0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 5 ทบทวนและจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงาน อธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และแผนกลยุทธ์ทางการเงินประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 (4,200 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (นอกสถานที่) (18,300 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานด้านการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยของ สำนักงานอธิการบดี (136,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ
SDGs:
กิจกรรมที่ 7.2.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และสตูล
SDGs:
ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา (อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน (น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง)
SDGs:
บริหารจัดการและติดตามการดำเนินโครงการ กิจกรรมรับการตรวจเยี่ยมเพื่ิติดตามผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
SDGs:
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) 2566 1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 3
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 14
เป้าหมายที่ 15
เป้าหมายที่ 16
เป้าหมายที่ 17
2 กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) 2566 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ -เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล -เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน -เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด -เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท -ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 5
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
3 กิจกรรมที่ 5 ทบทวนและจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงาน อธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และแผนกลยุทธ์ทางการเงินประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 (4,200 บาท) 2566 1. เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ สำนักงานอธิการบดีให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อให้หน่วยงานภายใน สำนักงานอธิการบดีนำแผน ยุทธศาสตร์ไปเป็นกรอบในการ ดำเนินงานและทำให้บรรลุวิสัยทัศน์ ของสำนักงานอธิการบดีที่กำหนดไว้ 1. มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ 2. มีแผนยุทธศาสตร์กลยุทธ์ทาง การเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 จำนวน 1 ฉบับ 3. บุคลากรสำนักงานอธิการบดี จำนวน 70 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความ พึงพอใจในการร่วมทบทวนและ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
4 กิจกรรมที่ 22 อบรมเชิงปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (นอกสถานที่) (18,300 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะที่จำเป็นในการทำงานด้านอุตสาหกรรมบริการ 2. เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์การให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน 3. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในห้องอาหารที่ได้มาตรฐาน 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในทักษะด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสลงมือปฏิบัติการ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
5 กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท) 2566 1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้ 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ 4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 272 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,900 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,900/272 = 128.31 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
6 กิจกรรมที่ 4 ศึกษาดูงานด้านการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยของ สำนักงานอธิการบดี (136,800 บาท) 2566 2.1 เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุนของสำนักงานอธิการบดีได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาดูงานสถาบันอุดมศึกษาในด้านบริหารจัดการมหาวิทยาลัยและนำความรู้มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานของหน่วยงานเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป 2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มประสบการณ์ให้กับบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา - เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 24 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 126,900 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 126,900/24 = 5,287.50 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
7 กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท) 2566 1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ 2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น 3. เพื่อทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 1.เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80  2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3 .เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 78,600 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 78,600/200 = 393 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 4
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 10
8 กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา 3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
9 กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้ 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้ 3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
10 กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2566 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดียนให้กับนักเรียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 2.2 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาสำหรับแสดงประกอบวงเมโลเดียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ 1 นวัตกรรม 5.1.2 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 1 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2.2 สามารถนำการแสดงใช้เป็นกิจกรรมส่งเสริมเมืองสงขลาสู่เมืองมรดกโลกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 5.2.3 สามารถนำการแสดงที่สร้างสรรค์ไปใช้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลาสร้างรายได้สู่ชุมชน เพื่อขึ้นร้อยละ 5 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,200 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,200/30 = 540 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 7
เป้าหมายที่ 8
11 กิจกรรมที่ 3.9.6 เทศกาลดนตรีและศิลปะการแสดงชิงกอร่า Singora Music and Performimg Arts Festival และการติดตามผลและสรุปโครงการ 2566 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดคุณค่าแก่ชุมชนอย่างยั่งยืน 2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการคณะเพื่อยกระดับรายได้ของชุมชน 2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำองค์ความรู้จากในห้องเรียนไปใช้จริงในการทำงานร่วมกับชุมชน 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 5.1.2 ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จำนวน 1 เครือข่าย 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 261,700 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 261,700 /200 = 1,308.5 บาท เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 11
12 กิจกรรมที่ 7.2.1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs สู่ชุมชนต้นแบบ 1 จังหวัด 1 ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และสตูล 2566 เพื่อพัฒนาศักยภาพการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยกระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน 1. เชิงปริมาณ 1.1.ได้ขยายกลุ่มภาคีเครือข่ายโดยครอบคลุมทั้งภาครัฐ ภาคท้องถิ่นภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน จำนวนอย่างน้อยภาคละ 1 เครือข่ายต่อ 1 ชุมชนต้นแบบ 1.2 เกิดองค์ความรู้นวัตกรรมด้านการยกระดับการใช้ทรัพยากรของชุมชน SDG อย่างยั่งยืน จังหวัด ๑ องค์ความรู้ 1.3 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมพัฒนาต่อจังหวัด จังหวัดละ 10 คน รวม 30 คน 2.เชิงคุณภาพ 2.1ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหากิจกรรมหรือหัวข้อที่จัดโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 3. เชิงเวลา สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 17
13 ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา (อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน (น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง) 2566 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุล และได้เรียนรู้วิธีการ หลักการ และขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง และโครงการนี้เป็นการต่อยอดการผลิตให้มีจำนวนมากขึ้น และปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่เพื่อให้ดีกว่าเดิม - เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 ครัวเรือน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกกุ้งเสียบ แกงไตปลาแห้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - เชิงเวลา ดำเนินกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 41,350 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 41,350/30 = 1,378.33 บาท/ครัวเรือน เป้าหมายที่ 1
14 บริหารจัดการและติดตามการดำเนินโครงการ กิจกรรมรับการตรวจเยี่ยมเพื่ิติดตามผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2566 2.1 เพื่อรับการตรวจเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ของ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี 2.2 เพื่อรับฟังการบรรยายสรุป โครงการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา 2.3 เพื่อจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา - เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร นักศึกษา บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 270 คน - เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการทราบผลการติดตามผลการดำเนินงานโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 366,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 366,000 / 270 = 1,355.55 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 4
15 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก 2566 2.1 เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุล และเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบและส่งเสริมการตลาดสินค้าชุมชน 2.4 เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้วิสาหกิจข้าวพื้นถิ่นระหว่างชุมชนต้นแบบ 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนไม่น้อยกว่า 48 คน (ร้อยละ 80) 5.1.2 มีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 3 ชุมชน 5.1.3 มีช่องทางการตลาด อย่างน้อย 1 ช่องทาง 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ชุมชนต้นแบบได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ชุมชน 5.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเกณฑ์ความยากจน ร้อยละ 60 5.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 170,400 บาท 5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 170,400/60 = 2,840 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
16 อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับตนเองและผู้ดูแล 2566 1. เพื่อให้ความรู้กับผู้ดูแลและผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและจัดการภาวะสมองเสื่อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน 2. เพื่อประเมินผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืนและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้รับการยอมรับในด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับชาติ - เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ ดูแลภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน จำนวน 1 ชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 43,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 43,000/30 = 1,433.33 บาท/คน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2