ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์” (สวพ.) (59,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
3. เพื่อให้คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจในการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
- เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 50,600 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 50,600 /180 = 281.11 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 9 |
|
2 |
กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (ควจ.) (57,000 บาท) |
2566 |
1 เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของบุคลากร
2 เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการ |
เชิงปริมาณ : บุคลากรจำนวน 20 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 55,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 55,200/20 = 2,760 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 9 |
|
3 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมการจัดทำแผนด้านการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ Bussiness Model Canvas และให้ความรู้ด้านหลักเกณฑ์การยื่นขอรับรองมาตฐานกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน |
2566 |
1. เพื่อให้ผู้ผลิตได้รับการพัฒนาแบบผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ ให้มีความเหมาะสม ตามความต้องการของตลาด เพิ่มมูลค่าและรายได้
2. เพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองในด้านการประกอบธุรกิจ การค้า การบริการจัดการด้วยตนเองจนสามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่น ได้อย่างยั่งยืนตลอดจนสร้างจุดแข็งในด้านคุณภาพราคา และเพิ่มศักยภาพทางการตลาด
3. เพื่อสร้างนวัตกรรุ่นใหม่ในท้องถิ่นให้เกิดขึ้น เพื่อกระจายองค์ความรู้
|
- เชิงปริมาณ
1) สร้างแบรนด์สินค้าให้แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนพร้อมขายและต่อยอดทางการตลาดรวมอย่างน้อย 15 ผลิตภัณฑ์
2) ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการอย่างน้อย 17 ผลิตภัณฑ์
3) จำนวนผู้เข้าร่วมการอบรมจำนวน 30 คน
- เชิงคุณภาพ
1) รายได้ของผู้ประกอบการผลิตสินค้าชุมชน OTOP หรือวิสาหกิจชุมชน เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 10 ต่อปี
- เชิงเวลา
1) สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,400.- บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,400 บาท/30 คน = 480.- บาท
|
เป้าหมายที่ 9 |
|
4 |
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม
|
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา
3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
5 |
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
|
3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้
3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
6 |
กิจกรรมที่ 3.5.2 อนุรักษ์คลองหลา (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อพัฒนาการเลี้ยงปลาในกระชัง
และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ให้มี
ประสิทธิภาพและอนุรักษ์ธรรมชาติ
|
1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากสัตว์
และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ
จำนวน 1 นวัตกรรม
2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน
3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15
|
เป้าหมายที่ 9 |
|
7 |
กิจกรรมที่ 3.5.4 ยุวเกษตรรักษ์ถิ่น (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร
สำหรับนักเรียน โรงเรียนวัดปักคล้า
|
ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน
ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
|
เป้าหมายที่ 9 |
|
8 |
กิจกรรมที่ 3.5.5 เกษตรผสมผสานเพื่อเสริมรายได้ (เกษตรผสมผสานเกาะแต้ว) |
2566 |
1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน
สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ
ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง
ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อจัดการแปลงเกษตรผสมผสาน
ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่นา พืชสวน
และพืชไร่ เพื่อเสริมรายได้
|
ระหว่างดำเนินการ |
เป้าหมายที่ 9 |
|
9 |
กิจกรรมที่ 3.5.12 สัมมนาเครือข่ายชุมชนเกษตร พอเพียง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
2566 |
1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างดำรงชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ในชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
2 เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การผลิตและการแปรรูปกาแฟ การทำเกษตรผสมผสาน การปลูกส้มจุก และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์
|
- เชิงปริมาณ
ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย
- เชิงคุณภาพ
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การผลิตและการแปรรูปกาแฟ การทำเกษตรผสมผสาน การปลูกส้มจุก และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,000 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,000/45 = 1,000 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 9 |
|
10 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข่อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ |
2566 |
1.เพื่อให้อาจารย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะ จากแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก
2. เพื่อให้อาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการเขียนวิจัยไปขอรับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกและพัฒนางานตนเองได้
|
1. เชิงปริมาณ
1.1 มีอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
2. เชิงคุณภาพ
2.1 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือ หัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.3 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้น ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000 / 50 = 360 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
|
11 |
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์(26,300 บาท) |
2567 |
2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์
2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ หลังของปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (เมษายน - กันยายน 2567)
|
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 89 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 26,300 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 26,300/89 = 295.50บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 |
|
12 |
กิจกรรมที่ 18 อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำและการบริการเครื่องดื่มเบื้องต้น(21,600 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการทำเครื่องดื่มเบื้องต้นได้
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการบริการเครื่องดื่มในธุรกิจบริการเบื้องต้นได้
3. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ด้านการทำและบริการเครื่องดื่มจากผู้มีความเชี่ยวชาญด้านเครื่องดื่มโดยตรง
|
เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสลงมือปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 9 |
|
13 |
กิจกรรมที่ 2 บรรยายเรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ภาคปกติ ประจำปีการศึกษา 2566(39,300 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อการเตรียมพร้อมหลังจากสำเร็จการศึกษา
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักบทบาทและหน้าที่สำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ แนวคิดจากมุมมองต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานทั้งในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 208 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
๒. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิอย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 33,050 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
|
14 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาการจัดการความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอน(14,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2. เพื่อให้คนในองค์กรมีเจตคติที่ดีในการแบ่งปันความรู้และเผยแพร่ผลงานให้บุคคลทั่วไปได้ทราบ
3. ได้องค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีด้านวิจัย และการเรียนการสอน
|
1. เชิงปริมาณ ผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 35 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแผนจัดการความรู้ด้านวิจัยและการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 แผน
2.2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีแนวปฏิบัติที่ดีจากการถ่ายทอดองค์ความรู้ อย่างน้อย 2 ด้าน
2.3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,800 บาท
2.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,800/35 = 422.86 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
|
15 |
กิจกรรมที่ 10 อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างผลงานทางวิชาการด้านรับใช้ท้องถิ่นและสังคม(74,800 บาท) |
2567 |
- เพื่อให้บุคลากรสายวิชาการมีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างผลงานทางวิชาการด้านรับใช้ท้องถิ่นและสังคม
- เพื่อให้บุคลากรสายวิชาการสามารถเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น
|
- เชิงปริมาณ : ผู้เขาร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการผลิตผลงานทางวิชาการ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ได้จริง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 |
|
16 |
กิจกรรมที่ 12 อบรมเรื่อง การเสริมสร้างทักษะและเพิ่มประสิทธิภาพเกี่ยวกับระเบียบการเงินการคลัง(36,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติด้านการเงินการคลัง
2.เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทัศนคติและประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ
|
- เชิงปริมาณ : ผู้บริหารทุกระดับ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเงินการคลังภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
จำนวน 140 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้บริหารทุกระดับ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเงินการคลังภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 |
|
17 |
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ (คคศ.)(23,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้อาจารย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะจากแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก
2. เพื่อให้อาจารย์นำความรู้เกี่ยวกับการเขียนวิจัยไปขอรับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกและพัฒนาผลงานตนเองได้
|
1. เชิงปริมาณ - มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 48 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการ คาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23,800/48 = 495.83 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
|
18 |
กิจกรรมที่ 14 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเลือกใช้สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรให้ตอบโจทย์งานวิจัย (ควจ.)(20,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการวางแผนการดำเนินการวิจัย
2. เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ สามารถคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างตามความจำเป็นทางสถิติ และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมการวิจัยที่ดี
3. สามารถเลือกใช้สถิติได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
|
1. เชิงปริมาณ : บุคลากรจำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจสามารถคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างตามความจำเป็น
ทางสถิติ และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมการวิจัยที่ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 20,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 20,800/20 = 1,040 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 9 |
|
19 |
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย |
2567 |
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาใหม่
|
1. เชิงปริมาณ
นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๓๐๐ คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ
2.1 นักศึกษาใหม่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาลัย และกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า ๗ ฐาน โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 47,300 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 47,3๐๐/๓00 = 157.67 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 11 |
|
20 |
โครงการ สัมมนาผู้บริหารและครูพี่เลี้ยง |
2567 |
เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดกระบวนการทำงานเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างโรงเรียนและมหาวิทยาลัย |
1 เชิงปริมาณ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 320 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
3 เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 39,100 บาท
5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 39,100/320 = 122.1875 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 13 |
|
21 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบ้ติการ "การสร้างสรรค์การแสดงมนต์เสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลาให่กับนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ" |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงชุดมนต์เสน่ห์ย่านเมืองเก่าสงขลา รูปแบบนาฏศิลป์ร่วมสมัย ไทย-จีน ให้แก่นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้มีศักยภาพด้านนาฏศิลป์ไทยและนาฏศิลป์จีน
2.3 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงชลาจากนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิให้มีทักษะด้านการแสดงรอบด้าน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ จำนวน 24 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 ชุมชนได้รับการพัฒนา Soft Power จำนวน 1 ชุมชน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 21,600 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 21,600/24 = 900 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
|
22 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วงดุริยางค์เครื่องลมเยาวชนสงขลา |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพชุมชนซอฟต์พาวเวอร์ด้วยองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมดนตรีร่วมสมัย
2.2 เพื่อยกระดับกิจกรรมวงดุริยางค์เครื่องลมที่มีในชุมชนเป็นการแสดงที่มีศักยภาพและมีมูลค่าสูง
2.3 เพื่อสร้างคุณค่า ผลักดัน ซอฟต์พาวเวอร์ด้วยการแสดงดนตรีร่วมสมัยให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 จำนวนชุมชนทีได้รับการพัฒนาซอฟต์พาวเวอร์อย่างน้อย 5 ชุมชน
5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 จำนวนชุมชนที่มีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นร้อยละ 41
5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 41
5.2.3 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะดีขึ้นร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 406,100 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 406,100 /80 = 5,076 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
|
23 |
กิจกรรมสำรวจความต้องการของครัวเรือนยากจน |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
๒.๑ เพื่อสำรวจความต้องการครัวเรือนยากจน พื้นที่ตำบลบ่อยาง ตำบลพะวง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา และตำบลแม่ขรี ตำบลตะโหมด จังหวัดพัทลุง
๒.๒ เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไปวิเคราะห์ความต้องการ/ปัญหา
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 ครัวเรือนยากจน จำนวน 20 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12,000 บาท
ต่อครัวเรือน/ปี
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.2 ครัวเรือนยากจนที่เข้าร่วมโครงการ มีแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพ
ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
5.2.3 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI)
จำนวน 1 รายงาน
5.3 เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 9,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 9800/20 = 480บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
|
24 |
พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจน พื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง กิจกรรมที่ 3.13.2 พัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน |
2567 |
1. เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้และคำปรึกษาแก่ครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
2. เพื่อพัฒนาทักษะการส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจน
3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนที่พร้อมรับการพัฒนา
|
เชิงปริมาณ : ครัวเรือนยากจนในพื้นที่ ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล และ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองสงขลา
จ.สงขลา จำนวน 25 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการครบทุกครัวเรือน
เชิงคุณภาพ :
- รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 หลังจากที่ได้วัสดุอุปกรณ์และได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ (รอผลการติดตาม)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากเดิม
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 99 และขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยที่มีโครงการนี้ขึ้นมา
- ครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนามีทักษะที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
ชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 255,450 บาท ใช้จริง 244,594 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
25 |
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแสดงโนราชุด "จากถิ่นซิงกอร่าสู่สงขลาเมืองมรดกโลก" แก่นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ |
2567 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงโนราชุด "จากถิ่นซิงกอร่า สู่สงขลาเมืองมรดกโลก"
2.2 เพื่อสร้างนักแสดง และชุดการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของย่านเมืองเก่าสงขลา
2.3 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่นักเรียน และสามารถต่อยอดกิจกรรมสู่การสร้างรายได้จากการแสดงชุมชน
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 นักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 ชุมชนที่ได้รับการพัฒนา Soft Power จำนวน 1 ชุมชน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ชุมชน หรือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่ดีขึ้น ร้อยละ 20
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000/20 = 900 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 9 |
|
26 |
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน
2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย
|
เชิงปริมาณ
1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง
เชิงคุณภาพ
1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน
3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน
5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
|
27 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้งานระบบ ThaiJo และการนำวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI(11,700 บาท) |
2568 |
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการวางแผนการดำเนินการวิจัย
2. เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ สามารถใช้งานระบบ ThaiJo ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการจัดทำวารสารคณะวิทยาการจัดการ มีองค์ความรู้การนำวารสารมาประยุกต์ในฐานข้อมูล TCI |
เชิงปริมาณ : ผู้ข้าร่วมโครงการจำนวน 12 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถใช้งานระบบ ThaiJo ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา :สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 11,620 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 11,620/12 = 968.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 |
|
28 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์"(58,200 บาท) |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : จำนวน 47,080 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : จำนวน 47,080/120 = 392.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
|
29 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 17 |
|
30 |
โครงการความร่วมมือทางวิชาการและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่างประเทศ |
2568 |
1. เพื่อเตรียมความพร้อมและเปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะครุศาสตร์ในระดับปริญญาตรี ได้แลกเปลี่ยนและเรียนรู้ในด้านวิชาการ การเรียนการสอน การวิจัย ศิลปวัฒนธรรม อื่น ๆ กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ตามบันทึกความเข้าใจ (MOU)
2. เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยไปสู่นานาชาติ
|
1. เชิงปริมาณ เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับนานาชาติ จำนวน 1 เครือข่าย
2. เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมทันตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 55,240 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 55,240/43 = 1,284.65 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 17 |
|