0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
  • 2567
  • 2568
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างทักษะสำหรับนักศึกษา ชีววิทยาและบูรณาการการปฏิบัติ งานภาคสนามกับการทำงาน (46,000 บาท)
SDGs:
สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 (มรภ.สข 1107-67-0025)(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703)
SDGs:
อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูประจำปีการศึกษา 2565
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) 2566 1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
2 กิจกรรมที่ 15 อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างทักษะสำหรับนักศึกษา ชีววิทยาและบูรณาการการปฏิบัติ งานภาคสนามกับการทำงาน (46,000 บาท) 2566 1.เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนเริ่มทำดครงการวิจัยและฝึกประสบการณือย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมทักษะด้านการสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้ทางชีววิทยา และสามารถบูรณาการทักษะการปฏิบัติงานภาคสนามกับการทำงานในหน่วยงาานเครือข่ายได้ เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 22 คน เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ทั้งในรายวิชาและเป็นพื้นฐานสู่การฝึกประสบการณืวิชาชีพหรือฝึกสหกิจได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 44360 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 44360=2016.36/ คน เป้าหมายที่ 14
3 สัมมนาการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 (มรภ.สข 1107-67-0025)(ใช้งบของสนส.กิจกรรมที่ 9 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา(เลขที่โครงการ:1703) 2567 2.1 เพื่อจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565 2.2 เพื่อรับทราบข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มีต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 5.1 เชิงปริมาณ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ตามเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100 5.2 เชิงคุณภาพ : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา 5.3 เชิงเวลา : สามารถปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา ได้ทันตาม ระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 40,000 บาท 5.5 เชิงต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 40,000 /7 = 5,741.28 บาท : คน เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 14
4 อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูประจำปีการศึกษา 2565 2567 2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท และคุณลักษณะของครูมืออาชีพ 2.2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการกำหนดเป้าหมาย 2.3. เพื่อร่วมแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และภูมิใจ 2.4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู 2.5. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพและทักษะในศตวรรษที่ 21 - เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป - เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 94,100 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 94,100 / 180 = 522.77 บาท/คน เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15