0-7426-0200
sdg@skru.ac.th
  • ทั้งหมด
  • 2565
  • 2566
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์” (สวพ.) (59,800 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (ควจ.) (57,000 บาท)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3 อบรมการจัดทำแผนด้านการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ Bussiness Model Canvas และให้ความรู้ด้านหลักเกณฑ์การยื่นขอรับรองมาตฐานกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.2 อนุรักษ์คลองหลา (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.4 ยุวเกษตรรักษ์ถิ่น (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.5 เกษตรผสมผสานเพื่อเสริมรายได้ (เกษตรผสมผสานเกาะแต้ว)
SDGs:
กิจกรรมที่ 3.5.12 สัมมนาเครือข่ายชุมชนเกษตร พอเพียง แลกเปลี่ยนเรียนรู้
SDGs:
อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข่อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ
SDGs:
เลือกปีงบประมาณ :
เลือกเป้าหมาย :
ค้นหาข้อมูล :
ลำดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เป้าหมาย SDGs ภาพ
1 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์” (สวพ.) (59,800 บาท) 2566 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบวิธีปฏิบัติในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 3. เพื่อให้คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจในการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ - เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 180 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และวิธีปฏิบัติโดยคะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวน 50,600 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต จำนวน 50,600 /180 = 281.11 บาท/คน เป้าหมายที่ 9
2 กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (ควจ.) (57,000 บาท) 2566 1 เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของบุคลากร 2 เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการ เชิงปริมาณ : บุคลากรจำนวน 20 คนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงเวลา : สามารถผลิตผลงานวิจัยได้ทันภายในเวลาที่กำหนด เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 55,000 บาท ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 55,200/20 = 2,760 บาท/คน เป้าหมายที่ 9
3 กิจกรรมที่ 3 อบรมการจัดทำแผนด้านการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ Bussiness Model Canvas และให้ความรู้ด้านหลักเกณฑ์การยื่นขอรับรองมาตฐานกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 2566 1. เพื่อให้ผู้ผลิตได้รับการพัฒนาแบบผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ ให้มีความเหมาะสม ตามความต้องการของตลาด เพิ่มมูลค่าและรายได้ 2. เพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองในด้านการประกอบธุรกิจ การค้า การบริการจัดการด้วยตนเองจนสามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่น ได้อย่างยั่งยืนตลอดจนสร้างจุดแข็งในด้านคุณภาพราคา และเพิ่มศักยภาพทางการตลาด 3. เพื่อสร้างนวัตกรรุ่นใหม่ในท้องถิ่นให้เกิดขึ้น เพื่อกระจายองค์ความรู้ - เชิงปริมาณ 1) สร้างแบรนด์สินค้าให้แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนพร้อมขายและต่อยอดทางการตลาดรวมอย่างน้อย 15 ผลิตภัณฑ์ 2) ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการอย่างน้อย 17 ผลิตภัณฑ์ 3) จำนวนผู้เข้าร่วมการอบรมจำนวน 30 คน - เชิงคุณภาพ 1) รายได้ของผู้ประกอบการผลิตสินค้าชุมชน OTOP หรือวิสาหกิจชุมชน เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 10 ต่อปี - เชิงเวลา 1) สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 14,400.- บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 14,400 บาท/30 คน = 480.- บาท เป้าหมายที่ 9
4 กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา 3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
5 กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 2566 2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้ 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้ 3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด 3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท 3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน เป้าหมายที่ 1
เป้าหมายที่ 2
เป้าหมายที่ 8
เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 10
เป้าหมายที่ 17
6 กิจกรรมที่ 3.5.2 อนุรักษ์คลองหลา (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) 2566 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อพัฒนาการเลี้ยงปลาในกระชัง และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ให้มี ประสิทธิภาพและอนุรักษ์ธรรมชาติ 1. นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากสัตว์ และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ จำนวน 1 นวัตกรรม 2. ชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืนจำนวน 1 ชุมชน 3. ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น อย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย 4. รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 เป้าหมายที่ 9
7 กิจกรรมที่ 3.5.4 ยุวเกษตรรักษ์ถิ่น (ชุมชนเกษตรทุ่งลาน โคกม่วง) 2566 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 2. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร สำหรับนักเรียน โรงเรียนวัดปักคล้า ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย เป้าหมายที่ 9
8 กิจกรรมที่ 3.5.5 เกษตรผสมผสานเพื่อเสริมรายได้ (เกษตรผสมผสานเกาะแต้ว) 2566 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อจัดการแปลงเกษตรผสมผสาน ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่นา พืชสวน และพืชไร่ เพื่อเสริมรายได้ ระหว่างดำเนินการ เป้าหมายที่ 9
9 กิจกรรมที่ 3.5.12 สัมมนาเครือข่ายชุมชนเกษตร พอเพียง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2566 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชน สามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างดำรงชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ในชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ในมิติด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 2 เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การผลิตและการแปรรูปกาแฟ การทำเกษตรผสมผสาน การปลูกส้มจุก และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ - เชิงปริมาณ ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จำนวน 1 เครือข่าย - เชิงคุณภาพ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การผลิตและการแปรรูปกาแฟ การทำเกษตรผสมผสาน การปลูกส้มจุก และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด - เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 45,000 บาท - ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 45,000/45 = 1,000 บาท/คน เป้าหมายที่ 9
10 อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการเขียนข่อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณ 2566 1.เพื่อให้อาจารย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะ จากแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก 2. เพื่อให้อาจารย์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการเขียนวิจัยไปขอรับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกและพัฒนางานตนเองได้ 1. เชิงปริมาณ 1.1 มีอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 2. เชิงคุณภาพ 2.1 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหากิจกรรมหรือ หัวข้อที่จัดโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.2 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 2.3 อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 จากผลการประเมิน 3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้น ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 18,000 บาท 5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 18,000 / 50 = 360 บาท/คน เป้าหมายที่ 9
เป้าหมายที่ 17