ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
 |
 |
2 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเสริมสร้างทักษะในการ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและ รายงานการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (36,900 บาท) |
2566 |
1. บุคลากรสายวิชาการและสาย
สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน
เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน
ตามแผนการบริหารความเสี่ยง
โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
ร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้
ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในหน่วยงานละ 1 แผน
รวม 15 แผน |
1. บุคลากรสายวิชาการและสาย
สนับสนุนวิชาการ จำนวน 130 คน
เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงาน
ตามแผนการบริหารความเสี่ยง
โดยระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
ร้อยละ 80
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้
ความเข้าใจการจัดทำแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4. หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลามีร่างแผนบริหาร
ความเสี่ยงและรายงานการควบคุม
ภายในหน่วยงานละ 1 แผน
รวม 15 แผน |
เป้าหมายที่ 16 |
3 |
กิจกรรมที่ 2 อบรม เรื่อง การประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (20,500 บาท) |
2566 |
เพื่อให้คณะกรรมการอำนวยการ
คณะกรรมการดำเนินงาน และ
คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจ
ตระหนักถึงความสำคัญของการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ตลอดจนได้รับทราบแนวทางการ
ประเมินการรวบรวมข้อมูลและ
เตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการ
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 ได้อย่างถูกต้อง |
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอ
ใจในการเข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2. บุคลากรสายวิชาการและ
สายสนับสนุน จำนวน 130 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
3. ผลการตรวจประเมิน ITA
ได้รับคะแนนรวมจากการประเมิน
ร้อยละ 85 |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
4 |
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล ต่อต้านการทุจริตในองค์กร (14,800 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากร ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสำคัญในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร
2.เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม มีส่วนร่วมในการสร้างค่านิยมองค์กรคุณธรรม สามารถนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จ และต่อต้านการทุจริตในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล
|
1.เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าระดับเฉลี่ย 3.00
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.เชิงเวลา ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 4,800 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,800/120 = 40 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
5 |
กิจกรรมที่ 3.1.2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องการส่งเสริมการตลาดและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ของชุมชน |
2566 |
1. เพื่อยกระดับเศรษฐกิจในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน
2. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งตนเองได้
3. เพื่อนำความรู้ด้านการส่งเสริมการตลาดไปใช้ในการจำหน่ายผลิตภัณฑื |
เชิงปริมาณ : 1. กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ชุมชนต้นแบบได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1 ชุมชน
3. ชุมชนมีผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดออนไลน์ จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 10 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 135,500 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 135,000/180 = 752.22 บาท |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
6 |
กิจกรรมที่ 3.1.3 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และจัดงานประกวดการแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน |
2566 |
1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนมีศูนย์การเรียนรู้ในชุมชนท้องถิ่น
2.เพื่อนำผลิตภัณฑ์ของชุมชนมาจัดแสดงให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
3. เพื่อสร้างจุดเด่นของชุนชนต้นแบบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่าง
|
- เชิงปริมาณ : 1.กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 100 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 แห่ง
- เชิงคุณภาพ : 1. ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 1 เครือข่าย
3. มีผลิตภัณฑ์ชุมชนร่วมงานจัดแสดงสินค้าอย่างน้อย 5 ผลิตภัณฑ์
- เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 74,900 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 74,900/100 = 749 บาท
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
7 |
กิจกรรมที่ 3.1.4 ลงพี้นที่ติดตามความก้าวหน้า |
2566 |
1. เพื่อประเมินผลการดำเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
2. เพื่อสามารถนำผลจากการติดตามความก้าวหน้ามาปรับปรุงและพัฒนา
3. นำผลที่ได้จากการปรับปรุงและพัฒนา เสนอต่อชุมชนและเทศบาลโคกม่วง
|
1. เชิงปริมาณ : - ลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
- รายงานผลการติดตามความก้าวหน้าอย่างน้อย 1 ครั้ง
2. เชิงคุณภาพ : - เทศบาลโคกม่วงสามารถนำผลรายงานการติดตามความก้าวหน้าไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาต่อไป
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,900/2 = 7,450 บาท
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
8 |
กิจกรรมที่ 3.7.4 จัดงานเทศกาลปลากระพง |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเกาะยอสู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลเกาะเกาะยอโดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน
|
1.เชิงปริมาณ
1.1 มีเกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.2 เกิดชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชน ที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน
1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเกาะยอ เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3.เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
9 |
กิจกรรมที่ 3.7.5 จัดงานเทศกาลจำปาดะ |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาตลาดวัฒนธรรมเกาะยอสู่การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ของดีตำบลเกาะเกาะยอโดยการจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน
|
1.เชิงปริมาณ
1.1 มีเกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อย่างน้อย 3 เครือข่าย
1.2 เกิดชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยววิถีชุมชน ที่จะทำให้ชุมชนมีการพัฒนา อย่างยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน
1.3 แกนนำชุมชน ประชาชนในตำบลเกาะยอ เขาร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
10 |
กิจกรรมที่ 7.2.2 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาท้องถิ่นตามโครงการพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย กรณีชุมขนต้นแบบตะโหมดกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน |
2566 |
เพื่อจัดงานโครงการพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย กรณีชุมชนต้นแบบ ตะโหมดกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน |
1.เชิงปริมาณ
1.1ได้โมเดลชุมชนต้นแบบที่มีการพัฒนาท้องถิ่นตามพระราโชบายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 1 โมเดล
1.2 เกิดนวัตกรชุมชน จำนวน 5 คน
1.3 คนในชุมชนเกิดเครือข่ายการอนุรักษ์ ดูแล ทรัพยากรของชุมชนทั่วประเทศ จังหวัด 10 คน รวม 30 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3.เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
11 |
กิจกรรมที่ 7.2.3 จัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมขน การท่องเที่ยวชุมขน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย |
2566 |
เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยการใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย |
1.เชิงปริมาณ
1.1 ได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 8 ชุมชนต้นแบบ
1.2 คนในชุมชนเกิดเครือข่ายการอนุรักษ์ ดูแล ทรัพยากรของชุมชนทั่วประเทศ จังหวัดละ 10 คน รวม 30 คน
2. เชิงคุณภาพ
2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
3. เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |
12 |
กิจกรรมที่ 3.1.1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ตลาด by MGT |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน
2. เพื่อให้ผู้ประกอบการและนักศึกษาร่วมกันหาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
3. เพื่อส่งเสริมช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในชุมชน
4. เพื่อนำผลิตภัณฑ์ในชุมชนมาจัดจำหน่ายและจัดแสดงในคณะวิทยาการจัดการ |
เชิงปริมาณ : 5.1.1 กลุ่มประชาชนในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.1.2 มีการบูรณาการในรายวิชา จำนวน 2 รายวิชา
5.1.3 มีนักศึกษาเข้าร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน จำนวน 5 คน
5.1.4 ชุมชนมีศูนย์เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ชุมชน จำนวน 1 ศูนย์
เชิงคุณภาพ : 5.2.1 ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการในชุมชนมีผลิตภัณฑ์พัฒนาสู่ตลาด จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์
5.2.2 ผู้เข้าร่วมมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานโครงการได้ทันตามเวลาที่กำหนด
เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 81,100 บาท
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 81,100/20 = 4,055 บาท |
เป้าหมายที่ 16 |
 |
13 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน การเขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่าน ออก เขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 204,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 204,700/300 = 682.34 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
14 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 1.3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ค่ายสื่อสร้างสรรค์เพื่อการสอนภาษาไทย(129,300 บาท) |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่าน เขียน สำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
- เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2) นักเรียนมีศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับการเป็นครูในอนาคต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 129,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 129,300/180 = 718.33 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
15 |
ยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 11 ประชุมเพื่อทบทวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน(43,800 บาท) |
2566 |
1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูความสามารถทางการเรียนรู้ (learning recovery)
2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สูงขึ้น
|
- เชิงปริมาณ
1) คณะครุศาสตร์มีนวัตกรรมในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน 3 นวัตกรรม
2) ครูที่เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
- เชิงคุณภาพ
1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษามีพัฒนาการที่สูงขึ้นร้อยละ 3
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,800 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,800/78 = 561.53 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 16 |
 |
16 |
งานแสดงมุฑิตาจิต บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่เกษียณอายุราชการ ประจำปี 2566 |
2566 |
2.1 เพื่อยกย่อง เชิดชูเกียรติ และชมเชยบุคลากรที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
2.2 เพื่อสืบสานประเพณีและแสดงถึงความรักความสามัคคีระหว่างบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนผู้ที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
|
- เชิงปริมาณ : 1. บุคลากรสายวิชาการที่ครบวาระเกษียณอายุราชการจำนวน 6 คน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาในโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 229,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 229,500/500 = 459 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 16 |
 |
17 |
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการมนุษย์มดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษา(24,000 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางที่ดีในการปฏิบัติงานเพื่อความเป็นเลิศ
|
1. เชิงปริมาณ : มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ :
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากผลการประเมิน
3. ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของการประเมินผล
4. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาสถาบันการเรียนรู้ครบทั้ง 2 ด้าน อย่างน้อย 1 ระบบ
5. อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปจากเกณฑ์การประเมิน
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม = 24,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต = 24,000/60 = 400 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 16 |
 |