0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
กิจกรรมที่ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการ ดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์ (24,700 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านการตลาดวัฒนธรรมท้องถิ่น By MGT (ควจ.) (43,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการ ดำเนินยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์ (24,700 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ โดยการร่วมกันกำหนดกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จและสรุปเป็นเอกสารแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีของคณะครุศาสตร์ 2.2 เพื่อให้บุคลากรทุกภาคส่วนในคณะครุศาสตร์ร่วมกันทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาครึ่งแผนฯ แรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566) และในรอบระยะเวลาสิ้นปีแผนฯ (เมษายน - สิงหาคม 2566) 1 เชิงปริมาณ 1.1 คณาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ จำนวน 64 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 1.2 คณะครุศาสตร์มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จำนวน 1 แผน และแผนปฏิบัติการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 แผน 2 เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท 5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/64 = 232.81 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 11
เป้าหมายที่ 17
2 กิจกรรมที่ 23 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านการตลาดวัฒนธรรมท้องถิ่น By MGT (ควจ.) (43,000 บาท) 2566 1.เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) 3.เพื่อให้นักศึกษาร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) 4.เพื่อบูรณาการด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ โดยฝึกปฏิบัติเป็นผู้ประกอบการท้องถิ่น ผลิตและจำหน่ายอาหารพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ร่วมอนุรักษ์และถ่ายทอดภูมิปัญญาอาหารและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น (ชุมชน) รวมทั้งบูรณาการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนตามศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 43,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 43,000 /200 = 215 บาท/คน เป้าหมายที่ 11
3 กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ 2566 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน 2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการคณะเพื่อยกระดับรายได้ของชุมชน 2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 261,700 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 261,700 /200 = 1,308.5 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 11