ลำดับ |
ชื่อโครงการ |
ปีงบประมาณ |
วัตถุประสงค์ |
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย |
เป้าหมาย SDGs |
ภาพ |
1 |
กิจกรรมที่ 8 ประชุมวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิตด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตรแห่งชาติ (63,100 บาท) |
2566 |
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาการ |
-เชิงปริมาณ นักศึกษาได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะไม่น้อยกว่า 2 รางวัล
-เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับการพัฒนาคุณลักษณะสอดคล้องกับบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ไม่น้อยกว่า 3 ด้าน
-เชิงเวลา สามารถดำเนินการได้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
-เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 63,100 บาท
-ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 63,100/14 =4,507.14 บาท/คน |
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
2 |
กิจกรรมที่ 3.9.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดี้ยนนักเรียนโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ |
2566 |
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างสรรค์การแสดงสำหรับวงเมโลเดียนให้กับนักเรียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
2.2 เพื่อสร้างนักแสดงในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาสำหรับแสดงประกอบวงเมโลเดียนของโรงเรียนสงขลาวิทยามูลนิธิ
|
5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 มีนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ 1 นวัตกรรม
5.1.2 นวัตกรชุมชนเพื่อขจัดความยากจนร่วมกับหน่วยงานภายนอก จำนวน 1 คน
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.2.2 สามารถนำการแสดงใช้เป็นกิจกรรมส่งเสริมเมืองสงขลาสู่เมืองมรดกโลกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
5.2.3 สามารถนำการแสดงที่สร้างสรรค์ไปใช้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลาสร้างรายได้สู่ชุมชน เพื่อขึ้นร้อยละ 5
5.3 เชิงเวลาสามารถจัดโครงการได้เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
5.4 ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม 16,200 บาท
5.5 ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 16,200/30 = 540 บาท/คน
|
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 |
 |
3 |
โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนกองทุนการศึกษา |
2566 |
1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านการอ่านเขียนสำหรับเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
2) เพื่อพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยเกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน
3) เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามความต้องการของโรงเรียน
|
- เชิงปริมาณ
1) มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านการอ่านออกเขียนได้ อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
2) มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการ
อ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน อย่างน้อย 1 ความร่วมมือ
3) จำนวนโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. และโรงเรียนกองทุนการศึกษาเข้าร่วมการยกระดับคุณภาพการศึกษา อย่างน้อย 10 แห่ง
- เชิงคุณภาพ
1) ครูผู้สอนภาษาไทยได้แนวทางการเพิ่มทักษะการอ่านออกเขียนได้สำหรับนักเรียน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2) ความพึงพอใจของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการด้านความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้ ร้อยละ 80 ที่มีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่ต่ำกว่าระดับ 4.00
- เชิงเวลา สามารถดำเนินโครงการ/จัดกิจกรรมเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กำหนด
|
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 7 |
 |