0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
  • 2567
  • 2568
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ (12,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 15 แข่งขันกีฬา “กล้วยไม้เกมส์” (235,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างอัตลักษณ์พัฒนา ทักษะการคิดและเพิ่มศักยภาพ นักศึกษาครูด้านเทคโนโลยีใน ศตวรรษที่ 21 (30,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น (81,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างนวัตกรรมทาง จิตวิทยาการปรึกษาและการ แนะแนวในศตวรรษที่ 21 สู่ชุมชน (33,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการ ดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์ (24,700 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ ศิลปะการจับจีบผ้า และการจัด ดอกไม้ในงานพิธีประเพณีนิยม ต่างๆ (108,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 น้อมรำลึก พระคุณครูครุศาสตร์ (วันครู) (58,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (19,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 เสริมสร้างอัตลักษณ์ ความเป็นครูด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี (50,000 บาท) 4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธ และอิสลาม 4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีวันสงกรานต์ของไทย
SDGs:
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะทางเทคโนโลยี ดิจิทัล (19,200 บาท) 7.1 การทำธุรกิจออนไลน์ ระหว่างเรียน 7.2 การสร้างสื่อเขียน Content เพื่อการประชาสัมพันธ์ 7.3 การสร้างการ์ตูนแอนนิเมชั่น
SDGs:
กิจกรรมที่ 9 9.2 สัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
SDGs:
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพนักกิจกรรมสัมพันธ์ ในงานสวัสดิการสังคม (40,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 16 ฝึกปฏิบัติการแปลง ประวัติศาสตร์สู่โลกแห่งบอร์ดเกมส์: ปฐมบทนักสร้างสรรค์บอร์ดเกมส์ เพื่อการเรียนรู้เมืองเก่าสงขลา บ่อยาง นอกสถานที่ (7,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาต้นทุนจากประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นสำนึกรักบ้านเกิด และทุน ทางวัฒนธรรมนำไปสู่การสร้างสรรค์ ผลงานสื่อสารสังคม ด้วยสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมสมัย และสื่อสังคมออนไลน์ (4,100 บาท)
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการสิงห์ สมิหลาบ่มเพาะต้นกล้าต้านทุจริต
SDGs:
กิจกรรมที่ 24 แข่งขันทักษะภาษาจีน และจัดนิทรรศการเนื่องในวันตรุษจีน (15,600 บาท) 24.1 จัดนิทรรศการวันตรุษจีนและ นิทรรศการประชาสัมพันธ์หลักสูตร 24.2 จัดการแข่งขันคัดลายมือ ภาษาจีน 24.3 จัดการแข่งขันร้องเพลงจีน 24.4 จัดซุ้มกิจกรรมแสดงผลงาน ของนักศึกษาในหลักสูตรและจัดฐาน ให้ความรู้แก่ผู้มาร่วมงาน
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ สำนักงานสีเขียวและป้องกันอัคคีภัย (20,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 ยกย่องและเชิดชู เกียรติผู้มีผลงานดีเด่น คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (10,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 13 ความร่วมมือด้าน พันธกิจสากล University Global Engagement (679,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสถาบัน (4,400 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (คคศ.) (19,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 27 จัดงานซอแรงเกี่ยว ข้าว สืบสาน รักษา ต่อยอด ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (โคกหนองนา โมเดล) (วิทยาเขตสตูล) (5,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อ การตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ” (สวพ.) (7,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ วงเครื่องสาย Satit String Ensemble (218,200 บาท) 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้ความรู้ ทักษะการปฏิบัติ เครื่องดนตรีไวโอลิน วงเครื่องสาย Satit String Ensemble 2.2 จัดงานคอนเสิร์ต วงเครื่องสาย Satit String Ensemble
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตและ การเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน (638,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 รับสมัครนักเรียน เข้าเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (35,900 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.1 กาแฟสินค้าอัตลักษณ์ (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.6 ผลิตและแปรรูปข้าวพื้นเมือง (เกษตรผสมผสานเกาะแต้ว)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.9 ยกระดับการผลิตส้มจุกเชิงพาณิชย์ (เกษตรพหุวัฒนธรรม ต.แค และพื้นที่ใกล้เคียง)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.10 ผลิตปุ๋ยอินทรีย์เสริมรายได้ (เกษตรพหุวัฒนธรรม ต.แค และพื้นที่ใกล้เคียง)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.6.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาที่ยั่งยืนผ่านการยกระดับสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนตำบลเขาขาว
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.6.2 จัดงานและสัมมนาเชิงปฏิบัติการกระบวนการทำข้าวเม่าในพื้นที่ตลาดวัฒนธรรมเขาขาว
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.7.3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการรวัตกรชุมชนกับการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
SDGs:
กิจกรรมที่ 6.2 อบรมเรื่องเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคตแก่นักศึกษา
SDGs:
กิจกรรมที่ 7.2.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และสตูล
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 เข้าค่ายลูกเสือเนตรนารี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 ค่ายครูอาสาพัฒนา โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (47,900 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 20 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ "สานสายใย ศศ.บ. ภาษาไทย ประจำปีการศึกษา 2565" (10,900 บาท)
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข่อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ
SDGs:
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : คิดสร้างสรรค์โค้ดสร้างเสริม
SDGs:
โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง อบรมการพัฒนานวัตกรรมจากความคิดสร้างสรรค์สู่การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
SDGs:
โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สื่อเพื่อน้องเรียนรู้ภาษาไทย
SDGs:
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย
SDGs:
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือคืนชีพ CPR(17,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบกิจกรรมและการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ (ครูวิทยาศาสตร์ภาคสนาม)(16,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการและค่ายสร้างผู้นำพลเมืองสำหรับครูสังคมศึกษา(41,400 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Coundelor ในศตวรรษที่ 21(42,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของคณะครุศาสตร์(111,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิลปวัฒนธรรมจีนเพื่อเสริมศักยภาพครูภาษาจีน(15,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 7 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(2,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(8,400 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 29 อบรมพัฒนาทักษะสู่การสอบใบประกอบวิชาชีพครู(8,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า(10,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 ประกวดโครงงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(68,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(48,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติและการใช้โปรแกรมสำหรับวิเคราะห์งานนักศึกษาหลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิตในศตวรรษที่ 21(60,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอน(14,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(15,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาองค์ความรู้บุคลากรสายวิชาการด้านการวิจัยและการเรียนการสอนในต่างประเทศ (1,076,400 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)(30,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 14 (คทอ.)(38,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 32 จิตอาสาบูรณาการงานทำนุศิลปะวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาครั้งที่ 1 (คทอ.)(53,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการทรัพย์สินทางปัญญากับงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เรื่อง "วิจัยอย่างไรให้สามารถจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและขายได้" (สวพ.)(32,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ (คคศ.)(23,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมเข้าศึกษานักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู(76,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบวัฒนธรรมไทย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002
SDGs:
โครงการศึกษาความเป็นไปได้และสัมมนาการปรับปรุง หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) ครั้งที่ 2" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002
SDGs:
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน
SDGs:
โครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 7.1: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 7.1.3: อบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประหยัดพลังงาน/พลังงานหมุนเวียน กลไกภาษีคาร์บอนและคาร์บอนเครดิต
SDGs:
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3)
SDGs:
โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ การปฏิบัติงานการปฏิบัติตนของครู
SDGs:
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาศักยภาพนักศึกษาครูภาษาจีน ด้านศิลปวัฒนธรรมจีน(18,500 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษาครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(3,400 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(37,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(36,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(36,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 10 บรรยายและสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) รุ่นที่ 3
SDGs:
โครงการความร่วมมือทางวิชาการและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่างประเทศ
SDGs:
ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1
SDGs:
ศึกษาดูงานการพัฒนานักศึกษาและศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์
SDGs:
การพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : การสอนวิทยาศาสตร์ฐานสมรรถนะ : BCG Model สู่ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ (12,600 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอธิบาย และประเมินทักษะ ความพร้อม ของตนเองก่อนฝึกงาน 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถระบุวิธีการและฝึกปฏิบัติ การสร้างภาพลักษณ์ให้เป็น นักศึกษาฝึกงานที่มีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิด ความเข้าใจถึงแนวปฏิบัติของ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ฯ ชั้นปีที่ 4 ภาค กศ.บป. จำนวน 66 คน เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจ ถึงแนวปฏิบัติของการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำ ความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ และแก้ป้ญหาในการฝึกประสบการณ์ฯ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
2 กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) 2566 1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
3 กิจกรรมที่ 15 แข่งขันกีฬา “กล้วยไม้เกมส์” (235,800 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.2 เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างนิสิต นักศึกษา คณาจารย์ และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ 2.3 เพื่อเป็นการฝึกให้นักกีฬาและนักศึกษามีการแสดงออกถึงความเป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา เข้าใจเกี่ยวกับกฎกติกาการแข่งขัน 2.4 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ กีฬา และนันทนาการแก่นักศึกษา 2.5 เพื่อให้นักศึกษามีจิตอาสา/มีจิตสาธารณะ/การบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม 2.6 เพื่อให้นักศึกษาครูทำกิจกรรมเสริมความเป็นครูตามที่คุรุสภากำหนด 5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ: 5.2.1 นักศึกษาได้รับการพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.2.2 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาที่จัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.2.3 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 235,800 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 235,800/150 = 1,572 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
4 กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างอัตลักษณ์พัฒนา ทักษะการคิดและเพิ่มศักยภาพ นักศึกษาครูด้านเทคโนโลยีใน ศตวรรษที่ 21 (30,800 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้นักศึกษามีจิตอาสา เสียสละ และบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม 3 เพื่อส่งเสริมทักษะทางปัญญาในการเตรียมความพร้อมด้านภาวะผู้นำทั้งในด้านความรู้ ทัศนคติ และทักษะการทำงาน 4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 5 เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน 1 เชิงปริมาณ: ตัวแทนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 150 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 30,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 30,800 /150 = 205.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
5 กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น (81,000 บาท) 2566 การลูกเสือเป็นกิจกรรมสร้างเสริมเยาวชนทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ ศีลธรรม และสังคม ให้มีความพร้อมในการดูแลตนเองและช่วยเหลือสังคม โดยมีกระบวนการของลูกเสืออย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาโดยคณะครุศาสตร์มีความตระหนักถึงภารกิจของครู ซึ่งเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณความคิดของเยาวชน จึงจัดทำโครงการพัฒนานักศึกษาในสาขาการศึกษา โดยมีการบรรจุการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้นให้นักศึกษาได้เรียนและเข้ารับการฝึกอบรมให้สามารถทำหน้าที่ผู้กำกับลูกเสือได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นสาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จึงได้กำหนดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ผู้กำกับลูกเสือสามัญขั้นความรู้เบื้องต้น เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะต่าง ๆ ของกิจการลูกเสือที่ถูกต้องต่อไป - เชิงปริมาณ: มีนักศึกษาจำนวน 480 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ: นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาองค์ความรู้จากการอบรม โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป : นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป : นักศึกษาคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป - เชิงเวลาสามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด -เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 81,000บาท -ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
6 กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างนวัตกรรมทาง จิตวิทยาการปรึกษาและการ แนะแนวในศตวรรษที่ 21 สู่ชุมชน (33,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีความรู้ความเข้าใจในการสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยา 2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีทักษะในการสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวในศตวรรษที่ 21 อย่างถูกต้องเหมาะสม 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถให้บริการวิชาการโดยการถ่ายทอดนวัตกรรมทางจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวสู่ชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงปริมาณ - นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว จำนวน 60 คน เข้าร่วม โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัด โครงการโดยมีคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนน ประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงเวลา - สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด ตัวชี้วัดความสำเร็จเชิงต้นทุน - ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 33,000/60 = 550 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
7 กิจกรรมที่ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการ ดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์ (24,700 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ 2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566) และในรอบระยะเวลาสิ้นปีแผนฯ (เมษายน - สิงหาคม 2566) 1 เชิงปริมาณ 1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 64 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน 2 เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/64 = 232.81 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 11
เป้าหมายที่ 17
8 กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ ศิลปะการจับจีบผ้า และการจัด ดอกไม้ในงานพิธีประเพณีนิยม ต่างๆ (108,800 บาท) 2566 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในศิลปะการจับจีบผ้าและจัดดอกไม้ในการจัดงานพิธีต่าง ๆ 2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม 3 เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะทางปัญญาในกระบวนการผูกผ้างานพิธีต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต 4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้ง 5 ด้าน 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 3-4 จำนวน 330 คน ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.3 นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 108,800 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 108,800/330 = 329.70 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
9 กิจกรรมที่ 2 น้อมรำลึก พระคุณครูครุศาสตร์ (วันครู) (58,100 บาท) 2566 1 เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติคุณครูและระลึกถึงพระคุณครู 2 เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม และตระหนักในความสำคัญของวิชาชีพครู 3 เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและประพฤติปฏิบัติตนให้สมกับที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นปูชนียบุคคล 4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF 5 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะทางปัญญาและทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 คณาจารย์ และบุคลากร คณะครุศาสตร์ อาจารย์อาวุโสนอกประจำการ และอาจารย์คณะอื่น ๆ จำนวน 360 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 280 คน 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพครูและปฏิบัติตนได้เหมาะสม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 58,100 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 58,100 /360 = 161.39 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
10 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (19,200 บาท) 2566 1 เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ถึงการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านแบบวิถีไทยของนักศึกษา 2 เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ตรงในการนำการละเล่นพื้นบ้านบูรณาการกับการเรียนการสอนถ่ายทอดลงสู่ชุมชน 3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ กีฬา และนันทนาการ นักศึกษามีคุณสมบัติตรงตามลักษณะความเป็นครู 4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตอาสาและการมีจิตสาธารณะ การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม 5 เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบให้แก่นักศึกษา 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 24 คน 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 19,200 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 19,200 /30 = 640 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
11 กิจกรรมที่ 4 เสริมสร้างอัตลักษณ์ ความเป็นครูด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี (50,000 บาท) 4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธ และอิสลาม 4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีวันสงกรานต์ของไทย 2566 4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติตนสำหรับนักศึกษาครู ในประเพณีงานทำบุญศาสนาพุทธ และอิสลาม 1 เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีไทยในโอกาสต่าง ๆ 2 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความสำคัญ ความเป็นมาของประเพณีรวมถึงเรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ที่สำคัญของคนไทย 3 เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีและมีความสนิทสนทกลมเกลียวกันมากขึ้น อันก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม 1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ: 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 25,000 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 25,000/200 = 125บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
12 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะทางเทคโนโลยี ดิจิทัล (19,200 บาท) 7.1 การทำธุรกิจออนไลน์ ระหว่างเรียน 7.2 การสร้างสื่อเขียน Content เพื่อการประชาสัมพันธ์ 7.3 การสร้างการ์ตูนแอนนิเมชั่น 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัลและเสริมทักษะการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการทำงานในอนาคต 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.1.2 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหา กิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน 5.2.3 : นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.3 ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามโครงการจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่ กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,600 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,600 = 73 บาท/คน 200 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
13 กิจกรรมที่ 9 9.2 สัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ชั้นปีที่ 4) สามารถสรุปผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนและประสบการณ์การฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ชั้นปีที่ 3) สามารถเกิดความเข้าใจถึงผลและประสบการณ์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์จากรุ่นพี่ก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในอนาคต เชิงปริมาณ : เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในบทเรียนและประสบการณ์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 2. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะนำแนวทางที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
14 กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพนักกิจกรรมสัมพันธ์ ในงานสวัสดิการสังคม (40,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและฝึกทักษะการเป็นนักกิจกรรมสัมพันธ์ในงานสวัสดิการสังคม 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้มีความพร้อมในการเป็นนักกิจกรรมสัมพันธ์สำหรับการปฏิบัติ งานสวัสดิการสังคมร่วมกับชุมชน 5.1 เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะนักกิจกรรม สัมพันธ์จากหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 5.2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.3 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน การเรียนและการทำงานในอนาคตได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 40,300 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 40,300 = 442.86 บาท/คน 91 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
15 กิจกรรมที่ 16 ฝึกปฏิบัติการแปลง ประวัติศาสตร์สู่โลกแห่งบอร์ดเกมส์: ปฐมบทนักสร้างสรรค์บอร์ดเกมส์ เพื่อการเรียนรู้เมืองเก่าสงขลา บ่อยาง นอกสถานที่ (7,300 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับการผลิตบอร์ดเกมส์ได้ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ จำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.๒ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ มีความรู้ สามารถผลิตบอร์ดเกมส์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 5,718 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 5,718 บาท = 635.33 บาท/คน ๙ เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
16 กิจกรรมที่ 17 อบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาต้นทุนจากประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นสำนึกรักบ้านเกิด และทุน ทางวัฒนธรรมนำไปสู่การสร้างสรรค์ ผลงานสื่อสารสังคม ด้วยสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมสมัย และสื่อสังคมออนไลน์ (4,100 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ด้านการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ได้ เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อการสื่อสารสังคม ภาคปกติ ชั้นปีที่ ๑ มีความรู้ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์กับด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ด้านการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ได้จากการเข้าร่วมอบรมโดยรวมเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการประเมินผล เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = ๗,๓๐๐ บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = ๗,๓๐๐ บาท = ๘๑๑.11 บาท/คน ๙ เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
17 อบรมเชิงปฏิบัติการสิงห์ สมิหลาบ่มเพาะต้นกล้าต้านทุจริต 2566 1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริตภายใต้สโลแกน STRONG 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเสนอแผนปฏิบัติการเพื่อต่อต้านการทุจริต ภายใต้สโลแกน STRONG 3 เพื่อให้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีในการส่งเสริมการต่อต้านการทุจริตทุกองค์กร 1 เชิงปริมาณ : 1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 258 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำแผนโครงการต่อต้านการทุจริต ภายใต้ สโลแกน STRONG ให้กับชุมชน จำนวนไม่น้อยกว่า 10 โครงการ 2 เชิงคุณภาพ : 2.1 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องของการประพฤติมิชอบและการต่อต้านการทุจริต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผลประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม 2.2 นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมิน โดยใช้แบบสอบถาม 3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
18 กิจกรรมที่ 24 แข่งขันทักษะภาษาจีน และจัดนิทรรศการเนื่องในวันตรุษจีน (15,600 บาท) 24.1 จัดนิทรรศการวันตรุษจีนและ นิทรรศการประชาสัมพันธ์หลักสูตร 24.2 จัดการแข่งขันคัดลายมือ ภาษาจีน 24.3 จัดการแข่งขันร้องเพลงจีน 24.4 จัดซุ้มกิจกรรมแสดงผลงาน ของนักศึกษาในหลักสูตรและจัดฐาน ให้ความรู้แก่ผู้มาร่วมงาน 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักรู้ถึงเอกลักษณ์และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย-จีน 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถทางภาษาจีนและวัฒนธรรมจีน 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาตนเองด้านภาษาจีน 4. เพื่อฝึกฝนให้นักศึกษารู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น 5. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในอนาคต 6.เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น 1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน รหัส 63 , 64 และ 65 จำนวน 63 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน สามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย-จีน ให้แก่ผู้มาร่วมงาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 15,600บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 15,600/ 63บาท = 247.61 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
19 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ สำนักงานสีเขียวและป้องกันอัคคีภัย (20,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้คณาจารย์และบุคลากร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีทักษะในการป้องกันอัคคีภัยในสถานที่ทำงาน 2. เพื่อให้นักศึกษา คณาจารย์ร่วมกันรณรงค์การประหยัดพลังงานในองค์กร 3. เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ภายในสำนักงานและเพื่อมีทักษะในการรักษาความปลอดภัยในองค์กร 5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 นักศึกษา อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 285 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน สีเขียวและป้องกันอัคคีภัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
20 กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 272 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,900/272 = 128.31 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
21 กิจกรรมที่ 4 ยกย่องและเชิดชู เกียรติผู้มีผลงานดีเด่น คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (10,000 บาท) 2566 1. เพื่อเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับอาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า 1. เชิงปริมาณ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการ ยกย่องและเชิดชูเกียรติ อย่างน้อย 5 รางวัล 2. เชิงคุณภาพ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการ ยกย่องและเชิดชูเกียรติ สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 10,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 10,000/20 = 500 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
22 กิจกรรมที่ 13 ความร่วมมือด้าน พันธกิจสากล University Global Engagement (679,200 บาท) 2566 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการ วิจัยและการแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษาร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานต่างประเทศ 1. เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศอย่างน้อย 1 เครือข่าย 2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการทำความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา - สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
23 กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสถาบัน (4,400 บาท) 2566 1 เพื่อรับฟังแนวคิดของผู้บริหารและบุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา 2 เพื่อรับฟังแนวคิดจากผู้มีส่วนได้เสียซึ่งเป็นบุคคลภายนอกหน่วยงาน 3 เพื่อนำข้อคิดเห็นจากการระดมความคิดเห็นมาปรับปรุงและวางแผนกลยุทธในการดำเนินงาน - เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร/บุคลากร/ตัวแทนจากหน่วยงานภายใน จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : มีการทบทวนและปรับปรุงแผน ไม่น้อยกว่า 2 ฉบับ - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 4,400 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 4,400 /25 = 176 บาท/คน เป้าหมายที่ 17
24 กิจกรรมที่ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการ ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมการ ละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย และถ่ายทอดลงสู่ชุมชน (คคศ.) (19,200 บาท) 2566 1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้และทักษะทางปัญญาในการจัดทำสื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนในชุมชน 2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตอาสาและการมีจิตสาธารณะ การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม 3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะความเป็นครูทุกด้าน 4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ: 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา: สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม: 35,200 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 35,200 /100 = 352 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
25 กิจกรรมที่ 27 จัดงานซอแรงเกี่ยว ข้าว สืบสาน รักษา ต่อยอด ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (โคกหนองนา โมเดล) (วิทยาเขตสตูล) (5,000 บาท) 2566 2.1 เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้การเก็บเกี่ยวข้าว 2.2 อนุรักษ์และสืบสานประเพณีซอแรงให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จัก ๕.๑ เชิงปริมาณ ๕.๑.๑ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 คน จากเป้าหมาย ๕๐ คน ๕.๑.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวข้าวให้แล้วเสร็จจำนวน ๕ แปลงตามกำหนดการ ๕.๒ เชิงคุณภาพ ๕.๒.๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ จากผลการประเมินโดยใช้แบบสอบถาม ๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประเพณีซอแรงเกี่ยวข้าว และเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ จากแบบทดสอบ ๕.๓ เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ๕.๔ เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : ๔,๕๐๐ บาท ๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : ๔,๕๐๐ /๕๐ = ๙๐ บาท/คน เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 17
26 กิจกรรมที่ 1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อ การตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ” (สวพ.) (7,200 บาท) 2566 1. เพื่อให้ความรู้ด้านการเขียนบทความวิจัยแก่บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีการทำวิจัยในปริมาณมากขึ้น 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ โดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 7,200 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 7,200/100 = 72 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
27 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ วงเครื่องสาย Satit String Ensemble (218,200 บาท) 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การให้ความรู้ ทักษะการปฏิบัติ เครื่องดนตรีไวโอลิน วงเครื่องสาย Satit String Ensemble 2.2 จัดงานคอนเสิร์ต วงเครื่องสาย Satit String Ensemble 2566 2.1 เพื่อเสริมสร้างความรักความสามัคคีขึ้นภายในองค์กร โดยมีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 2.2 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมยามว่าง สร้างความสุขความจรรโลงใจด้วยดนตรี และศิลปะการแสดง 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงออกต่อหน้าสาธารณชนได้อย่างมีความสุข 2.4เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีให้กับนักเรียน 2.5 เพื่อจัดหารายได้พัฒนาส่งเสริมด้านการศึกษาของโรงเรียน เป้าหมายเชิงผลผลิต นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 60 คน ที่เป็นสมาชิกในวงเครื่องสาย Satit String Ensemble มีทักษะกระบวนการดนตรั สามารถบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีไวโอลิน เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความรักด้านดนตรี สุนทรียภาพ มีความสามัคคีในหมู่คณะ สามารถสร้างสรรค์บทเพลงให้เป็นที่ประจักษ์แก่บุคคลภายนอก เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
28 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตและ การเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน (638,000 บาท) 2566 1. เพื่อเสริมทักษะความรู้ความสามารถทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี (หุ่นยนต์) ให้นักเรียน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงออก สามารถแสดงต่อหน้าสาธารณะชนได้อย่างมีความสุข เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่มีความสนใจเรียนเสริมทักษะ จำนวนทัั้งสิ้น 332 คน (จำนวน 166 คน) ต่อ 1 ภาคเรียน) เข้าร่วมกิจกรรมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
29 กิจกรรมที่ 8 รับสมัครนักเรียน เข้าเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1-3) และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (35,900 บาท) 2566 1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักเรียนใหม่ประจำปีการศึกษษ 2566 2. เพื่อให้การรับสม้ครนักเรียนใหม่เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีการรับสม้ครนักเรียนใหม่ 3 ระดับ ดังนี้ คือ ระดับปฐมวัย(บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เชิงปริมาณ นักเรียนระดับปฐมวัย (บ้านสาธิต) ระดับปฐมวัย (อนุบาล 1) และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนเข้าเรียนในระดับชั้นที่เปิดรับสม้คร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
30 กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา 3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
31 กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้ 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้ 3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
32 กิจกรรมที่ 3.5.1 กาแฟสินค้าอัตลักษณ์ (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) 2566 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 2. พัฒนากาแฟเป็นสินค้าอัตลักษณ์ ชุมชน โดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน 3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย 4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 เป้าหมายที่ 17
33 กิจกรรมที่ 3.5.6 ผลิตและแปรรูปข้าวพื้นเมือง (เกษตรผสมผสานเกาะแต้ว) 2566 1 เพื่อเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพื้นเมืองและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม 1.นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืชและวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐ์กิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 2.ชุมชนตันแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน 3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย 4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 เป้าหมายที่ 17
34 กิจกรรมที่ 3.5.9 ยกระดับการผลิตส้มจุกเชิงพาณิชย์ (เกษตรพหุวัฒนธรรม ต.แค และพื้นที่ใกล้เคียง) 2566 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน 3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น อย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย 4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 เป้าหมายที่ 17
35 กิจกรรมที่ 3.5.10 ผลิตปุ๋ยอินทรีย์เสริมรายได้ (เกษตรพหุวัฒนธรรม ต.แค และพื้นที่ใกล้เคียง) 2566 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อพัฒนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุ เหลือทิ้งในชุมชนเพื่อใช้เองและ จำหน่าย 1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช/ สัตว์และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน 3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น อย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย 4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 เป้าหมายที่ 17
36 กิจกรรมที่ 3.6.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาที่ยั่งยืนผ่านการยกระดับสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนตำบลเขาขาว 2566 1. เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชนที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2. เพื่อพัฒนาและการยกระดับผู้ประกอบการชุมชนในการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน 1. เชิงปริมาณ 1.1 มีการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มุ่งสู่ความเป็นอัตลักษณ์ชุมชนตำบลเขาขาว จำนวน 8 กลุ่ม 1.2 เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย 1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเขาขาว เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.3 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 3.เชิงเวลา 3.1 สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
37 กิจกรรมที่ 3.6.2 จัดงานและสัมมนาเชิงปฏิบัติการกระบวนการทำข้าวเม่าในพื้นที่ตลาดวัฒนธรรมเขาขาว 2566 1.เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเขาขาว สู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ 2.พื่อพัฒนากิจกรรมสำหรับการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตำบลเขาขาว สู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบบูรณาการ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านวัฒนธรรมชุมชนที่เข้มแข็ง เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) 1. ตลาดวัฒนธรรมเขาขาวสู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบบูรณาการ 1 ต้นแบบ เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 1.ชุมชนสามารถสร้างรายได้เพิ่มจากพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเพื่อการยกระดับเศรษฐกิจวัฒนธรรมชุมชนแบบบูรณาการเขาขาว 2. นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการประยุกต์ใช้องค์ความรู้สู่การพัฒนาท้องถิ่น เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
38 กิจกรรมที่ 3.7.3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการรวัตกรชุมชนกับการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2566 เพื่อพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยนวัตกรชุมชนให้มีศักยภาพพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยว 1.เชิงปริมาณ 1.1 เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย 1.3 เกิดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกาะยอ อย่างน้อย 1 กิจกรรม 2.เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.2ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.3 เกิดนวัตกรชุมชน อย่างน้อย 5 คน 3.เชิงเวลา 3.1 สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
39 กิจกรรมที่ 6.2 อบรมเรื่องเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคตแก่นักศึกษา 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ในการเตรียมความพร้อมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต 2. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนระดับคณะเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 3. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4. เพื่อให้นักศึกษาที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาทราบถึงแนวทางต่าง ๆ หลังจากจบการศึกษาและมีความพร้อมในการทำงาน 5. เตรียมความพร้อมของนักศึกษาและพัฒนาบุคลิกภาพให้พร้อมในการเข้าสู่อาชีพตลอดจนเข้าใจสภาพแวดล้อมในการทำงานได้อย่างเหมาะสม 1. เชิงปริมาณ : 1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาที่สนใจเข้าร่วม ชั้นปีที่ 4 - 5 จำนวน 566 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 จำนวนบัณฑิตครูสามารถสอบบรรจุได้สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศร้อยละ 25 2. เชิงคุณภาพ : 2.1 นักศึกษาครูได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.2 นักศึกษาครูมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 2.3 นักศึกษาครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 199,680 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต: = 199,680 /566 = 352.79 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
40 กิจกรรมที่ 7.2.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และสตูล 2566 เพื่อพัฒนาศักยภาพการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน 1. เชิงปริมาณ 1.1.ได้ขยายกลุ่มภาคีเครือข่ายโดยครอบคลุมทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่นภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน จำนวนอย่างน้อยภาคละ 1 เครือข่ายต่อ 1 ชุมชนต้นแบบ 1.2 เกิดองค์ความรู้นวัตกรรมด้านการยกระดับการใช้ทรัพยากรของชุมชน SDG อย่างยั่งยืน จังหวัด ๑ องค์ความรู้ 1.3 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมพัฒนาต่อจังหวัด จังหวัดละ 10 คน รวม 30 คน 2.เชิงคุณภาพ 2.1ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
41 กิจกรรมที่ 3 เข้าค่ายลูกเสือเนตรนารี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 2566 1. เพื่อให้มีความรู้และทักษะในกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ตามหลักสูตรที่กำหนด 2. เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัย เกิดความรักและสามัคคีในหมู่่คณะ 3. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการดำรงตน นำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จำนวน 129 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมต่างๆ ของการเข้าค่ายพักแรมลูกเสือเนตรนารี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมึความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นุทนต่อหน่วยกิจกรรม 61,900 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 61,900 / 129 เท่ากับ 479.84 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
42 กิจกรรมที่ 3 ค่ายครูอาสาพัฒนา โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (47,900 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปใช้ในการผลิตสื่อมอบให้กับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน บ้านหาดทราย 2.2 เพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหาดทราย 2.3 เพื่อพัฒนาภูมิทัศน์ของโรงเรียนและจัดห้องสมุดให้เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้ 5.1 เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 2) จำนวนสื่อการเรียนการสอนระดับประถมศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ชิ้น 3) มีห้องสมุดที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้จำนวน 1 ห้อง 4) ภูมิทัศน์โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 3 พื้นที่ เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
43 กิจกรรมที่ 20 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ "สานสายใย ศศ.บ. ภาษาไทย ประจำปีการศึกษา 2565" (10,900 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับรู้และตระหนักในสายใยความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ศศ.บ.ภาษาไทย 2. เพื่อให้นักศึกษามีการปรับตัวที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในหลักสูตรและในระดับมหาวิทยาลัย 1. เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ชั้นปีที่1 และผู้เข้าร่วม รวมจำนวน 65 คน 2. เชิงคุณภาพ : นักศึกษาได้รับรู้และตระหนักในสายใยความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ศศ.บ.ภาษาไทยและสามารถปรับตัวได้ดีอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : = 10,900 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : = 10,900/65 บาท = 167.69 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
44 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข่อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ 2566 1.เพื่อให้อาจารย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะ จากแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก 2. เพื่อให้อาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการเขียนวิจัยไปขอรับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกและพัฒนางานตนเองได้ 1. เชิงปริมาณ 1.1 มีอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. เชิงคุณภาพ 2.1 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือ หัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.2 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.3 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้น ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000 / 50 = 360 บาท/คน เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17
45 โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : คิดสร้างสรรค์โค้ดสร้างเสริม 2566 1. เพื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โดยทำงานร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน หน่วยงานในพื้นที่และเอกชนที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยี ไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และวิทยาการคำนวณ เพื่อให้ใช้ทักษะการโค้ดเพื่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณสู่ผู้เรียน ผู้เรียนเกิดทักษะการโค้ดเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน 3. เพื่อให้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ และสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรมการสอนวิทยาการคำนวณให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน เชิงปริมาณ - จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 7 โรงเรียน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา และจังหวัดพัทลุง - จำนวนครูและผู้บริหาร จำนวน 31 คน - จำนวนนักเรียน 600 คน เชิงคุณภาพ - ครูสามารถพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เรียนสามารถใช้สื่อหุ่นยนต์และระบบสมองกลฝังตัวในการพัฒนาโครงงานแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
46 โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ 2566 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน 2) เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน 3) เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 ที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน - เชิงปริมาณ 1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม 2) มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการ อ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ 3) จำนวนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา อย่างน้อย 10 แห่ง - เชิงคุณภาพ 1) ครูผู้สอนภาษาไทยได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) ความพึงพอใจของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการด้านความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้ ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 - เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 129,850 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 129,850 /30 = 4,328 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
47 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง อบรมการพัฒนานวัตกรรมจากความคิดสร้างสรรค์สู่การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน 2566 1. เพื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โดยทำงานร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน หน่วยงานในพื้นที่และเอกชนที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยี ไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และวิทยาการคำนวณ เพื่อให้ใช้ทักษะการโค้ดเพื่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณสู่ผู้เรียน ผู้เรียนเกิดทักษะการโค้ดเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน 3.เพื่อให้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ และสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรมการสอนวิทยาการคำนวณให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน เชิงปริมาณ - จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 7 โรงเรียน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา และจังหวัดพัทลุง - จำนวนครูและผู้บริหาร จำนวน 31 คน - จำนวนนักเรียน 600 คน เชิงคุณภาพ - ครูสามารถพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้เรียนสามารถใช้สื่อหุ่นยนต์และระบบสมองกลฝังตัวในการพัฒนาโครงงานแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
48 โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1.2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สื่อเพื่อน้องเรียนรู้ภาษาไทย 2566 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต - เชิงปริมาณ นักศึกษา ที่เข้าร่วมโครงการสามารถน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ประการ จำนวน 90 คน - เชิงคุณภาพ นักศึกษามีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 68,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,000/60 = 1,133.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
49 โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย 2566 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต - เชิงปริมาณ นักศึกษา ที่เข้าร่วมโครงการสามารถน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ประการ จำนวน 120 คน - เชิงคุณภาพ นักศึกษามีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 83,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 83,000/120 = 691.66 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
50 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือคืนชีพ CPR(17,600 บาท) 2567 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 1 เชิงปริมาณ นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จำนวน 35 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 31 คน 2 เชิงคุณภาพ 1 นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาองค์ความรู้ที่ได้รับจากโครงการในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนนขึ้นไป 2 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนนขึ้นไป 3 นักศึกษาคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 17,600 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 17,600/35 = 502.86 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
51 กิจกรรมที่ 25 อบรมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบกิจกรรมและการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ (ครูวิทยาศาสตร์ภาคสนาม)(16,000 บาท) 2567 ท่ามกลางการเรียกร้องจากกระแสสังคม ความต้องการปฏิรูปการศึกษาไปสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการมุ่งเน้นเศรษฐกิจที่พึ่งพาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทำให้การพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ได้รับความสนใจเป็นอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน เนื่องจากครูวิทยาศาสตร์จะต้องเป็นทั้งผู้จุดประกาย จุดเริ่มต้น และหัวใจสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการศึกษาเพื่อสร้างคนและสังคมแห่งความรู้และนวัตกรรม และเตรียมคนเหล่านั้นให้เข้าสู่เศรษฐกิจในยุคไทยแลนด์ 4.0 การพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ให้เป็นครูและผู้นำการเรียนรู้ตามการปฏิรูปการศึกษานั้น นักวิชาการและฝ่ายต่าง ๆ ในสังคมต่างเรียกร้องให้มุ่งเน้นการพัฒนาครูแบบ “ฝึกคิดและปฏิบัติในสถานที่จริง” นอกจากนี้นักการศึกษาและนักจิตวิทยาการเรียนรู้ยังพยายามบ่งชี้ถึงการสร้างความรับผิดชอบ และความรักในวิชาชีพเพื่อเป็นพื้นฐานของการเป็นครูวิทยาศาสตร์ก่อนที่นักศึกษาเหล่านั้นจะเรียนรู้ความรู้ของครู (Teacher knowledge) ดังนั้นคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไปจึงได้กำหนดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดค่ายและการออกแบบกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ขึ้น และวางแผนที่จะสอดแทรกการพัฒนาครูแบบ “ฝึกคิดและปฏิบัติในสถานที่จริง” ในระหว่างกระบวนการผลิตครูตั้งแต่ช่วงแรก เพื่อให้นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์มีโอกาสค้นหาตนเอง มีใจรักในวิชาชีพ และค่อย ๆ พัฒนานักศึกษาเหล่านั้นไปสู่ครูผู้ฝึกคิด จนกระทั่งกลายเป็นผู้ชำนาญในการออกแบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามความต้องการของสังคมและประเทศชาติ โดยใช้โรงเรียนและสถานที่จริงในการพัฒนา (School and Contextual based activities) เพื่อให้กระบวนการผลิตครูสอดคล้องและเป็นไปตามข้อกำหนด นโยบาย และกระแสสังคมไปพร้อม ๆ กัน 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ จำนวน 48 คน เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 38 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะการสื่อสาร และการวิเคราะห์เพื่อสร้าง ความเข้าใจให้กับผู้เรียน ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการสื่อสารในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการคิด และทักษะเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ในระดับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 16,000 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 16,000/48 = 333.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
52 กิจกรรมที่ 27 อบรมเชิงปฏิบัติการและค่ายสร้างผู้นำพลเมืองสำหรับครูสังคมศึกษา(41,400 บาท) 2567 1 เพื่อพัฒนาและสร้างทักษะการเป็นภาวะผู้นำพลเมืองสำหรับครูยุคใหม่ (Active Citizen Leadership) ให้กับนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2 เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในศาสตร์เฉพาะสาขา 1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ชั้นปีที่ 1- 4 จำนวน 130 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 ขึ้นไป 3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 41,400 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 41,400/130 = 318.46 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
53 กิจกรรมที่ 28 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Coundelor ในศตวรรษที่ 21(42,100 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีความรู้ความเข้าใจในการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Counselor 2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวมีทักษะในการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา Youth Counselor ในศตวรรษที่ 21 อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบริการวิชาการโดยการถ่ายทอดการให้การปรึกษาแก่เพื่อนที่ปรึกษา 5.1 เชิงปริมาณ: นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว ชั้นปีที่ 2, 3 จำนวน 56 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ: 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการโดยมีคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 42,100 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 42,100/56 = 751.78 บาท เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 17
54 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของคณะครุศาสตร์(111,000 บาท) 2567 1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์แนวคิดใหม่ๆและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงานให้แก่บุคลากรของคณะให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครการ มีการเสริมสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความสามัคคี และเกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ที่ดีระหว่างบุคลากรของคณะ - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 20 คน - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 106,750 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 106,750 /25 = 4,270 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
55 กิจกรรมที่ 20 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิลปวัฒนธรรมจีนเพื่อเสริมศักยภาพครูภาษาจีน(15,600 บาท) 2567 1.เพื่อพัฒนาทักษะด้านศิลปะ วัฒนธรรมจีน ให้แก่นักศึกษาครู 2.เพื่อให้นักศึกษามีความพร้อมด้านศิลปะ วัฒนธรรมจีนในการปฏิบัติงานครู เชิงปริมาณ : 1.นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ชั้นปีที่ 1 – 2 และ 4 จำนวน 69 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 2.นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน สามารถนำความรู้ ความเข้าใจผลิตชิ้นงานด้านศิลปวัฒนธรรมจีนสำเร็จ คนละ 1 ชิ้น เชิงคุณภาพ : 1.นักศึกษาเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจศิลปะวัฒนธรรมจีน “พู่กันจีน”และ “ถักเชือกแบบจีน” ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
56 กิจกรรมที่ 7 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(2,800 บาท) 2567 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิต พัฒนานักศึกษาวิชาชีพครู และการปฏิบัติการสอนในวิชาเฉพาะ 2. เพื่อรับทราบปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนจากผู้เกี่ยวข้อง 3. เพื่อสร้างเครือข่ายโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5.1 เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 21 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกำกับดูแลนักศึกษา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
57 กิจกรรมที่ 8 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(8,400 บาท) 2567 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิต พัฒนานักศึกษาวิชาชีพครู และการปฏิบัติการสอนในวิชาเฉพาะ 2. เพื่อรับทราบปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนจากผู้เกี่ยวข้อง 3. เพื่อสร้างเครือข่ายโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 39 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกำกับดูแลนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
58 กิจกรรมที่ 29 อบรมพัฒนาทักษะสู่การสอบใบประกอบวิชาชีพครู(8,000 บาท) 2567 2.1 เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของครูผู้สอนแก่นักศึกษา 2.2 เพื่อส่งเสริมเจตคติที่ดีทางด้านความเป็นครู 2.3 เพื่อส่งเสริมการเข้าสู่อาชีพของนักศึกษา 5.1 เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 จำนวน 82 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับดีขึ้นไป 5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 8,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8,000/82 = 97.56 บาท/คน เป้าหมายที่ 17
59 กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา 2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจากมุมมองต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานทั้งในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 208 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ๒. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน  2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,050 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17
60 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า(10,000 บาท) 2567 1. ให้ความรู้และพัฒนาทักษะเพื่อนำไปใช้สำหรับการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า 2. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายศิษย์เก่า 1. เชิงปริมาณ ศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,500 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,500/15 = 366.67 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
61 กิจกรรมที่ 4 ประกวดโครงงานนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(68,000 บาท) 2567 1. เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน 2. เพื่อบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และพัฒนาต่อยอดสู่การแก้ปัญหาให้ชุมชน หรือท้องถิ่นได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน 1. เชิงปริมาณ 1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 3-4 ภาคปกติ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. โครงงานที่ส่งประกวด อย่างน้อย 9 ชิ้นงาน 2. เชิงคุณภาพ 2.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สามารถสร้างผลงานและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 5 ผลงาน 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 68,000 บาท 5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 68,0๐๐/20 = 3,400 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
62 กิจกรรมที่ 7 ศึกษาดูงานนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(48,800 บาท) 2567 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานที่ที่ศึกษาดูงาน 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรต่าง ๆ กับมหาวิทยาลัย 3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาประสบการณ์ในเรื่องระบบการทำงานขององค์กรต่าง ๆ ด้านอุตสาหกรรม และเทคโนโลยี 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 139 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้ความรู้และประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนจากการศึกษาดูงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2.2 นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน 3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 48,800 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 48,800/139 = 351.08 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
63 กิจกรรมที่ 11 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติและการใช้โปรแกรมสำหรับวิเคราะห์งานนักศึกษาหลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิตในศตวรรษที่ 21(60,000 บาท) 2567 1. เพื่อเสริมทักษะวิชาชีพเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2. เพื่อพัฒนาวิชาชีพการผลิตบัณฑิตตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 หลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีการผลิต จำนวน 25 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมีความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมต่าง ๆ เพื่อการปฏิบัติและทำงานในด้านเทคโนโลยีการผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 51,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 51,900/25 = 2,076 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
64 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอน(14,800 บาท) 2567 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2. เพื่อให้คนในองค์กรมีเจตคติที่ดีในการแบ่งปันความรู้และเผยแพร่ผลงานให้บุคคลทั่วไปได้ทราบ 3. ได้องค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีด้านวิจัย และการเรียนการสอน 1. เชิงปริมาณ ผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 35 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแผนจัดการความรู้ด้านวิจัยและการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 แผน 2.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแนวปฏิบัติที่ดีจากการถ่ายทอดองค์ความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน 2.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 2.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,800 บาท 2.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,800/35 = 422.86 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17
65 กิจกรรมที่ 3 ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(15,000 บาท) 2567 1. เพื่อเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับอาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า 1. เชิงปริมาณ : อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการยกย่องและเชิดชูเกียรติ อย่างน้อย 7 รางวัล อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้รับการยกย่องและเชิดชูเกียรติอย่างเหมาะสม มีความพึงพอใจ มีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน มีความภาคภูมิใจ และเป็นแบบอย่างที่ดีในวิชาชีพร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
66 กิจกรรมที่ 3 พัฒนาองค์ความรู้บุคลากรสายวิชาการด้านการวิจัยและการเรียนการสอนในต่างประเทศ (1,076,400 บาท) 2567 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอนระหว่างบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลากับบุคลากรต่างประเทศ 5.1 เชิงปริมาณ บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านการทำวิจัยและการจัดการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,076,400 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,076,400/15 = 71,760 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
67 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)(30,100 บาท) 2567 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการวิจัย โครงการบริการวิชาการ และโครงการอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ - เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 151,500 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 151,500/120 = 1,262.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
68 กิจกรรมที่ 30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 14 (คทอ.)(38,600 บาท) 2567 1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ 2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น 3. เพื่อทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ อาจารย์และบุคลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 นักศึกษาบูรณาการรายวิชากับการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม อย่างน้อย 2 รายวิชา 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 38,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 38,600/120 = 321.67 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
69 กิจกรรมที่ 32 จิตอาสาบูรณาการงานทำนุศิลปะวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาครั้งที่ 1 (คทอ.)(53,100 บาท) 2567 1. เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่นักศึกษาและนักเรียนของโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร 2. เพื่อเพิ่มทักษะในการออกแบบและผลิตชิ้นงานที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับวัดและโรงเรียนในอำเภอสิงหนคร 2. เพื่อบูรณาการงานทำนุศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 1. เชิงปริมาณ 1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 53,100 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53,100/50 = 1,062 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
70 กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการทรัพย์สินทางปัญญากับงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เรื่อง "วิจัยอย่างไรให้สามารถจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและขายได้" (สวพ.)(32,100 บาท) 2567 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์มาสู่การจดทะเบียนคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาได้เพิ่มขึ้น - เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน จำนวน 45 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สิน ทางปัญญา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 32,100 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 32,100/45 = 713.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
71 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ (คคศ.)(23,800 บาท) 2567 1. เพื่อให้อาจารย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะจากแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก 2. เพื่อให้อาจารย์นำความรู้เกี่ยวกับการเขียนวิจัยไปขอรับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกและพัฒนาผลงานตนเองได้ 1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 48 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,800 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,800/48 = 495.83 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17
72 กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมเข้าศึกษานักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู(76,000 บาท) 2567 2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู เข้าใจการเตรียมความพร้อมเป็นนักศึกษา เข้าใจในกระบวนการเรียนรายวิชา เกณฑ์การจบหลักสูตรและการฝึกปฏิบัติการสอน 2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาผู้สอบผ่านเป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน ตามประกาศคณะกรรมการคุรุสภา 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 76,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 76,000/180 = 422.22 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
73 กิจกรรมที่ 2 จัดงานประกวดนักศึกษาต้นแบบวัฒนธรรมไทย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2567 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์ 2. เพื่อคัดเลือกนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 1. เชิงปริมาณ 1.1 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 1.2 จำนวนนักศึกษาต้นแบบคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 6 คน 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยมีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 46,590 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 46,590/๓๐๐ = 155.30 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
74 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI)" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002 2567 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการวิจัย โครงการบริการวิชาการ และโครงการอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ - เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 151,500 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 151,500/120 = 1,262.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
75 โครงการศึกษาความเป็นไปได้และสัมมนาการปรับปรุง หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต 2567 1. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และการจัดการเชิงบูรณาการการทำงาน 2. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดสอนของหลักสูตรที่จะดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร 3. เพื่อทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิ 4. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างหลักสูตรกับสถานประกอบการในการร่วมกันผลิตบัณฑิตเพื่อเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๕๐๐ คน 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการตอบแบบสอบถามได้ตามเกณฑ์ผลลัพธ์การเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ๑5,000 บาท 5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ๑5,000/๕๐0 = ๓๐ บาทต่อคน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
76 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) ครั้งที่ 2" รหัส EMENSCR มรภ.สข 1119-67-0002 2567 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ 1.เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 59,100 บาท 5.ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 59,100/100 = 591 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
77 พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน 2567 1. เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง 2. เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน 3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา จำนวน 25 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการครบทุกครัวเรือน เชิงคุณภาพ : - รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 หลังจากที่ได้วัสดุอุปกรณ์และได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ (รอผลการติดตาม) - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากเดิม - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 99 และขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยที่มีโครงการนี้ขึ้นมา - ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 60 ชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 255,450 บาท ใช้จริง 244,594 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
78 โครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 7.1: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 7.1.3: อบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประหยัดพลังงาน/พลังงานหมุนเวียน กลไกภาษีคาร์บอนและคาร์บอนเครดิต 2567 2.1 เพื่อให้ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ คาร์บอนเครดิตเพื่อสร้างความตระหนักรู้ในระดับชุมชน/ท้องถิ่นแก่ชุมชนเป้าหมายจังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล 2.2 เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้ชุมชนเกิดทักษะการทำงานร่วมกันโดยเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน (SDGs) 2.3 เพื่อนำแผนการจัดการทรัพยากรชุมชนจากปีที่ 1 แปลงสู่การปฏิบัติการเชิงพื้นที่ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) จังหวัดสงขลา พัทลุงและสตูล - เชิงปริมาณ - ชุมชนหรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้นร้อยละ 20 - จำนวนชุมชนต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อม 1 แห่ง - เชิงคุณภาพ - ชุมชนนำองค์ความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนกับการพัฒนาชุมชนและความรู้เรื่องเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การหมุนเวียนใช้ทรัพยากร การประหยัดพลังงาน เศรษฐกิจหมุนเวียนคาร์บอนต่ำ กลไกภาษี และคาร์บอนเครดิต ไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม ไม่น้อยกว่า 1 ชุมชน - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้ตามเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 220,200 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 220,200/200 = 1,101 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 17
79 ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) 2567 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน 2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย เชิงปริมาณ 1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง เชิงคุณภาพ 1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน 3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน 5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 12
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
80 โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ การปฏิบัติงานการปฏิบัติตนของครู 2567 1.เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทและคุณลักษณะของวิชาชีพครู 2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานการปฏิบัติตนของครู 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 45,800 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 45,800/180 = 254.44 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
81 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาศักยภาพนักศึกษาครูภาษาจีน ด้านศิลปวัฒนธรรมจีน(18,500 บาท) 2568 เพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะด้านศิลปะวัฒนธรรมจีนให้แก่นักศึกษาครูภาษาจีน 5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ชั้นปีที่ 1 – 4 จำนวน 79 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 : 5.1.2 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ผลิตชิ้นงานด้านศิลปวัฒนธรรมจีนสำเร็จอย่างน้อยคนละ 1 ชิ้น 5.2 เชิงคุณภาพ. : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจศิลปะวัฒนธรรมจีน “วาดภาพจากพู่กันจีน” “ตัดกระดาษจีน” “ศิลปะการต่อสู้กังฟู” และ “ระบำจีนโบราณ” ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
82 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษาครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(3,400 บาท) 2568 1. เพื่อทำความเข้าใจถึงกระบวนการผลิตพัฒนานักศึกษาวิชาชีพครูและการปฏิบัติการสอนในวิชาเฉพาะ 2. เพื่อรับทราบปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนจากผู้เกี่ยวข้อง 1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 22 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกำกับดูแลนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
83 กิจกรรมที่ 2 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4(37,600 บาท) 2568 1 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน 2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต 3 เพื่อให้กระบวนการปฏิบัติการสอนเป็นไปตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา 1 เชิงปริมาณ : นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รหัส 64 ทุกสาขาวิชา (ยกเว้นนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน) จำนวน 420 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ : 1. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 2. นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์หลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 37,600 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 37,600/420 = 89.52 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
84 กิจกรรมที่ 3 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(36,000 บาท) 2568 1 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3 2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของนักศึกษาปฏิบัติการสอน 3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นครูที่ดีในอนาคต 4 เพื่อให้กระบวนการปฏิบัติการสอนเป็นไปตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา 1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รหัส 65 ทุกสาขาวิชา จำนวน 406 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาทราบกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 36,000 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 36,000 / 406 = 88.66 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
85 กิจกรรมที่ 4 สัมมนาหลังปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3(36,000 บาท) 2568 1. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติการสอน 2. เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 3. เพื่อให้กระบวนการปฏิบัติการสอนเป็นไปตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รหัส 65 ทุกสาขาวิชา จำนวน 406 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.1.2 มีแนวทางการพัฒนาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จำนวน 1 แนวทาง 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 36,000 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 36,000 / 406 = 88.66 บาท / คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
86 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท) 2568 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 47,080 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 47,080/120 = 392.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
87 กิจกรรมที่ 10 บรรยายและสัมมนานักศึกษาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 2568 2.1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจในการสัมมนาหลังออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 2.2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 40,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000/180 = 222.22 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
88 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 2568 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR 1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 11
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 17
89 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) รุ่นที่ 3 2568 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินผลโครงการในรูปแบบผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI ของโครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ 1. เชิงปริมาณ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาสายวิชาการ และสายสนับสนุน จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลตอบแทนทางสังคม จากการลงทุนของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
90 โครงการความร่วมมือทางวิชาการและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่างประเทศ 2568 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและเปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะครุศาสตร์ในระดับปริญญาตรี ได้แลกเปลี่ยนและเรียนรู้ในด้านวิชาการ การเรียนการสอน การวิจัย ศิลปวัฒนธรรม อื่น ๆ กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ตามบันทึกความเข้าใจ (MOU) 2. เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยไปสู่นานาชาติ 1. เชิงปริมาณ เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับนานาชาติ จำนวน 1 เครือข่าย 2. เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 55,240 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 55,240/43 = 1,284.65 บาท/คน เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17
91 ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 2568 2.1 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ ความเข้าใจก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 2.2 เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 5.3 เชิงเวลา : จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 38,800 บาท เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17
92 ศึกษาดูงานการพัฒนานักศึกษาและศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์ 2568 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 1 เชิงปริมาณ : 1) นักศึกษา จำนวน 30 คน และบุคลากร จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนานักศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง 2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51 3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 333,300 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 333,300/40 = 8,332.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
93 การพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : การสอนวิทยาศาสตร์ฐานสมรรถนะ : BCG Model สู่ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2568 1. เพื่อให้เห็นความสำคัญและช่วยผลักดัน ติดตามการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฐานสมรรถนะที่ส่งเสริมนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจ BCG 2. เพื่อพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ให้สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นสมรรถนะและการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ BCG 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1) กิจกรรมที่ 1 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (3,600/10 = 360 บาทต่อคน) 2) กิจกรรมที่ 2 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (61,900/30 = 2,03.3 บาทต่อคน) 3) กิจกรรมที่ 3 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (34,000/10 = 3,400 บาทต่อคน) 4) กิจกรรมที่ 4 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (54,600/50 = 1,092 บาทต่อคน) 5) กิจกรรมที่ 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลิต (5,900/10 = 590 บาทต่อโรงเรียน) เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 17