ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 10 ปฐมนิเทศนักศึกษา ก่อนออกปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา 1 (หลักสูตร 4 ปี) (77,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการ
ปฐมนิเทศก่อนออกปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา 1
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้
เกี่ยวกับบุคลิกภาพและการวางตน
ของครูฝึกสอน
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น
ครูที่ดี |
1. นักศึกษาหลักสูตร 4 ปี
รหัส 65 จำนวน 341 คน
เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
2. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ
บุคลิกภาพและการวางตนของ
ครูฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
2 |
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
-เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล
-เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
-เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท
-ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
3 |
กิจกรรมที่ 16 อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (78,100 บาท) |
2566 |
1.นักศึกษามีความเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการ
2.นักศึกษาได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากผู้ประกอบการเพื่อสร้างแนวคิดในการเป็นผู้ประกอบการ/รุ่นพี่
3.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาให้สอคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)
4. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ประกอบอาชีพในอนาคต |
- เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
- เชิงคุณภาพ : - นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน
- เชิงเวลา : ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม : 83,450 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต : 83,450 /560 = 149.01 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
4 |
กิจกรรมที่ 1 ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ (288,900 บาท) 1.1 สัมมนานักศึกษาก่อนฝึกฯ 1.2 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกฯ 1.4 สัมมนาหน่วยฝึกฯ 1.5 สัมมนาก่อนฝึกปฏิบัติ การสอน 1,2 1.6 สัมมนาหลังฝึกปฏิบัติ การสอน 1,2 1.7 นิเทศปฏิบัติการสอนฯ |
2566 |
2.1 เพื่อสรุปและถอดบทเรียนในการฝึกประสบการณ์ทางสาธารณสุขศาสตร์ ของนักศึกษา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา 4954902 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน และรายวิชา 4954903 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านการจัดบริการสาธารณสุขชุมชน ประจำภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
2.2 เพื่อให้อาจารย์นิเทศก์ได้พบปะและดำเนินการนิเทศกับนักศึกษาฯ
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 82 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 7,920 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 7,920/82 = 96.58 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
5 |
กิจกรรมที่ 8 สัมมนาวิชาการ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและ การอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา (11,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมและการอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางโดยตรง
2. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 18 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำความรู้และองค์ความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4. ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 11,000 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 11,000 / 18 = 611.11 บาท / คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
6 |
กิจกรรมที่ 1 ศึกษาดูงาน ในรายวิชาของนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการเกษตร (59,400 บาท) |
2566 |
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นไปตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย |
- เชิงปริมาณ
นักศึกษาเข้าร่วมการศึกษาดูงานในรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงคุณภาพ
- นักศึกษาแต่ละหลักสูตรได้พัฒนาทักษะด้วยการศึกษาดูงาน ไม่น้อยกว่าร้อย 70
- นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
- เชิงเวลา
สามารถดำเนินงานโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 23,560 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 23560/486 = 48.48 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
7 |
กิจกรรมที่ 2 สัมมนาก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการเกษตร (3,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงตามสาขาวิชาของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงาน และสถานประกอบการ
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถทราบถึงปัญหาในการปฏิบัติงานและสามารถหาแนวทางแก้ไขได้ |
- เชิงปริมาณ
- นักศึกษา จำนวน 5 คน เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ
- นักศึกาาได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา
- สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 1,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 1,200/5 =240 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
8 |
กิจกรรมที่ 3 สัมมนาเรื่อง จุดประกายการเรียนรู้แบบ บูรณาการทำงาน (2,700 บาท) |
2566 |
1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในการฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา
2 เพื่อให้นักศึกษาตัดสินใจเข้าร่วมการฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา
|
- เชิงปริมาณ - นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 40 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับข้อมูลรายละเอียดของการดำเนินงานด้านสหกิจศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา - สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 2,700 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2,700/40 = 67.50 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 |
 |
9 |
กิจกรรมที่ 2 ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคปกติ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ประจำปี การศึกษา 2566 (35,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความรู้ด้านค่านิยมร่วมในองค์กร และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. เพื่อให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านกิจกรรมได้
3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้นักศึกษาในด้านประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
4. เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม และให้ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
|
1. เชิงปริมาณ นักศึกษาใหม่ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 272 คน เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 34,900 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 34,900/272 = 128.31 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
10 |
กิจกรรมที่ 32 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านเทคโนโลยีศิลปหัตถกรรม ท้องถิ่นและภูมิภาค ครั้งที่ 13 (คทอ.) (78,600 บาท) |
2566 |
1. เพื่อกำกับติดตามระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของคณะ
2. เพื่อนำความรู้การบูรณาการกับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น
3. เพื่อทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สืบทอด อนุรักษ์และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้
|
1.เชิงปริมาณ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 200 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ
2.1 มีการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิ อย่างน้อย 1 ด้าน
2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3 .เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
4. เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 78,600 บาท
5. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 78,600/200 = 393 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 10 |
 |
11 |
กิจกรรมที่ 3.4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมนาสวนควนเล |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรมาพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม
|
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจร จำนวน 20 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้โปรแกรมการท่องเที่ยวของศูนย์การเรียนรู้มะพร้าวน้ำหอมครบวงจรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม: นาสวนควนเล อย่างน้อย 1 โปรแกรม
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.6 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา
3.3.1 สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 108,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 108,000/60 = 1,800 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
12 |
กิจกรรมที่ 3.4.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ |
2566 |
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างตู้และแปรรูปอาหารทะเลด้วยตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบได้
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการสร้างตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปสองระบบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มประมงบ้านบ่ออิฐ
|
3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 สมาชิกกลุ่มประมง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 20 คน ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้ว, ตัวแทนจากเทศบาลตำบลเกาะแต้ว, เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะแต้ว และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 10 คน เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.1.2 ได้ต้นแบบตู้ตากอาหารทะเลแปรรูปแบบสองระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับกลุ่มประมงหมู่ที่ 8 ตำบลเกาะแต้ว จำนวน 2 ตู้
3.1.3 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 3 คน
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 รายได้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15
3.2.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60
3.2.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3.2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 เชิงเวลา สามารถดำเนินงานตามแผนงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.4 เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 145,000 บาท
3.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 145,000/30 = 4,833.33 บาทต่อคน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 17 |
 |
13 |
กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ |
2566 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดียนให้กับนักเรียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
2.2 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาสำหรับแสดงประกอบวงเมโลเดียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ 1 นวัตกรรม
5.1.2 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 1 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 สามารถนำการแสดงใช้เป็นกิจกรรมส่งเสริมเมืองสงขลาสู่เมืองมรดกโลกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
5.2.3 สามารถนำการแสดงที่สร้างสรรค์ไปใช้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลาสร้างรายได้สู่ชุมชน เพื่อขึ้นร้อยละ 5
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,200/30 = 540 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
14 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับเด็กปฐมวัย |
2566 |
1. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้ความเข้าใจ ทักษะในศาสตร์วิชาการทางด้านการเรียนการสอน
ระดับปฐมวัยให้กับครูปฐมวัยและศิษย์เก่า
2. เพื่อพัฒนาแนวทางการผลิตสื่อวิดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนผ่านสถานีโทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก
|
- เชิงปริมาณ.
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนสื่อวิดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระปฐมวัย จำนวน 1 เรื่อง (5 ตอน)
- เชิงคุณภาพ
1. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีแนวทางการสอนและการจัดประสบการณ์กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครูผู้สอนระกับปฐมวัยและศิษย์เก่าในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้พัฒนาตนเองและพัฒนาผู้เรียนได้ร้อยละ 80
- เชิงเวลา เสร็จสิ้นในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมจำนวนงบประมาณ/จำนวน 66,200 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (66,200/30 = 2,206.66)
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
15 |
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัย สำหรับนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (กิจกรรมที่ 2.2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนตำรจตระเวนชายแดน) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้ครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะ EF
บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43
|
- เชิงปริมาณ.
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2. จำนวนแผนการจัดการเรียนรู้ที่นำทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรม เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 แผน
3. จำนวนกิจกรรมที่นำทักษะ EF บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรม เสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัย อย่างน้อย 1 ห้องต่อ 1 กิจกรรม
- เชิงคุณภาพ
1. ครูปฐมวัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนมีความรู้ความเข้าใจและนำทักษะ EF
บูรณาการกับกิจกรรม 6 กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถนะเด็กปฐมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
- เชิงเวลา สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมจำนวนงบประมาณ/จำนวน 93,300 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 93,300/30 = 3,110 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
16 |
กิจกรรม 1.3.3 สัมมนานักศึกษาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บัณฑิต
2. เพื่อให้บัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 28 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อทำงานในอนาคนได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
17 |
กิจกรรม 1.4.1 สัมมนาหน่วยฝึกประสบการณ์ทางสาธารณสุข(เลขที่โครงการ:801 งบ 288,900 บาท) |
2566 |
2.1 เพื่อสรุปและถอดบทเรียนให้ครูพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์ฯ และอาจารย์นิเทศก์ ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา รายวิชา 4954902 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน และรายวิชา 4954903 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านการจัดบริการสาธารณสุขชุมชน ประจำภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 หลังออกฝึกประสบการณ์ฯ
2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และบทเรียนระหว่างกันทั้งของอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์ฯ ของนักศึกษา
|
- เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 44 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา สามารถจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 4,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4,500/44 = 102.27 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
18 |
กิจกรรมที่ 9 ศึกษาดูงานในรายวิชา ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม(เลขที่โครงการ:810)(69,500 บาท) 9.2 การจัดการสิ่งแวดล้อม และนวัตกรรม (65,000 บาท) |
2566 |
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้แนวทางการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันจากกรณีตัวอย่าง
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและได้รับประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับนวัตกรรมทางสิ่งแวดล้อม
|
1. เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 16 คน เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2. เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจสามารถนำความรู้และองค์ความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3. เชิงเวลา : สามารถจัดกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 8 |
 |
19 |
งานแสดงมุฑิตาจิต บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่เกษียณอายุราชการ ประจำปี 2566 |
2566 |
2.1 เพื่อยกย่อง เชิดชูเกียรติ และชมเชยบุคลากรที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
2.2 เพื่อสืบสานประเพณีและแสดงถึงความรักความสามัคคีระหว่างบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนผู้ที่ครบวาระเกษียณอายุราชการ
|
- เชิงปริมาณ : 1. บุคลากรสายวิชาการที่ครบวาระเกษียณอายุราชการจำนวน 6 คน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาในโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
: ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- เชิงเวลา : สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
- เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 229,500 บาท
- ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 229,500/500 = 459 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 16 |
 |