ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ นักศึกษาภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 (6,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อนักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาค กศ.บป. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 60 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 5,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5,900/40 = 147.50 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
 |
 |
2 |
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์กรสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว(33,800 บาท) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้ด้านเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวเพื่อเข้าสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว
2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นำความรู้และเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานสีเขียวไปใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน
|
5.1 เชิงปริมาณ : 5.1.1 อาจารย์และบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 80 คน
เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ : 5.2.1 อาจารย์และบุคลากรเกิดทักษะการนำองค์ความรู้ด้านสำนักงาน
สีเขียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.3 เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 33,800 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 33,800 = 422.50 บาท/คน
80
|
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 13 เป้าหมายที่ 15 |
 |
3 |
มหาวิทยาลัยสีเขียว |
2567 |
เพื่อปลูกต้นไม้ให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
เชิงปริมาณ 1) นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) นักศึกษาชมรมจิตอาสาฯ ได้ร่วมกันปลูกต้นไม้ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไม่น้อยกว่า 250 ต้น
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 15 |
 |
4 |
อบรมเพื่อพัฒนาครูสู่ความเป็นมืออาชีพ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู และพิธีมอบประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูประจำปีการศึกษา 2565 |
2567 |
2.1. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท
และคุณลักษณะของครูมืออาชีพ
2.2. เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการกำหนดเป้าหมาย
2.3. เพื่อร่วมแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และภูมิใจ
2.4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู
2.5. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพและทักษะในศตวรรษที่ 21
|
- เชิงปริมาณ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประจำปีการศึกษา 2565 จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 94,100 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 94,100 / 180 = 522.77 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 |
 |
5 |
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนชุมชนเกาะยอ (กิจกรรมที่ 7.2.3) |
2567 |
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้าผลิตภัณฑ์แก่ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงการพัฒนาสินค้าโดยชุมชน
2. เพื่อจัดงานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย
|
เชิงปริมาณ
1 ประชาชนจากชุมชนต้นแบบ จำนวน 100 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 ชุมชนต้นแบบได้ใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคเครือข่าย และชุมชนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบในด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า 8 แห่ง
เชิงคุณภาพ
1 เครือข่ายชุมชนต้นแบบที่อยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีทักษะด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
2 ชุมชนต้นแบบได้ประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนการท่องเที่ยวชุมชน โดยใช้กระบวนการทำงานในรูปแบบภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 10 ชุมชน
3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน
4 ชุมชนต้นแบบจำนวน 10 ชุมชนมีดัชนีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 ชุมชน
5 มหาวิทยาลัยมีรายงานผลการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จำนวน 1 รายงาน
เชิงเวลา : สามารถดำเนินงานจนเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 496,000 บาท
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17 |
 |
6 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
2568 |
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ การรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ และการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR |
1. เชิงปริมาณ : พนักงานบริษัทไทยแซนด์ สวิมมิ่ง พูล จำกัด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาความสามารถด้านการรักษาความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ CPR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถดำเนินโครงการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 10,400 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 10,400 / 30 = 346.66 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 17 |
 |
7 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การคัดแยกขยะ |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจำแนกและแยกประเภทของขยะ |
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาชมรมจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 160 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.เชิงคุณภาพ 1) นักศึกษาชมรมจิตอาสาฯ สามารถจำแนกและแยกประเภทของขยะได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
3. เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 27,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 27,900/160 = 174.38 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 15 |
 |
8 |
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
2568 |
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
๕.1 เชิงปริมาณ
- นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
๕.๒ เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.51
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการ โดยมีค่าประเมินเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๕๑
๕.๓ เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
๕.๔ เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 20,100 บาท
๕.๕ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 20,100 = 402 บาท/คน
5๐
|
เป้าหมายที่ 15 |
 |