วงสามารถนำผลรายงานการติดตามความก้าวหน้าไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาต่อไป
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/2 = 7,450 บาท
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
8 |
กิจกรรมที่ 3.7.4 จัดงานเทศกาลปลากระพง |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเกาะยอสู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลเกาะเกาะยอโดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน
|
1.เชิงปริมาณ
1.1 มีเกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.2 เกิดชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชน ที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน
1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเกาะยอ เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3.เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
9 |
กิจกรรมที่ 3.7.5 จัดงานเทศกาลจำปาดะ |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเกาะยอสู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลเกาะเกาะยอโดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน
|
1.เชิงปริมาณ
1.1 มีเกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.2 เกิดชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชน ที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนา อย่างยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน
1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเกาะยอ เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
10 |
กิจกรรมที่ 7.2.2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาท้องถิ่นตามโครงการพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย กรณีชุมขนต้นแบบตะโหมดกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน |
2566 |
เพื่อจัดงานโครงการพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย กรณีชุมชนต้นแบบ ตะโหมดกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน |
1.เชิงปริมาณ
1.1ได้โมเดลชุมชนต้นแบบที่มีการพัฒนาท้องถิ่นตามพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 1 โมเดล
1.2 เกิดนวัตกรชุมชน จำนวน 5 คน
1.3 คนในชุมชนเกิดเครือข่ายการอนุรักษ์ ดูแล ทรัพยากรของชุมชนทั่วประเทศ จังหวัด 10 คน รวม 30 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3.เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
11 |
กิจกรรมที่ 7.2.3 จัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมขน การท่องเที่ยวชุมขน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย |
2566 |
เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยการใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย |
1.เชิงปริมาณ
1.1 ได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 8 ชุมชนต้นแบบ
1.2 คนในชุมชนเกิดเครือข่ายการอนุรักษ์ ดูแล ทรัพยากรของชุมชนทั่วประเทศ จังหวัดละ 10 คน รวม 30 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
12 |
กิจกรรมที่ 3.1.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ตลาด by MGT |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน
2. เพื่อให้ผู้ประกอบการและนักศึกษาร่วมกันหาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
3. เพื่อส่งเสริมช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในชุมชน
4. เพื่อนำผลิตภัณฑ์ในชุมชนมาจัดจำหน่ายและจัดแสดงในคณะวิทยาการจัดการ |
เชิงปริมาณ : 5.1.1 กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 มีการบูรณาการในรายวิชา จำนวน 2 รายวิชา
5.1.3 มีนักศึกษาเข้าร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน จำนวน 5 คน
5.1.4 ชุมชนมีศูนย์เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ชุมชน จำนวน 1 ศูนย์
เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการในชุมชนมีผลิตภัณฑ์พัฒนาสู่ตลาด จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์
5.2.2 ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 81,100 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 81,100/20 = 4,055 บาท |
เป้าหมายที่ 16 |
|
13 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน การเขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่าน ออก เขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 204,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 204,700/300 = 682.34 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
14 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1.3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน เขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) นักเรียนมีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 129,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 129,300/180 = 718.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
15 |
ยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 11 ประชุมเพื่อทบทวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน(43,800 บาท) |
2566 |
1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูความสามารถทางการเรียนรู้ (learning recovery)
2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สูงขึ้น
|
- เชิงปริมาณ
1) คณะครุศาสตร์มีนวัตกรรมในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน 3 นวัตกรรม
2) ครูที่เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
- เชิงคุณภาพ
1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษามีพัฒนาการที่สูงขึ้นร้อยละ 3
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,800/78 = 561.53 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
16 |
งานแสดงมุฑิตาจิต บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่เกษียณอายุราชการ ประจำปี 2566 |
2566 |
2.1 เพื่อยกย่อง เชิดชูเกียรติ และชมเชยบุคลากรที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
2.2 เพื่อสืบสานประเพณีและแสดงถึงความรักความสามัคคีระหว่างบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนผู้ที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
|
- เชิงปริมาณ : 1. บุคลากรสายวิชาการที่ครบวาระเกษียณอายุราชการจำนวน 6 คน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาในโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 229,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 229,500/500 = 459 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 16 |
|
17 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตและ การเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน (546,500 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ความสามารถทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี (หุ่นยนต์) ให้กับนักเรียน
2. เพื่อพัฒนาศักยภาาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงต่อหน้าสาธารณะชนได้อย่างมีคใามสุข |
เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่มีความสนใตจเรียนเสริมทักษะ จำนวนทั้งสิ้น 270 คน (จำนวน 135 คนต่อ 1 ภาคเรียน)
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 546,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 546,500 / 270 เท่ากับ 2,024.07 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 16 |
|
18 |
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา(130,500 บาท) |
2567 |
1.เพื่อพัฒนาระบบงานบุคลากรและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้ครูได้รับการพัฒนาตนเองโดยการอบรมสัมมนาและแสวงหาความรู้จากสื่อต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
3. เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ ความสัมพันธฤ์อันดีต่อกันของครูและบุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่
4. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีแผนในการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
5. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community)
่6. ส้่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนได้จัดทำรายงานผลการประเมินตนเงอ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ |
เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรโรงเรียนรสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 46 คน เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลการทางการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 120,780 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 120,780 /46 = 2,625.65 |
เป้าหมายที่ 16 |
|
19 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการมนุษย์มดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษา(24,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางที่ดีในการปฏิบัติงานเพื่อความเป็นเลิศ
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ :
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
4. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน อย่างน้อย 1 ระบบ
5. อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 24,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 24,000/60 = 400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
20 |
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการเรียนรู้สำหรับครูฟิสิกส์(4,100 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน |
5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้องกว่าร้อยละ 30
5.2 เชิงคูณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เวร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุรต่อหน่วยกิจกรรม 4000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,000/30-133.33 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
21 |
ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 และแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 |
2567 |
1 เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดีให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและแผนกลยุทธ์ทางการเงินของมหาวิทยาลัย
2 เพื่อให้หน่วยงานภายในสำนักงานอธิการบดีนำแผนยุทธศาสตร์ไปเป็นกรอบในการดำเนินงานและทำให้บรรลุวิสัยทัศน์ของสำนักงานอธิการบดีที่กำหนดไว้
3 เพื่อบุคลากรของสำนักงานอธิการบดีมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดี
4 เพื่อให้สำนักงานอธิการบดีมีแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานอธิการบดีระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2670)
ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 และแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
: มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 1 แผ่น
: แผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ของมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 1 แผน
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 6,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 6,300 /50 = 126 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 16 |
|
22 |
กิจกรรมที่ 13 บรรยายพิเศษ เรื่อง ธรรมาภิบาลกับการบริหารมหาวิทยาลัย ยุคใหม่และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 12/2566 และประชุมทบทวนแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (138,150 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้บุคลากรในระดับผู้บริหารมีความเข้าใจหลักแห่งธรรมาภิบาลและสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและองค์กรเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้โดยมีหลักธรรมาภิบาลกับการบริหาร
3. เพื่อความเป็นหนึ่งเดียวตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
4. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาครั้งที่ 12/2566
5. เพื่อประชุมทบทวนแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจหลักแห่งธรรมาภิบาล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 121,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 121,000 บาท/42 = 2,880.95 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 16 |
|
23 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเสริมสร้างทักษะในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567(63,600 บาท) |
2567 |
เพื่อให้ผู้บริหาร อาจารย์ และบุคลากร มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน |
- เชิงปริมาณ 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 130 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 15 หน่วยงาน มีร่างแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน
หน่วยงานละ 1 แผน รวม 15 แผน
- เชิงคุณภาพ 1. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงโดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม ร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานการควบคุมภายใน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 62,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 62,800/130 = 483.08 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
24 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครูในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธและอิสลาม (คคศ.)(23,000 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธและอิสลาม
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความสำคัญ ความเป็นมาของประเพณีรวมถึงเรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการเกี่ยวกับพิธีกรรมงานทำบุญศาสนาพุทธและอิสลาม
2.3 เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีและมีความสนิทสนมกลมเกลียวกันมากขึ้น อันก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม
|
5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 185 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ:
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 23,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 23,000/185 = 124.32บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 16 |
|
25 |
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์" (สวพ.)(49,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
1. เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 33,680 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 33,680 /100 = 336.8 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
26 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การเขียนแบบข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา" (สวพ.)(10,200 บาท) |
2567 |
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อยื่นขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
- เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 90 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 4,800 /90 = 53.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
27 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อส่งเสริมให้ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์บูรณาการกับ 6 กิจกรรมหลัก เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัยในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 |
เชิงปริมาณ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียน ตชด. สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 จำนวน 32 คน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนกิจกรรม ที่นำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาบูรณาการกับ 6 กิจกรรมหลักเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 20 กิจกรรม |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
28 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อให้ครูปฐมวัยสามารถทำโครงงานวิทยาศาสตร์ : โครงการตามแนวทางของโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย |
เชิงปริมาณ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่43 จำนวน 32 คน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนโครงงานวิทยาศาสตร์ที่นำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์บูรณาการกับ 4 กิจกรรมหลักเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 โครงการ ต่อ 1 ห้องเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
29 |
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลในองค์กร |
2567 |
2.1 เพื่อให้คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินงาน และคณะทำงาน มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตลอดจนได้รับทราบแนวทางการประเมินการรวบรวมข้อมูลและเตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้อย่างถูกต้อง
2.2 เพื่อสร้างความเข้าใจวิธีการบันทึกหลักฐานการตรวจแบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT ผ่านระบบ ITAS ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
2.3 เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักธรรมาภิบาลและให้ความสำคัญกับการป้องกันและปราบปรามทุจริต
2.4 เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและสามารถนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์
|
5.1 เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผลการตรวจประเมิน ITA ได้รับคะแนนรวมจากการประเมินร้อยละ 85
5.3 เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 74,520 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 674,520/240 = 310.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
30 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพ สู่ตลาด (154,500 บาท) |
2567 |
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ และเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพ สู่ตลาด เพื่อนำไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน
2.เพื่อส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพ สู่ตลาด นำไปสู่การมีรายได้ของครัวเรือนเพิ่มขึ้น
3.เพื่อให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานความสุขมวลรวม (GVH)
4. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ
5. เพื่อกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบของโครงการร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
|
1. เชิงปริมาณ : - สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีการบูรณาการด้านการเรียนการสอนร่วมกับงานบริการวิชาการ อย่างน้อย 2 รายวิชา
- มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
2.เชิงคุณภาพ : - มีเครือข่ายร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างน้อย 1 เครือข่าย
- ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ชุมชน
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20
- รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาท/
ต่อครัวเรือน/ปี
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 146,500 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 146,500/20 = 7,325 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
31 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวีธีการส่งเสริมการสอนภาษาไทยสำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 |
- เชิงปริมาณ
คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
- เชิงคุณภาพ
ครูผู้สอนภาษาไทยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 169,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 169,300/30 = 5,643.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
32 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของครูปฐมวัย
2. เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจวิธีการและประเมินแบบทดสอบวัดความฉลาดทางอารมณ์
3. เพื่อให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ) สำหรับเด็กปฐมวัย
|
- เชิงปริมาณ
1) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 60 คน เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของ
ครูปฐมวัยและแบบทดสอบวัดความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์(EQ)สำหรับเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้มีแนวทางเพิ่มในการจัดกิจกรรมเสริมสมรรถนะเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 144,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 144,800/60 = 2,413.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
33 |
กิจกรรมที่ 4จัดแสดงสินค้าและวัฒนธรรมท้องถิ่นตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง(107,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมของชุมชนตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง สู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง โดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
|
1. เชิงปริมาณ : 1.1 เกิดตลาดวัฒนธรรมโคกม่วง 1 แห่ง
1.2 ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.3 มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
2. เชิงคุณภาพ : 2.1 เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
อย่างน้อย 2 เครือข่าย
2.2 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาทต่อ
ครัวเรือน/ปี
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 107,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 107,600/6 = 17,933.33 บาท/ครั้ง
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
34 |
โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนการดำเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมเป็นหน่วยประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช |
2567 |
1 เพื่อสนองพระราชดำริในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
2 เพื่อตั้งเป็นหน่วยประสานงาน อพ.สธ. ประสานงานเพื่อขับเคลื่อนงานสนองพระราชดำริ อพ.สธ. ทั้งภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานภายนอกในภาคใต้ (เครือข่าย C อพ.สธ.-ภาคใต้)
3 เพื่อเป็นหน่วยข้อมูล 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ ฐานทรัพยากรกายภาพ ฐานทรัพยากรชีวภาพ และฐานทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในเขตภาคใต้ (เครือข่าย C อพ.สธ.-ภาคใต้)
|
1 เชิงปริมาณ
คณะอนุกรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษณ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,800 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,800 บาท/20 คน = 140 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
35 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 (กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 โรงเรียน) มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ที่สูงขึ้น |
- เชิงปริมาณ
คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
- เชิงคุณภาพ
นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,350 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,350/120 = 1,211.25 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
36 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและมีรายได้เพิ่มขึ้น
2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
3. ชุมชนในพื้นที่บริการได้รับการยกระดับเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตด้วยความองค์ความรู้ทางวิชาการของมหาวิทยาลัย และประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
4. เพื่อประเมินผลลัพธ์ทางสังคมและผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน(SROI) รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุล |
เชิงปริมาณ : - ชุมชนเกาะยอมีหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 9 หมู่บ้าน/300 คน
เชิงคุณภาพ : - มีเครือข่ายร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างน้อย 8 เครือข่าย
- รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า12,000 บาทต่อครัวเรือน/ปี
- มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI)
จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 398,050 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 398,050/300 = 1,326.83 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
37 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 5 จัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
เพื่อจัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
1 เชิงปริมาณ
1)คณะครุศาสตร์มีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเ
ด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
2) โครงงานวิทยาศาสตร์ที่เข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการและประกวดแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศจำนวน 32 โครงการ
2 เชิงคุณภาพ
ครูผู้สอนปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนได้แนวทางการเพิ่มทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 64,600 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 64,600/32 = 2,018.75 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
38 |
กิจกรรมที่ 1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ Focus Group เพื่อวิเคราะห์ SWOT ของ 4 ตำบล อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา |
2567 |
1. เพื่อทราบบริบทของชุมชน ทั้ง 4 ตำบลของอำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา
2. เพื่อพัฒนาแผนการจัดหลักสูตรการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
3. เพื่อจัดกิจกรรมเสริมสมรรถนะกลุ่มอาชีพของชุมชน
4. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ
|
1. เชิงปริมาณ : - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน/ตำบล เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- มีการร่วมวิเคราะห์ SWOT ของ 4 ตำบล อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จำนวน 1 ครั้ง
- มีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับงานบริการวิชาการอย่างน้อย 1 รายวิชา
2. เชิงคุณภาพ : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20
- มีรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 80,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 80,000/80 = 1,000 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
|
39 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
2567 |
1. เพื่อสำรวจความต้องการครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
2. เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไปวิเคราะห์ความต้องการ/ปัญหา
|
เชิงปริมาณ :
1. ครัวเรือนยากจน จำนวน 41 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาทต่อครัวเรือน/ปี
เชิงคุณภาพ :
1. ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการ มีแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพ
ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
2. มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 21,700 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 16 |
|
40 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การนิเทศในชั้นเรียนและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน |
2567 |
1 เพื่อให้ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ ความเข้าใจด้านกระบวนการนิเทศ
2 เพื่อให้ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สามารถนิเทศและให้คำแนะนำครูผู้สอนได้ตามกระบวนการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3 เพื่อให้ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัด
4 เพื่อให้ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัดได้อย่างถูกต้อง
|
1 เชิงปริมาณผู้เข้าร่วมจำนวน 127 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ
1) ครูใหญ่และครูวิชาการโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเพิ่มทักษะการนิเทศและให้คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ครูผู้สอนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัด สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 282,000 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 282,000/127 = 2,220.47 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
41 |
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน
2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย
|
เชิงปริมาณ
1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง
เชิงคุณภาพ
1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน
3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน
5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
|
42 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ประเด็นเด่นในการทำผลงานวิชาการของครูวิทยาศาสตร์ |
2567 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางการศึกษา และศาสตร์การสอนให้กับครูประจำการทั่วไป และศิษย์เก่า
2. เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นเด่นในการทำผลงานวิชาการของครูวิทยาศาสตร์
3. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัด สพฐ.และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) จำนวนโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 15 โรงเรียน
2) จำนวนครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 30คน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 จากคะแนนเต็ม 5.00
2) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนเชิงรุก (active learning) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ร้อยละ 10
(กลุ่มเป้าหมายนักเรียนจำนวน 30 คน)
3) ครูประจำการทั่วไป บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และศิษย์เก่าสามารถนำ
ความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 79,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 79,100 /30 = 2,636.66 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
43 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย |
2567 |
1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านการเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัด สพฐ.และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการที่เข้าร่วม
การยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 12 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 218,400 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 218,400/12 = 18,200 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|
44 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก (กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21) |
2568 |
1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะผู้เรียนให้กับครูและนักเรียนในโรงเรียนตามกลุ่มเป้าหมาย
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัด สพฐ. และ โรงเรียนกองทุนการศึกษาในเขตพื้นที่บริการที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการที่เข้าร่วม
การยกระดับคุณภาพการศึกษา จำนวน 30 โรงเรียน
- เชิงคุณภาพ
1) ครูและนักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 852,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 852,000/30 = 28,400 บาท/โรงเรียน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
|